พบผลลัพธ์ทั้งหมด 722 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 843/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้กรรมสิทธิ์โดยครอบครองปรปักษ์และผลของการโอนสิทธิโดยไม่สุจริต
จำเลยครอบครองที่พิพาทอย่างเป็นเจ้าของโดยสงบและเปิดเผยมากว่า 10 ปีจำเลยจึงเป็นผู้ได้กรรมสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382
โจทก์รับโอนที่พิพาทมาโดยมิได้เสียค่าตอบแทนและการโอนรับมรดกของโจทก์มีพฤติการณ์ส่อให้เห็นว่าโจทก์ได้กระทำไปโดยไม่สุจริตถึงแม้โจทก์จะได้รับ โอนมาทางทะเบียนโจทก์ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ในที่พิพาท
ข้อที่จำเลยขอให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์นั้นเป็นเรื่องพิมพ์ผิดพลาดเมื่ออ่านคำให้การของจำเลยโดยตลอดแล้วถือได้ว่าจำเลยขอให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลย
โจทก์รับโอนที่พิพาทมาโดยมิได้เสียค่าตอบแทนและการโอนรับมรดกของโจทก์มีพฤติการณ์ส่อให้เห็นว่าโจทก์ได้กระทำไปโดยไม่สุจริตถึงแม้โจทก์จะได้รับ โอนมาทางทะเบียนโจทก์ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ในที่พิพาท
ข้อที่จำเลยขอให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์นั้นเป็นเรื่องพิมพ์ผิดพลาดเมื่ออ่านคำให้การของจำเลยโดยตลอดแล้วถือได้ว่าจำเลยขอให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 843/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้กรรมสิทธิ์ตามอายุความครอบครองปรปักษ์ และผลของการโอนสิทธิโดยไม่สุจริต
จำเลยครอบครองที่พิพาทอย่างเป็นเจ้าของโดยสงบและเปิดเผยมากว่า 10 ปี จำเลยจึงเป็นผู้ได้กรรมสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382
โจทก์รับโอนที่ดินพิพาทมาโดยมิได้เสียค่าตอบแทนและการโอนรับมรดกของโจทก์มีพฤติการณ์ส่อให้เห็นว่าโจทก์ได้กระทำไปโดยไม่สุจริต ถึงแม้โจทก์จะได้รับโอนมาทางทะเบียน โจทก์ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ในที่พิพาท
ข้อที่จำเลยขอให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์นั้น เป็นเรื่องพิมพ์ผิดพลาด เมื่ออ่านคำให้การของจำเลยโดยตลอดแล้ว ถือได้ว่าจำเลยขอให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลย
โจทก์รับโอนที่ดินพิพาทมาโดยมิได้เสียค่าตอบแทนและการโอนรับมรดกของโจทก์มีพฤติการณ์ส่อให้เห็นว่าโจทก์ได้กระทำไปโดยไม่สุจริต ถึงแม้โจทก์จะได้รับโอนมาทางทะเบียน โจทก์ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ในที่พิพาท
ข้อที่จำเลยขอให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์นั้น เป็นเรื่องพิมพ์ผิดพลาด เมื่ออ่านคำให้การของจำเลยโดยตลอดแล้ว ถือได้ว่าจำเลยขอให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 838/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนพินัยกรรมต้องด้วยวิธีการทำลายหรือขีดฆ่า การตั้งผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรม
ที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1693 บัญญัติว่า ผู้ทำพินัยกรรมจะเพิกถอนพินัยกรรมของตนในเวลาใดก็ได้นั้น หมายถึงว่าจะเพิกถอนเวลาใดก็ได้ตามใจชอบ การเพิกถอนทำอย่างไรนั้น มาตรา 1695 บัญญัติว่า อาจทำโดยทำลายหรือขีดฆ่าเสียด้วยความตั้งใจ "ทำลาย" หมายความว่า รื้อ ทำให้ทลาย ทำให้พัง ทำให้ฉิบหาย ทำให้หมดสิ้นไป การทำลายจึงเป็นการที่ต้องทำให้เกิดผลเช่นนั้น และการเพิกถอนมิใช่ให้ทำโดยเพียงแต่แสดงเจตนาด้วยถ้อยคำ หากจะต้องมีการกระทำ คือ "ทำลาย" หรือ "ขีดฆ่า" เป็นสำคัญ
