พบผลลัพธ์ทั้งหมด 274 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1066-1067/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ที่ดินวัด: การได้มาซึ่งที่ดินของวัดและการคุ้มครองกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายคณะสงฆ์
ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.121 มาตรา 7 ซึ่งต่อมาได้ถูกแก้ไขตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์พ.ศ.2477 มาตรา 3 ก็ดีตาม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 มาตรา 41 ก็ดี และตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 มาตรา 34 ก็ดี จำเลยจะได้ที่วัดไปเป็นของตนก็โดยพระราชบัญญัติทางเดียวเท่านั้น
ฎีกาจำเลยมิได้กล่าวโดยแจ้งชัดว่ากรมการศาสนาไม่มีอำนาจฟ้อง และใบมอบอำนาจใช้ไม่ได้ เรียกค่าเสียหายไม่ได้เพราะเหตุใด จึงเป็นฎีกาที่ไม่ชอบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 (ประชุมใหญ่ครั้ง ที่ 5/2509)
ฎีกาจำเลยมิได้กล่าวโดยแจ้งชัดว่ากรมการศาสนาไม่มีอำนาจฟ้อง และใบมอบอำนาจใช้ไม่ได้ เรียกค่าเสียหายไม่ได้เพราะเหตุใด จึงเป็นฎีกาที่ไม่ชอบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 (ประชุมใหญ่ครั้ง ที่ 5/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1063/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิพากษาถึงที่สุดเรื่องการขายฝากและการครอบครองปรปักษ์ ศาลฎีกาอนุญาตให้วินิจฉัยประเด็นขายฝากได้เนื่องจากยังไม่ถึงที่สุด
โจทก์จำเลยพิพาทกันในคดีก่อน ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยได้ขายฝากที่พิพาทไว้กับโจทก์ และจำเลยมิได้ไถ่คืนภายในกำหนดเวลา ที่พิพาทจึงตกเป็นของโจทก์จำเลยได้อุทธรณ์ต่อมา แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่ายังไม่จำต้องพิจารณาว่าทรัพย์ที่พิพาทเป็นของโจทก์ผู้ให้เช่าหรือไม่ ถือว่าคำพิพากษาศาลอุทธรณ์อันเป็นคำพิพากษาชั้นที่สุดยังมิได้วินิจฉัยประเด็นดังกล่าว จำเลยจึงยกขึ้นต่อสู้และขอให้วินิจฉัยใหม่ในคดีนี้ได้ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148 (อ้างฎีกาที่ 1276/2494)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1063/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การวินิจฉัยประเด็นกรรมสิทธิ์ที่ยังไม่ยุติ และการฟ้องขับไล่หลังบอกเลิกสัญญาเช่า
โจทก์จำเลยพิพาทกันในคดีก่อน ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยได้ขายฝากที่พิพาทไว้กับโจทก์และจำเลยมิได้ไถ่คืนภายในกำหนดเวลา ที่พิพาทจึงตกเป็นของโจทก์ จำเลยได้อุทธรณ์ต่อมา แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่ายังไม่จำต้องพิจารณาว่าทรัพย์ที่พิพาทเป็นของโจทก์ผู้ให้เช่าหรือไม่ ถือว่าคำพิพากษาศาลอุทธรณ์อันเป็นคำพิพากษาชั้นที่สุดยังมิได้วินิจฉัยประเด็นดังกล่าว จำเลยจึงยกขึ้นต่อสู้และขอให้วินิจฉัยใหม่ในคดีนี้ได้ ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148
(อ้างฎีกาที่ 1276/2494)
(อ้างฎีกาที่ 1276/2494)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1053/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องขับไล่จำเลยที่เข้าครอบครองทรัพย์ที่เช่าโดยไม่สุจริต และอำนาจโจทก์ในการขอให้ผู้ให้เช่าเข้าร่วมเป็นโจทก์
ทรัพย์สินซึ่งเช่านั้น ผู้เช่าจะให้เช่าช่วงไม่ได้ เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่นในสัญญาเช่า
