พบผลลัพธ์ทั้งหมด 274 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 489/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับมรดก: สิทธิบุตรบุญธรรมและผลผูกพันสัญญา
ผู้ตายรับโจทก์ซึ่งเป็นผู้เยาว์ไปเลี้ยงเป็นบุตรเมื่อผู้ตายตายแล้ว จำเลยสามีผู้ตายไล่โจทก์ออกจากบ้าน โจทก์กับบิดาจึงขอแบ่งมรดกของผู้ตายโดยคิดว่าตนเป็นบุตรบุญธรรมมีสิทธิในมรดกร่วมกับจำเลยและบุตรผู้ตาย แล้วโจทก์จำเลยทำสัญญาแบ่งทรัพย์มรดกกัน เพื่อระงับข้อพิพาท สัญญานี้เป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 489/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับมรดก: สิทธิบุตรบุญธรรมและผลผูกพันสัญญา
ผู้ตายรับโจทก์ซึ่งเป็นผู้เยาว์ไปเลี้ยงเป็นบุตรเมื่อผู้ตายตายแล้ว จำเลยสามีผู้ตายไล่โจทก์ออกจากบ้าน โจทก์กับบิดาจึงขอแบ่งมรดกของผู้ตายโดยคิดว่าตนเป็นบุตรบุญธรรมมีสิทธิในมรดกรวมกับจำเลยและบุตรผู้ตาย แล้วโจทก์จำเลยทำสัญญาแบ่งทรัพย์มรดกกัน เพื่อระงับข้อพิพาท สัญญานี้เป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 248/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่านาและการครอบครองที่ดินหลังสัญญาหมดอายุ: การชำระค่าเช่าและค่าเสียหาย
ที่พิพาทเป็นที่นาซึ่งไม่มีหนังสือสำคัญสำหรับที่ดินเมื่อเจ้าของขายและมอบการครอบครองให้โจทก์แล้ว โจทก์ก็ได้สิทธิครอบครองในที่นั้นไม่ใช่โจทก์ได้สิทธิครอบครองโดยการแจ้งการครอบครอง
จำเลยทำหนังสือสัญญาเช่ากับโจทก์ตลอดมาจนถึง พ.ศ.2503แต่เมื่อที่พิพาทที่จำเลยเช่ามีเนื้อที่เพียง 40 ไร่ และอยู่ตำบลบางเพรียง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นท้องที่ที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2493และพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 9(2) กำหนดให้สัญญาเช่ามีอายุต่อไปอีก 5 ปี ในเมื่อจำเลยประสงค์จะเช่าต่อไป เมื่อจำเลยยังคงยึดถือครอบครองนาพิพาทต่อมา ก็ต้องถือว่าจำเลยประสงค์จะเช่าต่อไปสัญญาเช่านาระหว่างโจทก์จำเลยจึงมีอายุต่อไป 5 ปี คือ ตั้งแต่ พ.ศ.2503 ถึง พ.ศ.2507เมื่อถือว่าจำเลยเช่านาจากโจทก์ตลอดมากรณีเป็นเรื่องจำเลยยึดถือครอบครองที่พิพาทแทนโจทก์ในฐานะผู้เช่าจำเลยไม่มีสิทธิครอบครองในที่พิพาท คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความเมื่อจำเลยทำสัญญาเช่ากับโจทก์ตลอดมาจนถึง พ.ศ.2503 และสัญญาเช่ามีอายุต่อไปจนถึง พ.ศ.2507 ตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2493 มาตรา 9(2)แม้สัญญาเช่าจะมิได้ทำเป็นหนังสือจำเลยก็ต้องชำระค่าเช่านาในปีการเช่าดังกล่าวให้โจทก์ตามพระราชบัญญัตควบคุมการเช่านา พ.ศ.2493 มาตรา 12
เมื่อสัญญาเช่าระหว่างโจทก์จำเลยมีอายุเพียงสิ้น พ.ศ. 2507การที่จำเลยยังคงทำนาพิพาทตลอดมา ต้องถือว่าจำเลยเข้าทำโดยละเมิดต่อโจทก์แม้โจทก์จะขอให้จำเลยชำระค่าเช่าจนกว่าจำเลยจะเลิกทำนา ก็เป็นที่เห็นได้ว่า ค่าเช่าที่โจทก์ฟ้องเรียกตั้งแต่วันที่โจทก์จำเลยไม่มีสัญญาเช่าผูกพันต่อกันนั้นก็คือค่าเสียหายนั่นเอง ศาลย่อมพิพากษาให้จำเลยชดใช้ให้โจทก์ได้ (อ้างฎีกาที่ 857-858-859/2503)
