คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
โพยม เลขยานนท์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,126 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 832/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเช่าซื้อที่ดินร่วมกัน สิทธิในทรัพย์สิน และข้อจำกัดการฟ้องแทนบุตร
โจทก์จำเลยซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรสร่วมกันออกเงินเช่าซื้อที่ดินในนามจำเลยจนได้กรรมสิทธิ์ย่อมมีส่วนเป็นเจ้าของคนละครึ่ง
แม้โจทก์จะไม่มีหนังสือตั้งจำเลยเป็นตัวแทนเช่าซื้อที่ดิน (ซึ่งต้องทำเป็นหนังสือ) จำเลยก็มีหน้าที่ต้องคืนประโยชน์ให้โจทก์ซึ่งเป็นตัวการเมื่อโจทก์เรียกร้อง จำเลยจะยกเอาเหตุการณ์ตั้งตัวแทนไม่ได้ทำเป็นหนังสือขึ้นอ้างหาได้ไม่ (อ้างฎีกาที่ 262/2493)
หนังสือซึ่งไม่มีข้อความแสดงถึงการระงับข้อพิพาท ไม่อาจถือได้ว่าเป็นหลักฐานแห่งสัญญาประนีประนอมยอมความ ย่อมฟ้องร้องให้บังคับคดี (ในฐานะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ) ไม่ได้
บุตรนอกกฎหมายซึ่งบิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตรแล้ว จะฟ้องบิดาซึ่งเป็นผู้บุพพการีมิได้ เป็นคดีอุทลุมต้องห้าม แม้บุตรยังเป็นผู้เยาว์และมีผู้แทนโดยชอบธรรมผู้แทนโดยชอบธรรมก็ไม่มีอำนาจฟ้องแทนดุจเดียวกัน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 832/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเช่าซื้อที่ดินร่วมกัน แม้ไม่มีหลักฐานการตั้งตัวแทน และผลของเอกสารที่มิใช่สัญญาประนีประนอมยอมความ
โจทก์จำเลยซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรสร่วมกันออกเงินเช่าซื้อที่ดินในนามจำเลยจนได้กรรมสิทธิ์.ย่อมมีส่วนเป็นเจ้าของคนละครึ่ง.
แม้โจทก์จะไม่มีหนังสือตั้งจำเลยเป็นตัวแทนเช่าซื้อที่ดิน (ซึ่งต้องทำเป็นหนังสือ) จำเลยก็มีหน้าที่ต้องคืนประโยชน์ให้โจทก์ซึ่งเป็นตัวการเมื่อโจทก์เรียกร้อง. จำเลยจะยกเอาเหตุการตั้งตัวแทนไม่ได้ทำเป็นหนังสือขึ้นอ้างหาได้ไม่ (อ้างฎีกาที่ 262/2493).
หนังสือซึ่งไม่มีข้อความแสดงถึงการระงับข้อพิพาท ไม่อาจถือได้ว่าเป็นหลักฐานแห่งสัญญาประนีประนอมยอมความ. ย่อมฟ้องร้องให้บังคับคดี (ในฐานะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ)ไม่ได้.
บุตรนอกกฎหมายซึ่งบิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตรแล้ว. จะฟ้องบิดาซึ่งเป็นผู้บุพพการีมิได้. เป็นคดีอุทลุมต้องห้าม. แม้บุตรยังเป็นผู้เยาว์และมีผู้แทนโดยชอบธรรมผู้แทนโดยชอบธรรมก็ไม่มีอำนาจฟ้องแทนดุจเดียวกัน.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 832/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเช่าซื้อทรัพย์สินร่วมกัน สิทธิความเป็นเจ้าของ และผลของการตกลงที่ไม่เป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
โจทก์จำเลยซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรสร่วมกันออกเงินเช่าซื้อที่ดินในนามจำเลยจนได้กรรมสิทธิ์ย่อมมีส่วนเป็นเจ้าของคนละครึ่ง
แม้โจทก์จะไม่มีหนังสือตั้งจำเลยเป็นตัวแทนเช่าซื้อที่ดิน (ซึ่งต้องทำเป็นหนังสือ) จำเลยก็มีหน้าที่ต้องคืนประโยชน์ให้โจทก์ซึ่งเป็นตัวการเมื่อโจทก์เรียกร้อง จำเลยจะยกเอาเหตุการตั้งตัวแทนไม่ได้ทำเป็นหนังสือขึ้นอ้างหาได้ไม่ (อ้างฎีกาที่ 262/2493)
หนังสือซึ่งไม่มีข้อความแสดงถึงการระงับข้อพิพาท ไม่อาจถือได้ว่าเป็นหลักฐานแห่งสัญญาประนีประนอมยอมความย่อมฟ้องร้องให้บังคับคดี(ในฐานะเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ)ไม่ได้
บุตรนอกกฎหมายซึ่งบิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตรแล้วจะฟ้องบิดาซึ่งเป็นผู้บุพพการีมิได้เป็นคดีอุทลุมต้องห้ามแม้บุตรยังเป็นผู้เยาว์และมีผู้แทนโดยชอบธรรมผู้แทนโดยชอบธรรมก็ไม่มีอำนาจฟ้องแทนดุจเดียวกัน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 802/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแก้ไขจำนวนเงินที่ฟ้องเรียกร้อง แม้มีการสละประเด็นบางส่วน ศาลยังคงมีอำนาจวินิจฉัยได้ หากกระทบต่อมูลหนี้และอำนาจฟ้อง