โจทก์ร่วมเป็นเจ้าของห้องพิพาท จำเลยเป็นบริวารของผู้อื่นซึ่งไม่ได้เป็นคู่สัญญากับโจทก์ร่วม จึงไม่มีนิติสัมพันธ์ใดๆ กับโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมย่อมมีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้
การที่โจทก์เช่าห้องรายพิพาทจากผู้ให้เช่าแล้วเข้าครอบครองทรัพย์ที่เช่าไม่ได้โดยมีผู้ขัดขวาง โจทก์หามีสิทธิจะฟ้องขับไล่โดยลำพังตนเองไม่ แต่ชอบที่จะขอให้ศาลเรียกผู้ให้เช่าเข้ามาร่วมเป็นโจทก์ด้วยได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 477 และ 549 และเมื่อโจทก์ได้ฟ้องคดีนี้โดยได้ขอให้เจ้าของผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมด้วยแล้ว โจทก์และโจทก์ร่วมจึงมีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยได้ (อ้างฎีกาที่ 676 ถึง 689/2498)
ประเด็นที่มิได้ยกขึ้นมาว่ากล่าวแต่ในศาลชั้นต้นจะยกขึ้นมาในชั้นฎีกาไม่ได้
ในชั้นแรก โจทก์ยื่นคำร้องขอให้เรียกผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมโดยไม่ได้อ้างเหตุความจำเป็นอย่างหนึ่งอย่างใดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) ขึ้นมาศาลชั้นต้นจึงสั่งให้ยกคำร้องของโจทก์ ต่อมาโจทก์ได้ยื่นคำร้องอ้างเหตุว่าโจทก์ได้ทำสัญญาเช่าห้องรายพิพาทมาจากผู้ให้เช่า แต่โจทก์เข้าครอบครองห้องพิพาทไม่ได้เพราะจำเลยไม่ยอมออกไป ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย หากศาลไม่เรียกเจ้าของห้องเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมด้วย หากโจทก์แพ้คดีโจทก์จะไม่สามารถเรียกร้องเอาค่าทดแทนหรือค่าเสียหายจากใครได้ ดังนี้ศาลชั้นต้นย่อมมีอำนาจสั่งใหม่และสั่งอนุญาตให้หมายเรียกเจ้าของผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมได้
โจทก์ร่วมเป็นเจ้าของห้องพิพาท จำเลยเป็นบริวารของผู้อื่นซึ่งไม่ได้เป็นคู่สัญญากับโจทก์ร่วม จึงไม่มีนิติสัมพันธ์ใดๆ กับโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมย่อมมีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้
การที่โจทก์เช่าห้องรายพิพาทจากผู้ให้เช่าแล้วเข้าครอบครองทรัพย์ที่เช่าไม่ได้โดยมีผู้ขัดขวาง โจทก์หามีสิทธิจะฟ้องขับไล่โดยลำพังตนเองไม่ แต่ชอบที่จะขอให้ศาลเรียกผู้ให้เช่าเข้ามาร่วมเป็นโจทก์ด้วยได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 477 และ 549 และเมื่อโจทก์ได้ฟ้องคดีนี้โดยได้ขอให้เจ้าของผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมด้วยแล้ว โจทก์และโจทก์ร่วมจึงมีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยได้ (อ้างฎีกาที่ 676 ถึง 689/2498)
ประเด็นที่มิได้ยกขึ้นมาว่ากล่าวแต่ในศาลชั้นต้นจะยกขึ้นมาในชั้นฎีกาไม่ได้
ในชั้นแรก โจทก์ยื่นคำร้องขอให้เรียกผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมโดยไม่ได้อ้างเหตุความจำเป็นอย่างหนึ่งอย่างใดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(3) ขึ้นมาศาลชั้นต้นจึงสั่งให้ยกคำร้องของโจทก์ ต่อมาโจทก์ได้ยื่นคำร้องอ้างเหตุว่าโจทก์ได้ทำสัญญาเช่าห้องรายพิพาทมาจากผู้ให้เช่า แต่โจทก์เข้าครอบครองห้องพิพาทไม่ได้เพราะจำเลยไม่ยอมออกไป ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย หากศาลไม่เรียกเจ้าของห้องเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมด้วย หากโจทก์แพ้คดีโจทก์จะไม่สามารถเรียกร้องเอาค่าทดแทนหรือค่าเสียหายจากใครได้ ดังนี้ศาลชั้นต้นย่อมมีอำนาจสั่งใหม่และสั่งอนุญาตให้หมายเรียกเจ้าของผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1053/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องขับไล่และการมีอำนาจฟ้องคดี เมื่อผู้เช่าไม่สามารถเข้าครอบครองทรัพย์ที่เช่าได้
