พบผลลัพธ์ทั้งหมด 203 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 283/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปักษ์และการเพิกถอนการโอนที่ดินที่ขัดแย้งกับกรรมสิทธิ์เดิม คดีไม่ขาดอายุความ
คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการที่จำเลยจัดการโอนที่พิพาทใส่ชื่อจำเลยเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในโฉนดซึ่งที่ดินนั้นตกเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์แล้วนั้นมิใช่เป็นเรื่องโจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉลฉะนั้น ถึงแม้โจทก์จะฟ้องเกิน 1 ปีนับจากวันที่โจทก์รู้เรื่องการโอนใส่ชื่อจำเลยลงในโฉนด คดีก็หาขาดอายุความไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 283/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้กรรมสิทธิ์โดยครอบครองปรปักษ์และการฟ้องเพิกถอนการโอนกรรมสิทธิ์โดยไม่ติดอายุความ
คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการที่จำเลยจัดการโอนที่พิพาทใส่ชื่อจำเลยเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในโฉนดซึ่งที่ดินนั้นตกเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์แล้วนั้น มิใช่เป็นเรื่องโจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล ฉะนั้นถึงแม้โจทก์จะฟ้องเกิน 1 ปีนับจากวันที่โจทก์รู้เรื่องการโอนใส่ชื่อจำเลยลงในโฉนด คดีก็หาขาดอายุความไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 266/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับจำนำเกินวงเงินที่กฎหมายกำหนด ไม่อยู่ภายใต้ความคุ้มครองของ พ.ร.บ.โรงรับจำนำ และสิทธิเจ้าของทรัพย์
จำเลยรับจำนำจักรไว้เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2505 เป็นเงิน 1,700 บาท ขณะนั้นพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ.2480 ยังใช้บังคับอยู่ มาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัตินี้บัญญัติให้รับจำนำประกันเงินกู้ซึ่งมีจำนวนไม่เกิน 400 บาท เมื่อเป็นเช่นนี้ จำเลยจึงไม่ได้รับความคุ้มครองจากพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ.2480 การรับจำนำเช่นนี้ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การที่จำเลยรับจำนำจักรรายนี้ต่อเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2506 และออกตั๋วให้ใหม่ ไม่ทำให้เป็นการรับจำนำตามพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ.2506 ซึ่งใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ 31 ธันวาคม 2505
การที่จำเลยรับจำนำจักรรายนี้ต่อเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2506 และออกตั๋วให้ใหม่ ไม่ทำให้เป็นการรับจำนำตามพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ.2506 ซึ่งใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ 31 ธันวาคม 2505
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 266/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับจำนำเกิน 400 บาท ไม่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.โรงรับจำนำ ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