จำเลยทำหนังสือสัญญาเช่ากับโจทก์ตลอดมาจนถึง พ.ศ.2503แต่เมื่อที่พิพาทที่จำเลยเช่ามีเนื้อที่เพียง 40 ไร่ และอยู่ตำบลบางเพรียง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นท้องที่ที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2493และพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 9(2) กำหนดให้สัญญาเช่ามีอายุต่อไปอีก 5 ปี ในเมื่อจำเลยประสงค์จะเช่าต่อไป เมื่อจำเลยยังคงยึดถือครอบครองนาพิพาทต่อมา ก็ต้องถือว่าจำเลยประสงค์จะเช่าต่อไปสัญญาเช่านาระหว่างโจทก์จำเลยจึงมีอายุต่อไป 5 ปี คือ ตั้งแต่ พ.ศ.2503 ถึง พ.ศ.2507เมื่อถือว่าจำเลยเช่านาจากโจทก์ตลอดมากรณีเป็นเรื่องจำเลยยึดถือครอบครองที่พิพาทแทนโจทก์ในฐานะผู้เช่าจำเลยไม่มีสิทธิครอบครองในที่พิพาท คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความเมื่อจำเลยทำสัญญาเช่ากับโจทก์ตลอดมาจนถึง พ.ศ.2503 และสัญญาเช่ามีอายุต่อไปจนถึง พ.ศ.2507 ตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2493 มาตรา 9(2)แม้สัญญาเช่าจะมิได้ทำเป็นหนังสือจำเลยก็ต้องชำระค่าเช่านาในปีการเช่าดังกล่าวให้โจทก์ตามพระราชบัญญัตควบคุมการเช่านา พ.ศ.2493 มาตรา 12
เมื่อสัญญาเช่าระหว่างโจทก์จำเลยมีอายุเพียงสิ้น พ.ศ. 2507การที่จำเลยยังคงทำนาพิพาทตลอดมา ต้องถือว่าจำเลยเข้าทำโดยละเมิดต่อโจทก์แม้โจทก์จะขอให้จำเลยชำระค่าเช่าจนกว่าจำเลยจะเลิกทำนา ก็เป็นที่เห็นได้ว่า ค่าเช่าที่โจทก์ฟ้องเรียกตั้งแต่วันที่โจทก์จำเลยไม่มีสัญญาเช่าผูกพันต่อกันนั้นก็คือค่าเสียหายนั่นเอง ศาลย่อมพิพากษาให้จำเลยชดใช้ให้โจทก์ได้ (อ้างฎีกาที่ 857-858-859/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 248/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิครอบครองที่ดินหลังการขายและการเช่า การบังคับใช้ พ.ร.บ.ควบคุมการเช่านา และการเรียกร้องค่าเสียหาย
ที่พิพาทเป็นที่นาซึ่งไม่มีหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน เมื่อเจ้าของขายและมอบการครอบครองให้โจทก์แล้ว โจทก์ก็ได้สิทธิครอบครองในที่นั้น ไม่ใช่โจทก์ได้สิทธิครอบครองโดยการแจ้งการครอบครอง
จำเลยทำหนังสือสัญญาเช่ากับโจทก์ตลอดมาจนถึง พ.ศ. 2503 แต่เมื่อที่พิพาทที่จำเลยเช่ามีเนื้อที่เพียง 40 ไร่ และอยู่ตำบลบางเพรียง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นท้องที่ที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2493 และพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 9(2) กำหนดให้สัญญาเช่ามีอายุต่อไปอีก 5 ปีในเมื่อจำเลยประสงค์จะเช่าต่อไป เมื่อจำเลยยังคงยึดถือครอบครองนาพิพาทต่อมา ก็ต้องถือว่าจำเลยประสงค์จะเช่าต่อไป สัญญาเช่านาระหว่างโจทก์จำเลยจึงมีอายุต่อไป 5 ปี คือ ตั้งแต่ พ.ศ. 2503 ถึง พ.ศ. 2507 เมื่อถือว่าจำเลยเช่านาจากโจทก์ตลอดมา กรณีเป็นเรื่องจำเลยยึดถือครอบครองที่พิพาทแทนโจทก์ในฐานะผู้เช่า จำเลยไม่มีสิทธิครอบครองในที่พิพาท คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ เมื่อจำเลยทำสัญญาเช่ากับโจทก์ตลอดมาจนถึง พ.ศ. 2503 และสัญญาเช่ามีอายุต่อไปจนถึง พ.ศ. 2507 ตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2493 มาตรา (2) แม้สัญญาเช่าจะมิได้ทำเป็นหนังสือ จำเลยก็ต้องชำระค่าเช่านาในปีการเช่าดังกล่าวให้โจทก์ตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2493 มาตรา 12
เมื่อสัญญาเช่าระหว่างโจทก์จำเลยมีอายุเพียงสิ้น พ.ศ. 2507 การที่จำเลยยังคงทำนาพิพาทตลอดมา ต้องถือว่าจำเลยเข้าทำโดยละเมิดต่อโจทก์ แม้โจทก์จะขอให้จำเลยชำระค่าเช่าจนกว่าจำเลยจะเลิกทำนา ก็เป็นที่เห็นได้ว่า ค่าเช่าที่โจทก์ฟ้องเรียกตั้งแต่วันที่โจทก์จำเลยไม่มีสัญญาเช่าผูกพันต่อกันนั้นก็คือค่าเสียหายนั่นเอง ศาลย่อมพิพากษาให้จำเลยชดใช้ให้โจทก์ได้ (อ้างฎีกา 857-859/2503)