ทรัพย์สินซึ่งเช่านั้น ผู้เช่าจะให้เช่าช่วงไม่ได้ เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่นในสัญญาเช่า
โจทก์ร่วมเป็นเจ้าของห้องพิพาท จำเลยเป็นบริวารของผู้อื่นซึ่งไม่ได้เป็นคู่สัญญากับโจทก์ร่วม จึงไม่มีนิติสัมพันธ์ใด ๆ กับโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมย่อมมีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้
การที่โจทก์เช่าห้องรายพิพาทจากผู้ให้เช่าแล้วเข้าครอบครองทรัพย์ที่เช่าไม่ได้โดยมีผู้ขัดขวางโจทก์หามีสิทธิจะฟ้องขับไล่โดยลำพังตนเองไม่ แต่ชอบที่จะขอให้ศาลเรียกผู้ให้เช่าเข้ามาร่วมเป็นโจทก์ด้วยได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 477 และ 549 และเมื่อโจทก์ได้ฟ้องคดีนี้โดยได้ขอให้เจ้าของผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมด้วยแล้วโจทก์และโจทก์ร่วมจึงมีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยได้
(อ้างฎีกาที่ 676 ถึง 689/2498)
ประเด็นที่มิได้ยกขึ้นมาว่ากล่าวแต่ในศาลชั้นต้นจะยกขึ้นมาในชั้นฎีกาไม่ได้
ในชั้นแรก โจทก์ยื่นคำร้องขอให้เรียกผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมโดยไม่ได้อ้างเหตุความจำเป็นอย่างหนึ่งอย่างใดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 57(3) ขึ้นมาศาลชั้นต้นจึงสั่งให้ยกคำร้องของโจทก์ ต่อมาโจทก์ได้ยื่นคำร้องอ้างเหตุว่าโจทก์ได้ทำสัญญาเช่าห้องรายพิพาทมาจากผู้ให้เช่า แต่โจทก์เข้าครอบครองห้องรายพิพาทไม่ได้เพราะจำเลยไม่ยอมออกไป ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย หากศาลไม่เรียกเจ้าของห้องเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมด้วย หากโจทก์แพ้คดีโจทก์จะไม่สามารถเรียกร้องเอาค่าทดแทนหรือค่าเสียหายจากใครได้ ดังนี้ศาลชั้นต้นย่อมมีอำนาจสั่งใหม่และสั่งอนุญาตให้หมายเรียกเจ้าของผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมได้
โจทก์ร่วมเป็นเจ้าของห้องพิพาท จำเลยเป็นบริวารของผู้อื่นซึ่งไม่ได้เป็นคู่สัญญากับโจทก์ร่วม จึงไม่มีนิติสัมพันธ์ใด ๆ กับโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมย่อมมีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลยได้
การที่โจทก์เช่าห้องรายพิพาทจากผู้ให้เช่าแล้วเข้าครอบครองทรัพย์ที่เช่าไม่ได้โดยมีผู้ขัดขวางโจทก์หามีสิทธิจะฟ้องขับไล่โดยลำพังตนเองไม่ แต่ชอบที่จะขอให้ศาลเรียกผู้ให้เช่าเข้ามาร่วมเป็นโจทก์ด้วยได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 477 และ 549 และเมื่อโจทก์ได้ฟ้องคดีนี้โดยได้ขอให้เจ้าของผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมด้วยแล้วโจทก์และโจทก์ร่วมจึงมีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยได้
(อ้างฎีกาที่ 676 ถึง 689/2498)
ประเด็นที่มิได้ยกขึ้นมาว่ากล่าวแต่ในศาลชั้นต้นจะยกขึ้นมาในชั้นฎีกาไม่ได้