พินัยกรรมีข้อกำหนดตั้งให้จำเลยเป็นผู้จัดการมรดก เมื่อไม่ปรากฏว่าข้อกำหนดนั้นไม่มีผลบังคับด้วยประการใด ๆ ถึงแม้โจทก์จะเป็นทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือไม่ก็ตาม ก็ไม่เป็นกรณีมีเหตุสมควรที่โจทก์จะขอให้ตั้งตนเป็นผู้จัดการมรดก
พินัยกรรมีข้อกำหนดตั้งให้จำเลยเป็นผู้จัดการมรดก เมื่อไม่ปรากฏว่าข้อกำหนดนั้นไม่มีผลบังคับด้วยประการใด ๆ ถึงแม้โจทก์จะเป็นทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือไม่ก็ตาม ก็ไม่เป็นกรณีมีเหตุสมควรที่โจทก์จะขอให้ตั้งตนเป็นผู้จัดการมรดก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 838/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนพินัยกรรมต้องด้วยการกระทำทำลายหรือขีดฆ่า มิใช่เพียงแสดงเจตนา
ที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1693 บัญญัติว่าผู้ทำพินัยกรรมจะเพิกถอนพินัยกรรมของตนในเวลาใดก็ได้นั้นหมายถึงว่าจะเพิกถอนเวลาใดก็ได้ตามใจชอบ การเพิกถอนทำอย่างไรนั้น มาตรา 1695 บัญญัติว่า อาจทำโดยทำลายหรือขีดฆ่าเสียด้วยความตั้งใจ 'ทำลาย' หมายความว่า รื้อทำให้ทลาย ทำให้พัง ทำให้ฉิบหาย ทำให้หมดสิ้นไป การทำลายจึงเป็นการที่ต้องทำให้เกิดผลเช่นนั้นและการเพิกถอนมิใช่ให้ทำโดยเพียงแต่แสดงเจตนาด้วยถ้อยคำหากจะต้องมีการกระทำคือ 'ทำลาย' หรือ'ขีดฆ่า' เป็นสำคัญ
พินัยกรรมมีข้อกำหนดตั้งให้จำเลยเป็นผู้จัดการมรดกเมื่อไม่ปรากฏว่าข้อกำหนดนั้นไม่มีผลบังคับด้วยประการใดๆ ถึงแม้โจทก์จะเป็นทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือไม่ก็ตาม ก็ไม่เป็นกรณีมีเหตุสมควรที่โจทก์จะขอให้ตั้งตนเป็นผู้จัดการมรดก
พินัยกรรมมีข้อกำหนดตั้งให้จำเลยเป็นผู้จัดการมรดกเมื่อไม่ปรากฏว่าข้อกำหนดนั้นไม่มีผลบังคับด้วยประการใดๆ ถึงแม้โจทก์จะเป็นทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือไม่ก็ตาม ก็ไม่เป็นกรณีมีเหตุสมควรที่โจทก์จะขอให้ตั้งตนเป็นผู้จัดการมรดก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 776/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งศาลชี้ขาดประเด็นบริวารจำเลยแล้ว ห้ามขอแก้ไขซ้ำตามมาตรา 144
การที่ศาลพิพากษาตามยอมให้จำเลยออกจากที่ดินของโจทก์ ย่อมใช้บังคับได้ตลอดถึงบริวารจำเลยด้วย
โจทก์ร้องว่า ผู้ร้องกับพวกเป็นบริวารจำเลยผู้ร้องกับพวกสู้ว่าไม่ได้เป็นบริวารจำเลย เพราะเป็นผู้เช่าที่ดินจากจำเลย ศาลสั่งว่าให้ผู้ร้องกับพวกอยู่ในที่ดินโจทก์ต่อไปอีก 3 เดือน คำสั่งศาลที่ว่านี้เป็นคำสั่ง ศาลชี้ขาดในประเด็นระหว่างผู้ร้องกับโจทก์
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 144 ห้ามมิให้ดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับประเด็นที่ได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้วนั้น เมื่อศาลมีคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดในข้อโต้เถียงแล้วมิได้มีฝ่ายใดอุทธรณ์คัดค้าน คำสั่งนั้นย่อมเด็ดขาดถึงที่สุดตามกฎหมายและบังคับคดีต่อไปตามคำสั่งนั้นได้(ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 271)
ศาลสั่งให้ผู้ร้องกับพวกอยู่ในที่ดินโจทก์ได้เพียง 3 เดือน เพราะการเช่าจากจำเลยเป็นการอยู่โดยอาศัยอำนาจจำเลย ชื่อว่าเป็นบริวารจำเลย ผู้ร้องขอให้แก้เป็นให้ผู้ร้องอยู่ต่อไป เพราะผู้ร้องมิใช่บริวารจำเลยย่อมไม่เข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 144(1) เพราะมิใช่การขอให้แก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรือข้อผิดหลงเล็กน้อยตามมาตรา 143