จำเลยทำหนังสือสัญญาเช่ากับโจทก์ตลอดมาจนถึง พ.ศ. 2503 แต่เมื่อที่พิพาทที่จำเลยเช่ามีเนื้อที่เพียง 40 ไร่ และอยู่ตำบลบางเพรียง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นท้องที่ที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2493 และพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 9(2) กำหนดให้สัญญาเช่ามีอายุต่อไปอีก 5 ปีในเมื่อจำเลยประสงค์จะเช่าต่อไป เมื่อจำเลยยังคงยึดถือครอบครองนาพิพาทต่อมา ก็ต้องถือว่าจำเลยประสงค์จะเช่าต่อไป สัญญาเช่านาระหว่างโจทก์จำเลยจึงมีอายุต่อไป 5 ปี คือ ตั้งแต่ พ.ศ. 2503 ถึง พ.ศ. 2507 เมื่อถือว่าจำเลยเช่านาจากโจทก์ตลอดมา กรณีเป็นเรื่องจำเลยยึดถือครอบครองที่พิพาทแทนโจทก์ในฐานะผู้เช่า จำเลยไม่มีสิทธิครอบครองในที่พิพาท คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ เมื่อจำเลยทำสัญญาเช่ากับโจทก์ตลอดมาจนถึง พ.ศ. 2503 และสัญญาเช่ามีอายุต่อไปจนถึง พ.ศ. 2507 ตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2493 มาตรา (2) แม้สัญญาเช่าจะมิได้ทำเป็นหนังสือ จำเลยก็ต้องชำระค่าเช่านาในปีการเช่าดังกล่าวให้โจทก์ตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2493 มาตรา 12
เมื่อสัญญาเช่าระหว่างโจทก์จำเลยมีอายุเพียงสิ้น พ.ศ. 2507 การที่จำเลยยังคงทำนาพิพาทตลอดมา ต้องถือว่าจำเลยเข้าทำโดยละเมิดต่อโจทก์ แม้โจทก์จะขอให้จำเลยชำระค่าเช่าจนกว่าจำเลยจะเลิกทำนา ก็เป็นที่เห็นได้ว่า ค่าเช่าที่โจทก์ฟ้องเรียกตั้งแต่วันที่โจทก์จำเลยไม่มีสัญญาเช่าผูกพันต่อกันนั้นก็คือค่าเสียหายนั่นเอง ศาลย่อมพิพากษาให้จำเลยชดใช้ให้โจทก์ได้ (อ้างฎีกา 857-859/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1607/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้เครื่องหมายการค้าที่คล้ายคลึงกันในสินค้าต่างประเภท หากไม่ทำให้สาธารณชนสับสน ไม่ถือเป็นการละเมิด
โจทก์จำเลยต่างได้ใช้เครื่องหมายการค้าที่อ่านแล้วมีสำเนียงคล้ายคลึงกัน คือ Hi-PEX และ HYPEX กับสินค้าของตนซึ่งเป็นคนละชนิด โดยโจทก์ใช้กับสินค้าจำพวกยาและเครื่องหอม ส่วนจำเลยใช้กับสินค้าจำพวกเครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์ เครื่องเล่นจานเสียง บันทึกเสียง ฯลฯ ทั้งโจทก์จำเลยต่างได้ใช้กันมาโดยสุจริตและนานมาแล้ว จำเลยมิได้ลอกหรือเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ กรณีเป็นเรื่องโจทก์จำเลยต่างใช้เครื่องหมายการค้าของตนมาโดยสุจริตเป็นเวลาช้านานสำหรับสินค้าของตน ไม่ทำให้สาธารณชนเข้าใจผิดหรือหลงผิดว่าสินค้าจำเลยเป็นสินค้าโจทก์ หรือทำให้ความเป็นเจ้าของสับสนแต่อย่างใด จำเลยจึงมีสิทธิขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าดังกล่าวได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 17/2509)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 17/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1607/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้เครื่องหมายการค้าที่คล้ายคลึงกันโดยสุจริต ไม่ทำให้สับสน ไม่ขัดสิทธิการจดทะเบียน
โจทก์จำเลยต่างได้ใช้เครื่องหมายการค้า ที่อ่านแล้วมีสำเนียงคล้ายคลึงกัน คือ HI-PEX และ HYPEX กับสินค้าของตนซึ่งเป็นคนละชนิด โดยโจทก์ใช้กับสินค้าจำพวกยาและเครื่องหอม ส่วนจำเลยใช้กับสินค้าจำพวกเครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ เครื่องเล่นจานเสียง บันทึกเสียง ฯลฯ ทั้งโจทก์จำเลยต่างได้ใช้กันมาโดยสุจริตและนานมาแล้วจำเลยมิได้ลอกหรือเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ กรณีเป็นเรื่องโจทก์จำเลยต่างใช้เครื่องหมายการค้าของตนโดยสุจริตเป็นเวลาช้านานสำหรับสินค้าของตน ไม่ทำให้สาธารณชนเข้าใจผิดหรือหลงผิดว่าสินค้าจำเลยเป็นสินค้าโจทก์ หรือทำให้ความเป็นเจ้าของสับสนแต่อย่างใดจำเลยจึงมีสิทธิขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าดังกล่าวได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1595/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังเช็คต่อผู้ทรง