แม้โจทก์จำเลยจะตั้งประเด็นให้ศาลวินิจฉัยโดยเฉพาะ และต่างแถลงว่าประเด็นอื่นหากมีขอสละก็ตาม ศาลย่อมมีอำนาจที่จะยกค่าภาคหลวงที่โจทก์คิดเกินขึ้นวินิจฉัยได้ เพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับมูลหนี้และอำนาจฟ้องในส่วนที่เรียกร้องเกินมา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 802/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจศาลในการพิจารณาหนี้ที่เกินกว่าที่คู่ความตกลง แม้มีการจำกัดประเด็นในการวินิจฉัย
แม้โจทก์จำเลยจะตั้งประเด็นให้ศาลวินิจฉัยโดยเฉพาะ และต่างแถลงว่าประเด็นอื่นหากมีขอสละก็ตาม. ศาลย่อมมีอำนาจที่จะยกค่าภาคหลวงที่โจทก์คิดเกินขึ้นวินิจฉัยได้.เพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับมูลหนี้และอำนาจฟ้องในส่วนที่เรียกร้องเกินมา.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 802/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจศาลในการแก้ไขจำนวนเงินที่ฟ้องร้อง แม้คู่ความสละประเด็นอื่น
แม้โจทก์จำเลยจะตั้งประเด็นให้ศาลวินิจฉัยโดยเฉพาะ และต่างแถลงว่าประเด็นอื่นหากมีขอสละก็ตาม ศาลย่อมมีอำนาจที่จะยกค่าภาคหลวงที่โจทก์คิดเกินขึ้นวินิจฉัยได้เพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับมูลหนี้และอำนาจฟ้องในส่วนที่เรียกร้องเกินมา

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 658-659/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัด: ศาลฎีกาตัดสินข้อจำกัดเมื่อมีการเลิกสัญญาและผิดนัดชำระหนี้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 655 กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นได้เป็นพิเศษ ทั้งนี้ แม้เมื่อรวมดอกเบี้ยทบต้นเข้าด้วยกันจะทำให้จำนวนดอกเบี้ยเกินร้อยละ15 ต่อปี ก็ไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.2475 มาตรา 3
ข้อตกลงของจำเลยที่ยอมให้โจทก์ซึ่งเป็นธนาคารพาณิชย์คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นรายเดือน โดยโจทก์เรียกดอกเบี้ยอยู่แล้วในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีนั้น เป็นข้อตกลงตามประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัด จึงใช้ได้ ไม่เป็นโมฆะ
เมื่อการคิดดอกเบี้ยทบต้นจะกระทำได้เพราะมีประเพณีการค้าเช่น ให้คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัด ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลืออันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัด ตามนัยแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856, 859 และลูกหนี้ผิดนัดแล้ว ซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีอีกไม่ได้ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นได้ต่อไปทั้งมาตรา 224 วรรคสองก็บัญญัติมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัด
ตามปกติการผิดนัดย่อมเกิดขึ้นทันทีที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามกำหนดเวลาในสัญญา แต่กรณีสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีเป็นข้อตกลงของคู่สัญญาที่จะให้มีสัญญาบัญชีเดินสะพัดคือ การเบิกเงินเกินบัญชีในบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของลูกหนี้ในธนาคารขึ้นอีกชั้นหนึ่งเมื่อมีการปฏิบัติตามสัญญาบัญชีเดินสะพัดกันแล้ว การชำระหนี้ย่อมจะต้องปฏิบัติตามวิธีการของสัญญาบัญชีเดินสะพัด คือ ให้กระทำเมื่อมีการหักทอนบัญชีและเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือนั้นแล้ว ฉะนั้น เมื่อครบกำหนดระยะเวลาที่ระบุไว้ในสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีแล้วคู่สัญญายังคงให้บัญชีเดินสะพัดเดินอยู่ต่อไป ก็เห็นได้ว่าคู่สัญญายังไม่ถือว่ามีการผิดนัดจนกว่าจะได้มีการหักทอนบัญชีและเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือแล้ว
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11-12/2511)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 658-659/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดและผลกระทบเมื่อมีการผิดนัดชำระหนี้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 655 กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นได้เป็นพิเศษ. ทั้งนี้ แม้เมื่อรวมดอกเบี้ยทบต้นเข้าด้วยกันจะทำให้จำนวนดอกเบี้ยเกินร้อยละ15 ต่อปี ก็ไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.2475 มาตรา 3.