โจทก์ร้องว่า ผู้ร้องกับพวกเป็นบริวารจำเลยผู้ร้องกับพวกสู้ว่าไม่ได้เป็นบริวารจำเลย เพราะเป็นผู้เช่าที่ดินจากจำเลย ศาลสั่งว่าให้ผู้ร้องกับพวกอยู่ในที่ดินโจทก์ต่อไปอีก 3 เดือน คำสั่งศาลที่ว่านี้เป็นคำสั่ง ศาลชี้ขาดในประเด็นระหว่างผู้ร้องกับโจทก์
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 144 ห้ามมิให้ดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับประเด็นที่ได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้วนั้น เมื่อศาลมีคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดในข้อโต้เถียงแล้วมิได้มีฝ่ายใดอุทธรณ์คัดค้าน คำสั่งนั้นย่อมเด็ดขาดถึงที่สุดตามกฎหมายและบังคับคดีต่อไปตามคำสั่งนั้นได้(ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 271)
ศาลสั่งให้ผู้ร้องกับพวกอยู่ในที่ดินโจทก์ได้เพียง 3 เดือน เพราะการเช่าจากจำเลยเป็นการอยู่โดยอาศัยอำนาจจำเลย ชื่อว่าเป็นบริวารจำเลย ผู้ร้องขอให้แก้เป็นให้ผู้ร้องอยู่ต่อไป เพราะผู้ร้องมิใช่บริวารจำเลยย่อมไม่เข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 144(1) เพราะมิใช่การขอให้แก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรือข้อผิดหลงเล็กน้อยตามมาตรา 143
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 776/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งศาลชี้ขาดประเด็นการอยู่อาศัยในที่ดินหลังประนีประนอม คำสั่งเด็ดขาดแล้วห้ามขอแก้ไข
การที่ศาลพิพากษาตามยอมให้จำเลยออกจากที่ดินของโจทก์ย่อมใช้บังคับได้ตลอดถึงบริวารจำเลยด้วย
โจทก์ร้องว่า ผู้ร้องกับพวกเป็นบริวารจำเลยผู้ร้องกับพวกสู้ว่าไม่ได้เป็นบริวารจำเลยเพราะเป็นผู้เช่าที่ดินจากจำเลยศาลสั่งว่าให้ผู้ร้องกับพวกอยู่ในที่ดินโจทก์ต่อไปอีก 3 เดือน คำสั่งศาลที่ว่านี้เป็นคำสั่งศาลชี้ขาดในประเด็นระหว่างผู้ร้องกับโจทก์
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144 ห้ามมิให้ดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับประเด็นที่ได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้วนั้น เมื่อศาลมีคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดในข้อโต้เถียงแล้วมิได้มีฝ่ายใดอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งนั้นย่อมเด็ดขาดถึงที่สุดตามกฎหมายและบังคับคดีต่อไปตามคำสั่งนั้นได้ (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา271)
ศาลสั่งให้ผู้ร้องกับพวกอยู่ในที่ดินโจทก์ได้เพียง 3 เดือน เพราะการเช่าจากจำเลยเป็นการอยู่โดยอาศัยอำนาจจำเลย ชื่อว่าเป็นบริวารจำเลย ผู้ร้องขอให้แก้เป็นให้ผู้ร้องอยู่ได้ต่อไป เพราะผู้ร้องมิใช่บริวารจำเลยย่อมไม่เข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา144(1) เพราะมิใช่การขอให้แก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรือข้อผิดหลงเล็กน้อยตามมาตรา 143
โจทก์ร้องว่า ผู้ร้องกับพวกเป็นบริวารจำเลยผู้ร้องกับพวกสู้ว่าไม่ได้เป็นบริวารจำเลยเพราะเป็นผู้เช่าที่ดินจากจำเลยศาลสั่งว่าให้ผู้ร้องกับพวกอยู่ในที่ดินโจทก์ต่อไปอีก 3 เดือน คำสั่งศาลที่ว่านี้เป็นคำสั่งศาลชี้ขาดในประเด็นระหว่างผู้ร้องกับโจทก์