ในชั้นแรก โจทก์ยื่นคำร้องขอให้เรียกผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมโดยไม่ได้อ้างเหตุความจำเป็นอย่างหนึ่งอย่างใดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 57(3) ขึ้นมาศาลชั้นต้นจึงสั่งให้ยกคำร้องของโจทก์ ต่อมาโจทก์ได้ยื่นคำร้องอ้างเหตุว่าโจทก์ได้ทำสัญญาเช่าห้องรายพิพาทมาจากผู้ให้เช่า แต่โจทก์เข้าครอบครองห้องรายพิพาทไม่ได้เพราะจำเลยไม่ยอมออกไป ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย หากศาลไม่เรียกเจ้าของห้องเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมด้วย หากโจทก์แพ้คดีโจทก์จะไม่สามารถเรียกร้องเอาค่าทดแทนหรือค่าเสียหายจากใครได้ ดังนี้ศาลชั้นต้นย่อมมีอำนาจสั่งใหม่และสั่งอนุญาตให้หมายเรียกเจ้าของผู้ให้เช่าเข้ามาเป็นโจทก์ร่วมได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1052/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในสินสมรสก่อน-หลังใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์: กรณีโจทก์ไม่มีสินเดิม
โจทก์และจำเลยที่ 1 เป็นสามีภริยากันก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 สิทธิในสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 ต้องบังคับตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย ซึ่งใช้อยู่ก่อนวันประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 เมื่อโจทก์ได้จำเลยที่ 1 เป็นสามีโจทก์ไม่มีสินเดิม ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย โจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส
(อ้างฎีกาที่ 326/2479)
เมื่อฟังว่านาพิพาทเป็นสินเดิมของจำเลยที่ 1 และแม้หากจะฟังว่าเรือนและครัวซึ่งปลูกอยู่บนนาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส จำเลยที่ 1 ก็มีอำนาจขายนาพิพาทพร้อมด้วยเรือนและครัวให้จำเลยที่ 2 ได้ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากโจทก์
(อ้างฎีกาที่ 326/2479)
เมื่อฟังว่านาพิพาทเป็นสินเดิมของจำเลยที่ 1 และแม้หากจะฟังว่าเรือนและครัวซึ่งปลูกอยู่บนนาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส จำเลยที่ 1 ก็มีอำนาจขายนาพิพาทพร้อมด้วยเรือนและครัวให้จำเลยที่ 2 ได้ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1052/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในสินสมรสกรณีสามีภริยาก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ และการขายสินเดิมโดยไม่ต้องยินยอม
โจทก์และจำเลยที่ 1 เป็นสามีภริยากันก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 สิทธิในสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 ต้องบังคับตามกฎหมายลักษณะผัวเมียซึ่งใช้อยู่ก่อนวันประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 เมื่อโจทก์ได้จำเลยที่ 1 เป็นสามีโจทก์ไม่มีสินเดิม ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย โจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส (อ้างฎีกาที่ 326/2479)
เมื่อฟังว่านาพิพาทเป็นสินเดิมของจำเลยที่ 1 และแม้หากจะฟังว่าเรือนและครัวซึ่งปลูกอยู่บนนาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส จำเลยที่ 1 ก็มีอำนาจขายนาพิพาทพร้อมด้วยเรือนและครัวให้จำเลยที่ 2 ได้ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากโจทก์
เมื่อฟังว่านาพิพาทเป็นสินเดิมของจำเลยที่ 1 และแม้หากจะฟังว่าเรือนและครัวซึ่งปลูกอยู่บนนาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส จำเลยที่ 1 ก็มีอำนาจขายนาพิพาทพร้อมด้วยเรือนและครัวให้จำเลยที่ 2 ได้ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1037/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองปรปักษ์และการแสดงเจตนาเป็นเจ้าของที่ดิน กรณีโรงเรียนราษฎร์
โจทก์ครอบครองที่พิพาทและดำเนินกิจการโรงเรียนแทนคณะกรรมการโรงเรียนตลอดมาแม้โจทก์จะได้รับอนุญาตเป็นเจ้าของโรงเรียนก็เป็นเพียงเจ้าของที่แสดงออกและรับอนุญาตตามพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ พ.ศ. 2497 มาตรา 4,7 เท่านั้น โจทก์ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่พิพาท
โจทก์ฟ้องขอให้ใส่ชื่อโจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่พิพาท ในชั้นฎีกา โจทก์ขอให้ใส่ชื่อโจทก์เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์แทนโรงเรียนและคณะกรรมการโรงเรียน จึงเป็นการขอนอกเหนือคำฟ้องเดิมของโจทก์ และเพราะโรงเรียนมิใช่นิติบุคคลและคณะกรรมการโรงเรียนมิได้ยินยอมด้วย ศาลจึงไม่อาจบังคับตามคำขอให้ได้
โจทก์ฟ้องขอให้ใส่ชื่อโจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่พิพาท ในชั้นฎีกา โจทก์ขอให้ใส่ชื่อโจทก์เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์แทนโรงเรียนและคณะกรรมการโรงเรียน จึงเป็นการขอนอกเหนือคำฟ้องเดิมของโจทก์ และเพราะโรงเรียนมิใช่นิติบุคคลและคณะกรรมการโรงเรียนมิได้ยินยอมด้วย ศาลจึงไม่อาจบังคับตามคำขอให้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1037/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในที่ดิน: การครอบครองแทนโรงเรียน/คณะกรรมการ ไม่ทำให้ได้กรรมสิทธิ์เอง
โจทก์ครอบครองที่พิพาทและดำเนินกิจการโรงเรียนแทนคณะกรรมการโรงเรียนตลอดมา แม้โจทก์จะได้รับอนุญาตเป็นเจ้าของโรงเรียน ก็เป็นเพียงเจ้าของที่แสดงออกและรับอนุญาตตามพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ พ.ศ.2497 มาตรา 4,7 เท่านั้น โจทก์ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่พิพาท
โจทก์ฟ้องขอให้ใส่ชื่อโจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่พิพาท ในชั้นฎีกาโจทก์ขอให้ใส่ชื่อโจทก์เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์แทนโรงเรียนและคณะกรรมการโรงเรียน จึงเป็นการขอนอกเหนือคำฟ้องเดิมของโจทก์ และเพราะโรงเรียนมิใช่นิติบุคคลและคณะกรรมการโรงเรียนมิได้ยินยอมด้วย ศาลจึงไม่อาจบังคับตามคำขอให้ได้
โจทก์ฟ้องขอให้ใส่ชื่อโจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่พิพาท ในชั้นฎีกาโจทก์ขอให้ใส่ชื่อโจทก์เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์แทนโรงเรียนและคณะกรรมการโรงเรียน จึงเป็นการขอนอกเหนือคำฟ้องเดิมของโจทก์ และเพราะโรงเรียนมิใช่นิติบุคคลและคณะกรรมการโรงเรียนมิได้ยินยอมด้วย ศาลจึงไม่อาจบังคับตามคำขอให้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 947/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความสิทธิเรียกร้องราคาสินค้าซื้อขายเพื่ออุตสาหกรรม: กรณีซื้ออ้อยทำน้ำตาล
จำเลยซื้ออ้อยโจทก์ไปทำเป็นน้ำตาลเพื่อจำหน่าย น้ำตาลนั้นจะเป็นน้ำตาลอ้อยหรือน้ำตาลทรายก็ตาม ก็ถือได้ว่าการซื้อขายเป็นการทำเพื่อการอุตสาหกรรมของฝ่ายลูกหนี้คือจำเลย เพราะฉะนั้นสิทธิเรียกร้องราคาอ้อยมีอายุความ 5 ปี.