พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,126 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1629/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตการบังคับใช้ พ.ร.บ.ค้าของเก่า: ไม่ครอบคลุมผู้ค้าเร่
พระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า พ.ศ. 2474 มุ่งประสงค์ควบคุมการค้าของเก่าอันมีที่ทำการค้า มิได้มุ่งหมายถึงหาบเร่ซื้อของเก่าไปขายแก่ร้านค้าของเก่า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1602-1603/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์สินของบุคคลที่ไม่มีส่วนรู้เห็นในความผิด: ขัดต่อหลักกฎหมายและรัฐธรรมนูญ
บทกฎหมายใดก็ตาม ที่บัญญัติให้ริบทรัพย์ของบุคคลอื่นที่เขามิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำความผิด และทรัพย์นั้นไม่ใช่ทรัพย์ที่บุคคลทำหรือมีไว้เป็นความผิดแล้ว ย่อมขัดกับการลงโทษตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญาในระหว่างใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร ศาลตีความมาแล้วว่า บทบัญญัติเช่นนี้ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยใช้บังคับมิได้ (อ้างฎีกาที่ 225/2506)
พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2503 มาตรา 18 ที่บัญญัติให้เพิ่มความเป็นมาตรา 74 ทวิแห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 ซึ่งบัญญัติให้ริบเครื่องมือเครื่องใช้สัตว์พาหนะ ฯลฯ ซึ่งบุคคลใช้ในการกระทำความผิดหรือได้ใช้เป็นอุปกรณ์ให้ได้รับผลในการกระทำความผิด ฯลฯ ให้ริบเสียทั้งสิ้นไม่ว่าจะมีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษาหรือไม่นั้นย่อมถือหรือตีความได้ว่าไม่มีความมุ่งหมายที่จะลงโทษผู้ร้องผู้เป็นเจ้าของช้างรายพิพาทซึ่งมิใช่ทรัพย์ที่บุคคลทำหรือมีไว้เป็นความผิด และผู้ร้องมิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำความผิดของจำเลย
พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2503 มาตรา 18 ที่บัญญัติให้เพิ่มความเป็นมาตรา 74 ทวิแห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 ซึ่งบัญญัติให้ริบเครื่องมือเครื่องใช้สัตว์พาหนะ ฯลฯ ซึ่งบุคคลใช้ในการกระทำความผิดหรือได้ใช้เป็นอุปกรณ์ให้ได้รับผลในการกระทำความผิด ฯลฯ ให้ริบเสียทั้งสิ้นไม่ว่าจะมีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษาหรือไม่นั้นย่อมถือหรือตีความได้ว่าไม่มีความมุ่งหมายที่จะลงโทษผู้ร้องผู้เป็นเจ้าของช้างรายพิพาทซึ่งมิใช่ทรัพย์ที่บุคคลทำหรือมีไว้เป็นความผิด และผู้ร้องมิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำความผิดของจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1602-1603/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์สินของบุคคลที่มิได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิด ขัดต่อหลักกฎหมายอาญาและรัฐธรรมนูญ
บทกