พบผลลัพธ์ทั้งหมด 722 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 137/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าสินบริคณห์โมฆียะแต่ยังไม่บอกล้าง โจทก์ฟ้องขับไล่ไม่ได้
ภริยานำเอาที่นาสินบริคณห์ไปให้จำเลยเช่าโดยมิได้รับความยินยอมจากโจทก์ผู้เป็นสามีสัญญาเช่านั้นย่อมตกเป็นโมฆียะ
แม้สัญญาเช่าเป็นโมฆียะ แต่เมื่อโจทก์ยังมิได้บอกล้าง สัญญาเช่านั้นก็คงยังสมบูรณ์ การที่จำเลยเข้าทำนาโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาเช่าที่ยังมีผลใช้บังคับอยู่ ย่อมไม่เป็นละเมิด โจทก์จะฟ้องขับไล่หาว่าจำเลยบุกรุกและเรียกค่าเสียหายหาได้ไม่
ปัญหาข้อกฎหมายที่ว่า การที่โจทก์ฟ้องจำเลยจะถือว่าเป็นการบอกล้างโมฆียะกรรมโดยพฤตินัยได้หรือไม่ ไม่ใช่ข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
แม้สัญญาเช่าเป็นโมฆียะ แต่เมื่อโจทก์ยังมิได้บอกล้าง สัญญาเช่านั้นก็คงยังสมบูรณ์ การที่จำเลยเข้าทำนาโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาเช่าที่ยังมีผลใช้บังคับอยู่ ย่อมไม่เป็นละเมิด โจทก์จะฟ้องขับไล่หาว่าจำเลยบุกรุกและเรียกค่าเสียหายหาได้ไม่
ปัญหาข้อกฎหมายที่ว่า การที่โจทก์ฟ้องจำเลยจะถือว่าเป็นการบอกล้างโมฆียะกรรมโดยพฤตินัยได้หรือไม่ ไม่ใช่ข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 137/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าสินบริคณห์ที่ภริยาทำโดยไม่ได้รับความยินยอมจากสามี ย่อมเป็นโมฆียะ แต่ยังไม่บอกล้างถือว่ามีผลใช้บังคับ
ภริยานำเอาที่นาสินบริคณห์ไปให้จำเลยเช่า โดยมิได้รับความยินยอมจากโจทก์ผู้เป็นสามีสัญญาเช่านั้นย่อมตกเป็นโมฆียะ
แม้สัญญาเช่าเป็นโมฆียะ แต่เมื่อโจทก์ยังมิได้บอกล้าง สัญญาเช่านั้นก็คงยังสมบูรณ์ การที่จำเลยเข้าทำนาโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาเช่าที่ยังมีผลใช้บังคับอยู่ ย่อมไม่เป็นละเมิด โจทก์จะฟ้องขับไล่หาว่าจำเลยบุกรุกและเรียกค่าเสียหาได้ไม่
ปัญหาข้อกฎหมายที่ว่า การที่โจทก์ฟ้องจำเลยจะถือว่าเป็นการบอกล้างโมฆียะกรรมโดยพฤตินัยได้หรือไม่ ไม่ใช่ข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
แม้สัญญาเช่าเป็นโมฆียะ แต่เมื่อโจทก์ยังมิได้บอกล้าง สัญญาเช่านั้นก็คงยังสมบูรณ์ การที่จำเลยเข้าทำนาโดยอาศัยสิทธิตามสัญญาเช่าที่ยังมีผลใช้บังคับอยู่ ย่อมไม่เป็นละเมิด โจทก์จะฟ้องขับไล่หาว่าจำเลยบุกรุกและเรียกค่าเสียหาได้ไม่
ปัญหาข้อกฎหมายที่ว่า การที่โจทก์ฟ้องจำเลยจะถือว่าเป็นการบอกล้างโมฆียะกรรมโดยพฤตินัยได้หรือไม่ ไม่ใช่ข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1686/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความเจตนาการแบ่งที่ดิน ต้องพิจารณาสภาพที่ดินและเจตนาที่แท้จริงของผู้แบ่ง มากกว่าถ้อยคำที่ใช้
การตีความแสดงเจตนานั้น กฎหมายให้เพ่งเล็งถึงเจตนาอันแท้จริงยิ่งกว่าถ้อยคำสำนวนตามตัวอักษร. ในการแบ่งที่ดินระหว่างเจ้าของรวมซึ่งมีกรรมสิทธิ์คนละส่วนเท่าๆ กัน. แม้ฝ่ายหนึ่งจะตกลงให้อีกฝ่ายหนึ่งเลือกเอาก่อน โดยมิได้กำหนดวิธีการรังวัดแบ่งแยกไว้ชัดแจ้ง. ก็มิได้หมายความว่า ฝ่ายที่มีสิทธิเลือก จะเลือกชี้แบ่งเอาได้ตามใจชอบ.เมื่อมีปัญหาว่าจะแบ่งอย่างไรจึงจะถูกต้องตรงตามเจตนาศาลย่อมต้องพิเคราะห์ถึงสภาพของที่ดินประกอบ เพื่อหยั่งทราบถึงเจตนาอันแท้จริง.