ข้อตกลงของจำเลยที่ยอมให้โจทก์ซึ่งเป็นธนาคารพาณิชย์คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นรายเดือน โดยโจทก์เรียกดอกเบี้ยอยู่แล้วในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีนั้น. เป็นข้อตกลงตามประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัด จึงใช้ได้ ไม่เป็นโมฆะ.
เมื่อการคิดดอกเบี้ยทบต้นจะกระทำได้เพราะมีประเพณีการค้าเช่น ให้คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัด. ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลืออันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัด ตามนัยแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856,859. และลูกหนี้ผิดนัดแล้ว ซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีอีกไม่ได้.ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นได้ต่อไป.ทั้งมาตรา 224 วรรคสองก็บัญญัติมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัด.
ตามปกติการผิดนัดย่อมเกิดขึ้นทันทีที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามกำหนดเวลาในสัญญา. แต่กรณีสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีเป็นข้อตกลงของคู่สัญญาที่จะให้มีสัญญาบัญชีเดินสะพัดคือ การเบิกเงินเกินบัญชีในบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของลูกหนี้ในธนาคารขึ้นอีกชั้นหนึ่งเมื่อมีการปฏิบัติตามสัญญาบัญชีเดินสะพัดกันแล้ว. การชำระหนี้ย่อมจะต้องปฏิบัติตามวิธีการของสัญญาบัญชีเดินสะพัด คือ ให้กระทำเมื่อมีการหักทอนบัญชีและเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือนั้นแล้ว. ฉะนั้น เมื่อครบกำหนดระยะเวลาที่ระบุไว้ในสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีแล้วคู่สัญญายังคงให้บัญชีเดินสะพัดเดินอยู่ต่อไป ก็เห็นได้ว่าคู่สัญญายังไม่ถือว่ามีการผิดนัด.จนกว่าจะได้มีการหักทอนบัญชีและเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือแล้ว. (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11-12/2511).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 658-659/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัด: ข้อจำกัดหลังผิดนัดชำระหนี้ และการเลิกสัญญาระหว่างธนาคารกับลูกหนี้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 655 กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นได้เป็นพิเศษ ทั้งนี้ แม้เมื่อรวมดอกเบี้ยทบต้นเข้าด้วยกันจะทำให้จำนวนดอกเบี้ยเกินร้อยละ15 ต่อปี ก็ไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.2475 มาตรา 3
ข้อตกลงของจำเลยที่ยอมให้โจทก์ซึ่งเป็นธนาคารพาณิชย์คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นรายเดือน โดยโจทก์เรียกดอกเบี้ยอยู่แล้วในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีนั้นเป็นข้อตกลงตามประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัด จึงใช้ได้ ไม่เป็นโมฆะ
เมื่อการคิดดอกเบี้ยทบต้นจะกระทำได้เพราะมีประเพณีการค้าเช่น ให้คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัด ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลืออันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัด ตามนัยแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856,859และลูกหนี้ผิดนัดแล้ว ซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีอีกไม่ได้ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นได้ต่อไปทั้งมาตรา 224 วรรคสองก็บัญญัติมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัด
ตามปกติการผิดนัดย่อมเกิดขึ้นทันทีที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามกำหนดเวลาในสัญญา แต่กรณีสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีเป็นข้อตกลงของคู่สัญญาที่จะให้มีสัญญาบัญชีเดินสะพัดคือ การเบิกเงินเกินบัญชีในบัญชีเงินฝากกระแสรายวันของลูกหนี้ในธนาคารขึ้นอีกชั้นหนึ่งเมื่อมีการปฏิบัติตามสัญญาบัญชีเดินสะพัดกันแล้วการชำระหนี้ย่อมจะต้องปฏิบัติตามวิธีการของสัญญาบัญชีเดินสะพัด คือ ให้กระทำเมื่อมีการหักทอนบัญชีและเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือนั้นแล้วฉะนั้น เมื่อครบกำหนดระยะเวลาที่ระบุไว้ในสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีแล้วคู่สัญญายังคงให้บัญชีเดินสะพัดเดินอยู่ต่อไป ก็เห็นได้ว่าคู่สัญญายังไม่ถือว่ามีการผิดนัดจนกว่าจะได้มีการหักทอนบัญชีและเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือแล้ว
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11-12/2511)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 605/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดฐานยักยอกเงินของข้าราชการ: พิจารณาบทมาตรา 147, 151, และ 157
จำเลยเป็นเสมียนตราจังหวัดมีหน้าที่รับจ่ายและเก็บรักษาเงินของราชการส่วนจังหวัดและราชการส่วนอื่น ๆ โดยเจตนาทุจริตเบียดบังยักยอกเงินที่ตนรับไว้ในตำแหน่งหน้าที่เป็นประโยชน์ส่วนตน ย่อมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 ไม่ใช่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 151 และเมื่อเป็นความผิดตามมาตรา 147 แล้ว ก็ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 157 อีก
of 113