พบผลลัพธ์ทั้งหมด 18 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 110/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการขอสินบนนำจับในคดีป้องกันการค้ากำไรเกินควร และการริบของกลางที่ไม่ใช่ของต้องห้าม
พระราชบัญญัติให้บำเหน็จในการปราบปรามผู้กระทำความผิด พ.ศ.2489 มาตรา 9 บัญญัติให้พนักงานอัยการร้องขอต่อศาลให้จ่ายสินบนหรือรางวัลได้โดยให้จ่ายราคาของกลางหรือค่าปรับแตกต่างกับพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 มาตรา 30 ซึ่งบัญญัติให้ผู้มีความผิดเป็นผู้เสียเงินค่าสินบนนำจับ มิได้ให้อำนาจพนักงานอัยการขอแทนได้ พนักงานอัยการหรือรัฐบาลไม่มีสิทธิในเงินสินบนนั้น และพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 ได้บัญญัติทับพระราชบัญญัติให้บำเหน็จในการปราบปรามผู้กระทำความผิดในเรื่องเงินสินบนนำจับนั้นแล้ว พนักงานอัยการโจทก์จึงไม่มีอำนาจที่จะขอเงินสินบนนำจับแทนได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1043/2492 และ 1933/2492)
จำเลยกระทำความผิดฐานไม่แจ้งปริมาณและสถานที่เก็บสิ่งของที่ประกาศควบคุม เมื่อของกลางมิใช่สิ่งของที่ห้ามการค้ากำไรเกินควร จึงริบสิ่งของนั้นตามพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ. 2490 มาตรา 29 ไม่ได้
จำเลยกระทำความผิดฐานไม่แจ้งปริมาณและสถานที่เก็บสิ่งของที่ประกาศควบคุม เมื่อของกลางมิใช่สิ่งของที่ห้ามการค้ากำไรเกินควร จึงริบสิ่งของนั้นตามพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ. 2490 มาตรา 29 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 110/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจพนักงานอัยการขอเงินสินบนนำจับ และการริบของกลางในคดีไม่แจ้งปริมาณสิ่งของควบคุม
พระราชบัญญัติให้บำเหน็จในการปราบปรามผู้กระทำความผิด พ.ศ.2489มาตรา 9 บัญญัติให้พนักงานอัยการร้องขอต่อศาลให้จ่ายสินบนหรือรางวัลได้โดยให้จ่ายราคาของกลางหรือค่าปรับแตกต่างกับพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 มาตรา 30 ซึ่งบัญญัติให้ผู้มีความผิดเป็นผู้เสียเงินค่าสินบนนำจับ มิได้ให้อำนาจพนักงานอัยการขอแทนได้พนักงานอัยการหรือรัฐบาลไม่มีสิทธิในเงินสินบนนั้น และพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 ได้บัญญัติทับพระราชบัญญัติให้บำเหน็จในการปราบปรามผู้กระทำความผิดในเรื่องเงินสินบนนำจับนั้นแล้ว พนักงานอัยการโจทก์จึงไม่มีอำนาจที่จะขอเงินสินบนนำจับแทนได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่1043/2492 และ 1933/2492)
จำเลยกระทำความผิดฐานไม่แจ้งปริมาณและสถานที่เก็บสิ่งของที่ประกาศควบคุม เมื่อของกลางมิใช่สิ่งของที่ห้ามการค้ากำไรเกินควรจึงริบสิ่งของนั้นตามพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 มาตรา 29 ไม่ได้
จำเลยกระทำความผิดฐานไม่แจ้งปริมาณและสถานที่เก็บสิ่งของที่ประกาศควบคุม เมื่อของกลางมิใช่สิ่งของที่ห้ามการค้ากำไรเกินควรจึงริบสิ่งของนั้นตามพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 มาตรา 29 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2189/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการขอสินบนนำจับในคดีป้องกันการค้ากำไรเกินควร ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าพนักงานอัยการไม่มีอำนาจตามกฎหมาย
คดีที่จำเลยกระทำผิดพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควรพนักงานอัยการโจทก์ ไม่มีอำนาจขอให้จ่ายสินบนนำจับ เพราะพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควรมิได้ระบุให้อำนาจไว้และการจ่ายก็บัญญัติไว้เป็นพิเศษ จะอนุโลมนำบทบัญญัติมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติให้บำเหน็จในการปราบปรามผู้กระทำความผิดมาใช้ในกรณีนี้หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1043/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการขอจ่ายสินบนนำจับในคดีป้องกันการค้ากำไรเกินควร: ความแตกต่างระหว่าง พ.ร.บ. 2489 และ พ.ร.บ. 2490
พ.ร.บ.ป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 มาตรา 30 ได้บัญญัติถึงการบังคับให้ใช้สินบนนำจับไว้เป็นพิเศษแตกต่างไปจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 8 แห่ง พ.ร.บ.ให้บำเหน็จในการปราบปรามผู้กระทำความผิด พ.ศ.2489
คำขอให้จ่ายค่าสินบนนำจับตาม พ.ร.บ.ป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 พนักงานอัยการไม่มีอำนาจจะขอแทนได้ เพราะ พ.ร.บ.ป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 ไม่ได้ระบุอำนาจไว้
คำขอให้จ่ายค่าสินบนนำจับตาม พ.ร.บ.ป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 พนักงานอัยการไม่มีอำนาจจะขอแทนได้ เพราะ พ.ร.บ.ป้องกันการค้ากำไรเกินควร พ.ศ.2490 ไม่ได้ระบุอำนาจไว้