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่าๆ กัน. ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่. โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก. ส่วนที่เหลือ โจทก์ ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดิน.หากแบ่งเป็นส่วนๆ เรียงต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลงหากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินผู้อื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก. ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง. แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งได้เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย. จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาบไม่มีทางออกหาได้ไม่.
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่าๆ กัน. ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่. โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก. ส่วนที่เหลือ โจทก์ ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดิน.หากแบ่งเป็นส่วนๆ เรียงต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลงหากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินผู้อื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก. ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง. แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งได้เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย. จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาบไม่มีทางออกหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1686/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความเจตนาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ต้องพิจารณาจากสภาพที่ดินและเจตนาอันแท้จริงของผู้ทำสัญญา
การตีความแสดงเจตนานั้น กฎหมายให้เพ่งเล็งถึงเจตนาอันแท้จริงยิ่งกว่าถ้อยคำสำนวนตามตัวอักษร ในการแบ่งที่ดินระหว่างเจ้าของรวมซึ่งมีกรรมสิทธิ์คนละส่วนเท่าๆ กัน แม้ฝ่ายหนึ่งจะตกลงให้อีกฝ่ายหนึ่งเลือกเอาก่อน โดยมิได้กำหนดวิธีการรังวัดแบ่งแยกไว้ชัดแจ้ง ก็มิได้หมายความว่า ฝ่ายที่มีสิทธิเลือก จะเลือกชี้แบ่งเอาได้ตามใจชอบเมื่อมีปัญหาว่าจะแบ่งอย่างไรจึงจะถูกต้องตรงตามเจตนาศาลย่อมต้องพิเคราะห์ถึงสภาพของที่ดินประกอบ เพื่อหยั่งทราบถึงเจตนาอันแท้จริง
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่าๆ กัน ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่ โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ส่วนที่เหลือ โจทก์ ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดิน หากแบ่งเป็นส่วนๆ เรียงต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลงหากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินผู้อื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งได้เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาบไม่มีทางออกหาได้ไม่
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่าๆ กัน ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่ โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ส่วนที่เหลือ โจทก์ ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดิน หากแบ่งเป็นส่วนๆ เรียงต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลงหากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินผู้อื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งได้เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาบไม่มีทางออกหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1686/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความเจตนาแบ่งที่ดินต้องพิจารณาสภาพที่ดินและเจตนาของผู้แบ่งเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทุกฝ่าย