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144 ห้ามมิให้ดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับประเด็นที่ได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้วนั้น เมื่อศาลมีคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดในข้อโต้เถียงแล้วมิได้มีฝ่ายใดอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งนั้นย่อมเด็ดขาดถึงที่สุดตามกฎหมายและบังคับคดีต่อไปตามคำสั่งนั้นได้ (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา271)
ศาลสั่งให้ผู้ร้องกับพวกอยู่ในที่ดินโจทก์ได้เพียง 3 เดือน เพราะการเช่าจากจำเลยเป็นการอยู่โดยอาศัยอำนาจจำเลย ชื่อว่าเป็นบริวารจำเลย ผู้ร้องขอให้แก้เป็นให้ผู้ร้องอยู่ได้ต่อไป เพราะผู้ร้องมิใช่บริวารจำเลยย่อมไม่เข้าข้อยกเว้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา144(1) เพราะมิใช่การขอให้แก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรือข้อผิดหลงเล็กน้อยตามมาตรา 143
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 762/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าไม่จดทะเบียน, สิทธิผู้รับโอน, สัญญาต่างตอบแทน, การฟ้องขับไล่, การคุ้มครองผู้เช่า
แม้สัญญาเช่าห้องพิพาทจะเป็นสัญญาต่างตอบแทนสัญญานั้นก็ก่อให้เกิดเพียงบุคคลสิทธิ มีผลผูกพันเฉพาะคู่กรณีเท่านั้น ไม่ผูกพันโจทก์ซึ่งเป็นผู้รับโอนและเมื่อไม่ใช่สัญญาเช่าธรรมดา จำเลยจะอ้างประโยชน์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 569 ไม่ได้
เงินกินเปล่าเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่า ฉะนั้น ข้อตกลงระหว่างเจ้าของเดิมกับจำเลยจึงเป็นสัญญาเช่าธรรมดาเมื่อไม่ได้จดทะเบียนการเช่าต่อพนักงานเจ้าหน้าที่การเช่านั้นก็ใช้ได้เพียง 3 ปีเมื่อครบ 3 ปีและได้บอกเลิกการเช่าแล้ว โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของห้องพิพาทย่อมฟ้องขับไล่จำเลยได้
เมื่อจำเลยเช่าห้องพิพาทเพื่อทำการค้าขายเป็นส่วนใหญ่ก็ไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดินฯ
เงินกินเปล่าเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่า ฉะนั้น ข้อตกลงระหว่างเจ้าของเดิมกับจำเลยจึงเป็นสัญญาเช่าธรรมดาเมื่อไม่ได้จดทะเบียนการเช่าต่อพนักงานเจ้าหน้าที่การเช่านั้นก็ใช้ได้เพียง 3 ปีเมื่อครบ 3 ปีและได้บอกเลิกการเช่าแล้ว โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของห้องพิพาทย่อมฟ้องขับไล่จำเลยได้
เมื่อจำเลยเช่าห้องพิพาทเพื่อทำการค้าขายเป็นส่วนใหญ่ก็ไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดินฯ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 762/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิของผู้รับโอนในสัญญาเช่าที่ไม่จดทะเบียน และข้อยกเว้นความคุ้มครอง พ.ร.บ.ควบคุมการเช่า
แม้สัญญาเช่าห้องพิพาทจะเป็นสัญญาต่างตอบแทน สัญญานั้นก็ก่อให้เกิดเพียงบุคคลสิทธิ มีผลผูกพันเฉพาะคู่กรณีเท่านั้น ไม่ผูกพันโจทก์ซึ่งเป็นผู้รับโอน และเมื่อไม่ใช่สัญญาเช่าธรรมดา จำเลยจะอ้างประโยชน์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตราร 569 ไม่ได้
เงินกินเปล่าเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่า ฉะนั้น ข้อตกลงระหว่างเจ้าของเดิมกับจำเลยจึงเป็นสัญญาเช่าธรรมดา เมื่อไม่ได้จดทะเบียนการเช่าต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ การเช่านั้นก็ใช้ได้เพียง 3 ปี เมื่อครบ 3 ปีและได้บอกเลิกการเช่าแล้ว โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของห้องพิพาทย่อมฟ้องขับไล่จำเลยได้