จำเลยรับจำนำจักรไว้เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2505 เป็นเงิน1,700 บาท ขณะนั้นพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ.2480 ยังใช้บังคับอยู่ มาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติให้รับจำนำประกันเงินกู้ซึ่งมีจำนวนไม่เกิน 400 บาทเมื่อเป็นเช่นนี้ จำเลยจึงไม่ได้รับความคุ้มครองจากพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ.2480 การรับจำนำเช่นนี้ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การที่จำเลยรับจำนำจักรรายนี้ต่อเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2506และออกตั๋วให้ใหม่ ไม่ทำให้เป็นการรับจำนำตามพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ.2506 ซึ่งใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ 31 ธันวาคม 2505
การที่จำเลยรับจำนำจักรรายนี้ต่อเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2506และออกตั๋วให้ใหม่ ไม่ทำให้เป็นการรับจำนำตามพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ.2506 ซึ่งใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ 31 ธันวาคม 2505
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 238/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือรับสภาพหนี้ฝ่ายเดียวไม่ผูกพันเจ้าหนี้ การฟ้องคดีไม่ถือเป็นการผ่อนเวลาชำระหนี้
การที่ลูกหนี้ทำหนังสือรับสภาพหนี้ และสัญญาจะชำระหนี้ภายในกำหนดเวลาหนึ่งโดยเจ้าหนี้มิได้ตกลงด้วยนั้น ไม่ผูกพันเจ้าหนี้
การที่เจ้าหนี้เพิ่งฟ้องคดี หาใช่เป็นการที่เจ้าหนี้แสดงเจตนาผูกนิติสัมพันธ์ยอมผ่อนเวลา (ขยายเวลา) ชำระหนี้อันมีกำหนดแน่นอนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 ประการใดไม่ จึงไม่ทำให้ผู้ค้ำประกันพ้นจากความรับผิด
การที่เจ้าหนี้เพิ่งฟ้องคดี หาใช่เป็นการที่เจ้าหนี้แสดงเจตนาผูกนิติสัมพันธ์ยอมผ่อนเวลา (ขยายเวลา) ชำระหนี้อันมีกำหนดแน่นอนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 ประการใดไม่ จึงไม่ทำให้ผู้ค้ำประกันพ้นจากความรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 238/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาชำระหนี้ต้องมีเจตนาชัดเจน การฟ้องคดีไม่ใช่การผ่อนเวลา
การที่ลูกหนี้ทำหนังสือรับสภาพนี้ และสัญญาจำชำระหนี้ภายในกำหนดเวลาหนึ่ง โดยเจ้าหนี้มิได้ตกลงด้วยนั้น ไม่ผูกพันเจ้าหนี้
การที่เจ้าหนี้เพิ่งฟ้องคดี หาใช่เป็นการที่เจ้าหนี้แสดงเจตนาผูกนิติสัมพันธ์ยอมผ่อนเวลา (ขยายเวลา) ชำระหนี้อันมีกำหนดแน่นอนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 ประการใดไม่ จึงไม่ทำให้ผู้ค้ำประกันพ้นจากความรับผิด
การที่เจ้าหนี้เพิ่งฟ้องคดี หาใช่เป็นการที่เจ้าหนี้แสดงเจตนาผูกนิติสัมพันธ์ยอมผ่อนเวลา (ขยายเวลา) ชำระหนี้อันมีกำหนดแน่นอนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 ประการใดไม่ จึงไม่ทำให้ผู้ค้ำประกันพ้นจากความรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 200/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมความที่ไม่สมบูรณ์ และความผิดฐานพรากผู้เยาว์เพื่อการอนาจาร
จำเลยหลอกลวงผู้เยาว์อายุ 16 ปีว่า คู่รักต้องการพบ ผู้เยาว์หลงเชื่อตามจำเลยไปแล้วถูกจำเลยข่มขืนกระทำชำเรากับหน่วงเหนี่ยวกักขังโจทก์และภริยาเป็นบิดามารดาของผู้เยาว์รับขมาด้วยเงิน 2,000 บาท โดยยังไม่ได้ตกลงกันเกี่ยวกับความผิดในทางอาญาและยอมรับขมาเพื่อให้ได้ตัวผู้เสียหายกลับคืนมา และเพื่อล้างอายกับเข้าใจว่าบุตรของตนตามเขาไป ดังนี้ เป็นเรื่องตกลงกันในทางแพ่ง ไม่เกี่ยวกับความผิดในทางอาญา จึงถือไม่ได้ว่ามีการยอมความกันถูกต้องตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39((2)