การตีความแสดงเจตนานั้น กฎหมายให้เพ่งเล็งถึงเจตนาอันแท้จริงยิ่งกว่าถ้อยคำสำนวนตามตัวอักษร ในการแบ่งที่ดินระหว่างเจ้าของรวมซึ่งมีกรรมสิทธิ์คนละส่วนเท่า ๆ กัน แม้ฝ่ายหนึ่งจะตกลงให้อีกฝ่ายหนึ่งเลือกเอาก่อน โดยมิได้กำหนดวิธีการรังวัดแบ่งแยกไว้ชัดแจ้ง ก็มิได้หมายความว่า ฝ่ายที่มีสิทธิเลือก จะเลือกชี้แบ่งเอาได้ตามใจชอบ เมื่อมีปัญหาว่าจะแบ่งอย่างไรจึงจะถูกต้องตรงตามเจตนา ศาลย่อมต้องพิเคราะห์ถึงสภาพของที่ดินประกอบ เพื่อหยั่งทราบถึงเจตนาอันแท้จริง
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่า ๆ กัน ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่ โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ส่วนที่เหลือ โจทก์ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดินหากแบ่งเป็นส่วน ๆ เรียกต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลง หากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินอื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจะทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งไม่เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาดไม่มีทางออกหาได้ไม่
โจทก์ 2 คนและจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลยอมแบ่งที่ดินกันคนละส่วนเท่า ๆ กัน ที่ดินนั้นด้านตะวันออกติดทะเล และด้านตะวันตกมีทางออก ทางทิศเหนือสุดมีบ้านจำเลยปลูกอยู่ และทิศใต้สุดมีบ้านโจทก์ที่ 1 ปลูกอยู่ โจทก์ที่ 1 ได้ส่วนแบ่งของตนไปแล้ว โดยได้ที่ดินด้านทิศใต้สุดยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ส่วนที่เหลือ โจทก์ที่ 2 แถลงต่อศาลว่า ให้จำเลยเลือกเอาก่อนตามสภาพของที่ดินหากแบ่งเป็นส่วน ๆ เรียกต่อจากโจทก์ที่ 1 ยาวจากทิศตะวันออกไปตะวันตก ที่ดินจะมีทางออกและติดทะเลด้วยกันทุกแปลง หากแบ่งยาวจากทิศเหนือไปใต้ แปลงที่อยู่ติดทะเลจะถูกที่ดินอื่นล้อมขนาบไม่มีทางออก ย่อมเล็งเห็นเจตนาของโจทก์ที่ 2 ได้ว่า ประสงค์ให้แบ่งที่ดินเป็น 2 ส่วน ยาวจะทิศตะวันออกไปตะวันตกเรียงกันไป และติดทะเลด้วยกันทุกแปลง แล้วให้จำเลยเลือกเอาก่อนแปลงใดแปลงหนึ่ง ซึ่งไม่เดือดร้อนด้วยกันทุกฝ่าย จำเลยจะเลือกแบ่งให้โจทก์ที่ 2 ได้ที่ดินด้านติดทะเลแต่ถูกล้อมขนาดไม่มีทางออกหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 687/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เทศบาลมีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกทางสาธารณะ แม้ทางสาธารณะนั้นมิได้ขึ้นทะเบียน และคดีนี้ไม่มีอายุความ
โจทก์เป็นเทศบาลเมือง ซึ่งตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 50 (2), 53 บัญญัติให้มีหน้าที่จัดให้มีและบำรุงทางบกทางน้ำ ย่อมมีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกทางสาธารณะในเขตเทศบาลของตนได้
ทางสาธารณะในเขตเทศบาลซึ่งโจทก์มีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกนั้น โจทก์จะได้รับมอบหมายจากกรมทางหลวงหรือไม่ และจะได้ขึ้นทะเบียนตามคำสั่งที่กระทรวงมหาดไทยวางระเบียบไว้หรือไม่ ไม่เป็นสาระสำคัญ
จำเลยซื้อที่ดินมาจากผู้อื่น ในหนังสือสัญญาซื้อขายระบุว่า ทิศใต้ติดทางสาธารณะ การที่โจทก์นำสืบพยาน (บุคคล) ว่า ทางสาธารณะนั้นมีอาณาเขตกว้างยาวเท่าใด แม้จะทำให้เนื้อที่ดินตามหนังสือสัญญาซื้อขายลดความกว้างไปบ้าง โจทก์ย่อมมีสิทธินำสืบได้ เพราะด้านกว้างและด้านยาวตามหนังสือสัญญาซื้อขายอาจคลาดเคลื่อน หรือคู่สัญญาที่ซื้อขายอาจนำรังวัดรุกล้ำแนวทางสาธารณะก็เป็นได้
โจทก์ฟ้องหาว่า จำเลยบุกรุกทางสาธารณะอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน จำเลยต้องห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดิน
(ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 8 - 9/2512)