จำเลยที่ 1 ออกเช็คให้โจทก์เพื่อชำระหนี้ จำเลยที่ 3 เป็นผู้สลักหลัง เมื่อเช็คถึงกำหนดและโจทก์นำไปเข้าบัญชี แต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ผู้สั่งจ่ายและจำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นผู้สลักหลังต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 967 จำเลยที่3 จึงมีฐานะเป็นลูกหนี้ร่วมกับจำเลยที่ 1 มิได้มีฐานะเป็นผู้ค้ำประกัน จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 และ 948 มาบังคับไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1595/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผู้สลักหลังเช็คมีฐานะเป็นลูกหนี้ร่วมกับผู้สั่งจ่ายเมื่อเช็คไม่สามารถเรียกเก็บได้
จำเลยที่ 1 ออกเช็คให้โจทก์เพื่อชำระหนี้ จำเลยที่ 3 เป็นผู้สลักหลัง เมื่อเช็คถึงกำหนดและโจทก์นำไปเข้าบัญชี แต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ผู้สั่งจ่ายและจำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นผู้สลักหลังต้องร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 967 จำเลยที่ 3 จึงมีฐานะเป็นลูกหนี้ร่วมกับจำเลยที่ 1 มิได้มีฐานะเป็นผู้ค้ำประกัน จะนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 700 และ 948 มาบังคับไม่ได้(อ้างฎีกาที่ 1034/2507)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1538/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าที่มิได้ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียน ย่อมไม่อาจบังคับให้ทำสัญญาได้
การเช่าที่โจทก์จำเลยตกลงกันมีกำหนด 10 ปี เมื่อยังมิได้ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ โจทก์จะมาฟ้องบังคับให้จำเลยทำสัญญาเช่าห้องรายพิพาทมีกำหนด 10 ปี และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่ได้
การที่โจทก์จำเลยยื่นเรื่องราวขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเพื่อจะเช่าห้องรายพิพาทต่อกัน ยังถือไม่ได้ว่าได้ทำสัญญาเช่ากันเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
การที่โจทก์จำเลยยื่นเรื่องราวขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเพื่อจะเช่าห้องรายพิพาทต่อกัน ยังถือไม่ได้ว่าได้ทำสัญญาเช่ากันเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1538/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าที่มิได้ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียน สิทธิในการฟ้องบังคับสัญญาจึงไม่เกิด
การเช่าที่โจทก์จำเลยตกลงกันมีกำหนด 10 ปี เมื่อยังมิได้ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ โจทก์จะมาฟ้องบังคับให้จำเลยทำสัญญาเช่าห้องรายพิพาทมีกำหนด 10 ปี และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่ได้
การที่โจทก์จำเลยยื่นเรื่องราวขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเพื่อจะเช่าห้องรายพิพาทต่อกัน ยังถือไม่ได้ว่าได้ทำสัญญาเช่ากันเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
การที่โจทก์จำเลยยื่นเรื่องราวขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเพื่อจะเช่าห้องรายพิพาทต่อกัน ยังถือไม่ได้ว่าได้ทำสัญญาเช่ากันเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่