จำเลยหลอกลวงผู้เยาว์ว่า คู่รักของผู้เยาว์มาคอยพบ จะถือว่าผู้เยาว์เต็มใจไปกับจำเลยหาได้ไม่
จำเลยหลอกลวงพาผู้เยาว์ไปบังคับขู่เข็ญกระทำชำเรา มิใช่พาไปในฐานชู้สาว จึงเป็นการพรากไปเพื่อการอนาจาร
พรากผู้เยาว์ไปเสียจากบิดามารดาเพื่อการอนาจารโดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจ ผิดตามมาตรา 318 วรรคท้าย เป็นบทหนักกว่ามาตรา 319 ซึ่งศาลอุทธรณ์ปรับมา แต่โจทก์มิได้ฎีกาขึ้นมา ศาลฏีกาจะพิพากษาให้เป็นผลร้ายแก่จำเลยมิได้
จำเลยหลอกลวงผู้เยาว์ว่า คู่รักของผู้เยาว์มาคอยพบ จะถือว่าผู้เยาว์เต็มใจไปกับจำเลยหาได้ไม่
จำเลยหลอกลวงพาผู้เยาว์ไปบังคับขู่เข็ญกระทำชำเรา มิใช่พาไปในฐานชู้สาว จึงเป็นการพรากไปเพื่อการอนาจาร
พรากผู้เยาว์ไปเสียจากบิดามารดาเพื่อการอนาจารโดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจ ผิดตามมาตรา 318 วรรคท้าย เป็นบทหนักกว่ามาตรา 319 ซึ่งศาลอุทธรณ์ปรับมา แต่โจทก์มิได้ฎีกาขึ้นมา ศาลฏีกาจะพิพากษาให้เป็นผลร้ายแก่จำเลยมิได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 200/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหลอกลวงพาผู้เยาว์ไปกระทำชำเราและการยอมความที่ไม่สมบูรณ์
จำเลยหลอกลวงผู้เยาว์อายุ 16 ปี ว่าคู่รักต้องการพบผู้เยาว์หลงเชื่อตามจำเลยไปแล้วถูกจำเลยข่มขืนกระทำชำเรากับหน่วงเหนี่ยวกักขัง โจทก์และภริยาเป็นบิดามารดาของผู้เยาว์รับขมาด้วยเงิน 2,000 บาทโดยยังไม่ได้ตกลงกันเกี่ยวกับความผิดในทางอาญาและยอมรับขมาเพื่อให้ได้ตัวผู้เสียหายกลับคืนมาและเพื่อล้างอายกับเข้าใจว่าบุตรของตนตามเขาไปดังนี้ เป็นเรื่องตกลงกันในทางแพ่ง ไม่เกี่ยวกับความผิดในทางอาญา จึงถือไม่ได้ว่ามีการยอมความกันถูกต้องตามกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(2)
จำเลยหลอกลวงผู้เยาว์ว่า คู่รักของผู้เยาว์มาคอยพบจะถือว่าผู้เยาว์เต็มใจไปกับจำเลยหาได้ไม่
จำเลยหลอกลวงพาผู้เยาว์ไปบังคับขู่เข็ญกระทำชำเรา มิใช่พาไปในฐานชู้สาว จึงเป็นการพรากไปเพื่อการอนาจาร
พรากผู้เยาว์ไปเสียจากบิดามารดาเพื่อการอนาจารโดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจผิดตามมาตรา 318 วรรคท้าย เป็นบทหนักกว่ามาตรา 319 ซึ่งศาลอุทธรณ์ปรับมา แต่โจทก์มิได้ฎีกาขึ้นมาศาลฎีกาจะพิพากษาให้เป็นผลร้ายแก่จำเลยมิได้
จำเลยหลอกลวงผู้เยาว์ว่า คู่รักของผู้เยาว์มาคอยพบจะถือว่าผู้เยาว์เต็มใจไปกับจำเลยหาได้ไม่
จำเลยหลอกลวงพาผู้เยาว์ไปบังคับขู่เข็ญกระทำชำเรา มิใช่พาไปในฐานชู้สาว จึงเป็นการพรากไปเพื่อการอนาจาร
พรากผู้เยาว์ไปเสียจากบิดามารดาเพื่อการอนาจารโดยผู้เยาว์ไม่เต็มใจผิดตามมาตรา 318 วรรคท้าย เป็นบทหนักกว่ามาตรา 319 ซึ่งศาลอุทธรณ์ปรับมา แต่โจทก์มิได้ฎีกาขึ้นมาศาลฎีกาจะพิพากษาให้เป็นผลร้ายแก่จำเลยมิได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 191/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้ามในปัญหาข้อเท็จจริง: การโต้แย้งข้อเท็จจริงตามฟ้องไม่ใช่ฎีกาปัญหาข้อกฎหมาย
จำเลยฎีกาว่า ข้อเท็จจริงต่างกับฟ้องก็เพราะอ้างว่าจำเลยไม่ได้กระทำผิดดังนี้เป็นการฎีกาปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 191/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฎีกาปัญหาข้อเท็จจริงขัดกับฟ้อง ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามกฎหมาย
จำเลยฎีกาว่า ข้อเท็จจริงต่างกับฟ้องก็เพราะอ้างว่าจำเลยไม่ได้กระทำผิด ดังนี้เป็นการฎีกาปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218