ทางสาธารณะในเขตเทศบาลซึ่งโจทก์มีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกนั้น โจทก์จะได้รับมอบหมายจากกรมทางหลวงหรือไม่ และจะได้ขึ้นทะเบียนตามคำสั่งที่กระทรวงมหาดไทยวางระเบียบไว้หรือไม่ ไม่เป็นสาระสำคัญ
จำเลยซื้อที่ดินมาจากผู้อื่น ในหนังสือสัญญาซื้อขายระบุว่า ทิศใต้ติดทางสาธารณะ การที่โจทก์นำสืบพยาน (บุคคล) ว่า ทางสาธารณะนั้นมีอาณาเขตกว้างยาวเท่าใด แม้จะทำให้เนื้อที่ดินตามหนังสือสัญญาซื้อขายลดความกว้างไปบ้าง โจทก์ย่อมมีสิทธินำสืบได้ เพราะด้านกว้างและด้านยาวตามหนังสือสัญญาซื้อขายอาจคลาดเคลื่อน หรือคู่สัญญาที่ซื้อขายอาจนำรังวัดรุกล้ำแนวทางสาธารณะก็เป็นได้
โจทก์ฟ้องหาว่า จำเลยบุกรุกทางสาธารณะอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน จำเลยต้องห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดิน
(ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 8 - 9/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 687/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เทศบาลมีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกทางสาธารณะ แม้ทางสาธารณะนั้นมิได้ขึ้นทะเบียน หรือได้รับมอบหมายจากกรมทางหลวง
โจทก์เป็นเทศบาลเมือง ซึ่งตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496มาตรา 50(2),53 บัญญัติให้มีหน้าที่จัดให้มีและบำรุงทางบกทางน้ำย่อมมีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกทางสาธารณะในเขตเทศบาลของตนได้
ทางสาธารณะในเขตเทศบาลซึ่งโจทก์มีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกนั้น โจทก์จะได้รับมอบหมายจากกรมทางหลวงหรือไม่และจะได้ขึ้นทะเบียนตามคำสั่งที่กระทรวงมหาดไทยวางระเบียบไว้หรือไม่ไม่เป็นสารสำคัญ
จำเลยซื้อที่ดินมาจากผู้อื่น ในหนังสือสัญญาซื้อขายระบุว่า ทิศใต้ติดทางสาธารณะการที่โจทก์นำสืบพยาน(บุคคล) ว่า ทางสาธารณะนั้นมีอาณาเขตกว้างยาวเท่าใด แม้จะทำให้เนื้อที่ดินตามหนังสือสัญญาซื้อขายลดความกว้างไปบ้างโจทก์ย่อมมีสิทธินำสืบได้เพราะด้านกว้างและด้านยาวตามหนังสือสัญญาซื้อขายอาจคลาดเคลื่อนหรือคู่สัญญาที่ซื้อขายอาจนำรังวัดรุกล้ำแนวทางสาธารณะก็เป็นได้
โจทก์ฟ้องหาว่า จำเลยบุกรุกทางสาธารณะอันเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดินจำเลยต้องห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดิน
(ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่8-9/2512)
ทางสาธารณะในเขตเทศบาลซึ่งโจทก์มีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกนั้น โจทก์จะได้รับมอบหมายจากกรมทางหลวงหรือไม่และจะได้ขึ้นทะเบียนตามคำสั่งที่กระทรวงมหาดไทยวางระเบียบไว้หรือไม่ไม่เป็นสารสำคัญ
จำเลยซื้อที่ดินมาจากผู้อื่น ในหนังสือสัญญาซื้อขายระบุว่า ทิศใต้ติดทางสาธารณะการที่โจทก์นำสืบพยาน(บุคคล) ว่า ทางสาธารณะนั้นมีอาณาเขตกว้างยาวเท่าใด แม้จะทำให้เนื้อที่ดินตามหนังสือสัญญาซื้อขายลดความกว้างไปบ้างโจทก์ย่อมมีสิทธินำสืบได้เพราะด้านกว้างและด้านยาวตามหนังสือสัญญาซื้อขายอาจคลาดเคลื่อนหรือคู่สัญญาที่ซื้อขายอาจนำรังวัดรุกล้ำแนวทางสาธารณะก็เป็นได้
โจทก์ฟ้องหาว่า จำเลยบุกรุกทางสาธารณะอันเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดินจำเลยต้องห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดิน
(ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่8-9/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 687/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เทศบาลมีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกทางสาธารณะ แม้ทางสาธารณะนั้นจะยังไม่ได้รับการมอบหมายหรือขึ้นทะเบียน
โจทก์เป็นเทศบาลเมือง ซึ่งตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 มาตรา 50(2),53 บัญญัติให้มีหน้าที่จัดให้มีและบำรุงทางบกทางน้ำ. ย่อมมีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกทางสาธารณะในเขตเทศบาลของตนได้.