เมื่อจำเลยเช่าห้องพิพาทเพื่อทำการค้าขายเป็นส่วนใหญ่ ก็ไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน ฯ
เงินกินเปล่าเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่า ฉะนั้น ข้อตกลงระหว่างเจ้าของเดิมกับจำเลยจึงเป็นสัญญาเช่าธรรมดา เมื่อไม่ได้จดทะเบียนการเช่าต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ การเช่านั้นก็ใช้ได้เพียง 3 ปี เมื่อครบ 3 ปีและได้บอกเลิกการเช่าแล้ว โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของห้องพิพาทย่อมฟ้องขับไล่จำเลยได้
เมื่อจำเลยเช่าห้องพิพาทเพื่อทำการค้าขายเป็นส่วนใหญ่ ก็ไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่าเคหะและที่ดิน ฯ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 752/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันไม่ทำให้เกิดอายุความ ย่อมฟ้องแบ่งได้แม้ครอบครองคนเดียว
เจ้ามรดกตาย ทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดกได้ครอบครองมรดกร่วมกัน แม้เพียง 1 เดือนก็ถือได้ว่าได้ร่วมกันรับมรดกดังกล่าวและเป็นเจ้าของทรัพย์มรดกร่วมกันแล้ว เมื่อทายาทฝ่ายหนึ่งมาฟ้องขอแบ่งทรัพย์มรดกดังกล่าวนั้น จึงเป็นการฟ้องขอให้แบ่งทรัพย์ซึ่งทายาทฝ่ายนั้นเป็นเจ้าของร่วมอยู่ด้วยจะนำอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1754 มาใช้บังคับไม่ได้
โจทก์จำเลยครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันต่อมาโจทก์โกรธจำเลยจึงแยกไปอยู่เสียที่อื่นจำเลยจึงครอบครองทรัพย์มรดกนั้นแต่ผู้เดียวต้องถือว่าครอบครองในฐานะเจ้าของร่วมกันและแทนกันมิใช่เป็นการเข้าแย่งการครอบครองดังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375
โจทก์จำเลยครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันต่อมาโจทก์โกรธจำเลยจึงแยกไปอยู่เสียที่อื่นจำเลยจึงครอบครองทรัพย์มรดกนั้นแต่ผู้เดียวต้องถือว่าครอบครองในฐานะเจ้าของร่วมกันและแทนกันมิใช่เป็นการเข้าแย่งการครอบครองดังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 752/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองมรดกเป็นเจ้าของร่วม ยุติอายุความตาม ป.พ.พ. มาตรา 1754 ไม่ใช้บังคับ
เจ้ามรดกตาย ทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดกได้ครอบครองมรดกร่วมกัน แม้เพียง 1 เดือนก็ถือได้ว่าได้ร่วมกันรับมรดกดังกล่าวและเป็นเจ้าของทรัพย์มรดกร่วมกันแล้ว เมื่อทายาทฝ่ายหนึ่งมาฟ้องขอแบ่งทรัพย์มรดกดังกล่าวนั้น จึงเป็นการฟ้องขอให้แบ่งทรัพย์ซึ่งทายาทฝ่ายนั้นเป็นเจ้าของร่วมอยู่ด้วย จะนำอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 มาใช้บังคับไม่ได้
โจทก์จำเลยครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันมา ต่อมาโจทก์โกรธจำเลยจึงแยกไปอยู่เสียที่อื่น จำเลยจึงครอบครอบทรัพย์มรดกนั้นแต่ผู้เดียวต้องถือว่าครอบครองในฐานะเจ้าของร่วมกันและแทนกัน มิใช่เป็นการเข้าแย่งการครองครองดังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1375
โจทก์จำเลยครอบครองทรัพย์มรดกร่วมกันมา ต่อมาโจทก์โกรธจำเลยจึงแยกไปอยู่เสียที่อื่น จำเลยจึงครอบครอบทรัพย์มรดกนั้นแต่ผู้เดียวต้องถือว่าครอบครองในฐานะเจ้าของร่วมกันและแทนกัน มิใช่เป็นการเข้าแย่งการครองครองดังประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1375