ทางสาธารณะในเขตเทศบาลซึ่งโจทก์มีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกนั้น. โจทก์จะได้รับมอบหมายจากกรมทางหลวงหรือไม่. และจะได้ขึ้นทะเบียนตามคำสั่งที่กระทรวงมหาดไทยวางระเบียบไว้หรือไม่. ไม่เป็นสารสำคัญ.
จำเลยซื้อที่ดินมาจากผู้อื่น. ในหนังสือสัญญาซื้อขายระบุว่า ทิศใต้ติดทางสาธารณะ. การที่โจทก์นำสืบพยาน(บุคคล) ว่า ทางสาธารณะนั้นมีอาณาเขตกว้างยาวเท่าใด แม้จะทำให้เนื้อที่ดินตามหนังสือสัญญาซื้อขายลดความกว้างไปบ้าง.โจทก์ย่อมมีสิทธินำสืบได้. เพราะด้านกว้างและด้านยาวตามหนังสือสัญญาซื้อขายอาจคลาดเคลื่อน. หรือคู่สัญญาที่ซื้อขายอาจนำรังวัดรุกล้ำแนวทางสาธารณะก็เป็นได้.
โจทก์ฟ้องหาว่า จำเลยบุกรุกทางสาธารณะอันเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดินจำเลยต้องห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดิน. (ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่8-9/2512).
ทางสาธารณะในเขตเทศบาลซึ่งโจทก์มีอำนาจฟ้องขับไล่ผู้บุกรุกนั้น. โจทก์จะได้รับมอบหมายจากกรมทางหลวงหรือไม่. และจะได้ขึ้นทะเบียนตามคำสั่งที่กระทรวงมหาดไทยวางระเบียบไว้หรือไม่. ไม่เป็นสารสำคัญ.
จำเลยซื้อที่ดินมาจากผู้อื่น. ในหนังสือสัญญาซื้อขายระบุว่า ทิศใต้ติดทางสาธารณะ. การที่โจทก์นำสืบพยาน(บุคคล) ว่า ทางสาธารณะนั้นมีอาณาเขตกว้างยาวเท่าใด แม้จะทำให้เนื้อที่ดินตามหนังสือสัญญาซื้อขายลดความกว้างไปบ้าง.โจทก์ย่อมมีสิทธินำสืบได้. เพราะด้านกว้างและด้านยาวตามหนังสือสัญญาซื้อขายอาจคลาดเคลื่อน. หรือคู่สัญญาที่ซื้อขายอาจนำรังวัดรุกล้ำแนวทางสาธารณะก็เป็นได้.
โจทก์ฟ้องหาว่า จำเลยบุกรุกทางสาธารณะอันเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดินจำเลยต้องห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับแผ่นดิน. (ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่8-9/2512).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 368/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลิขสิทธิ์ในรูปภาพ: รูปซุปเปอร์แมนเป็นเครื่องหมายการค้า ไม่ใช่ลิขสิทธิ์ศิลปกรรม
ลิขสิทธิ์ในศิลปกรรมจะมีขึ้นได้ ต้องเป็นศิลปกรรมที่ได้ทำขึ้นในแผนกศิลป ดังนั้นรูป "ซุปเปอร์แมน" ของโจทก์ซึ่งเป็นรูปคนสวมเสื้อคลุมยืนท้าวเอว จึงไม่ใช่รูปศิลป แต่เป็นเพียงเครื่องหมายการค้า สิทธิของโจทก์เป็นสิทธิในเครื่องหมายการค้า ไม่ใช่สิทธิในศิลปกรรม โจทก์จะฟ้องขอให้เพิกถอนทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลยโดยอ้างว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ของโจทก์ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 368/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลิขสิทธิ์ในรูปซุปเปอร์แมน: สิทธิในเครื่องหมายการค้า ไม่ใช่ลิขสิทธิ์ในศิลปกรรม
ลิขสิทธิ์ในศิลปกรรมจะมีขึ้นได้ ต้องเป็นศิลปกรรมที่ได้ทำขึ้นในแผนกศิลปดังนั้นรูป 'ซุปเปอร์แมน' ของโจทก์ซึ่งเป็นรูปคนสวมเสื้อคลุมยืนท้าวเอวจึงไม่ใช่รูปศิลปแต่เป็นเพียงเครื่องหมายการค้า สิทธิของโจทก์เป็นสิทธิในเครื่องหมายการค้า ไม่ใช่สิทธิในศิลปกรรมโจทก์จะฟ้องขอให้เพิกถอนทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลยโดยอ้างว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ของโจทก์ไม่ได้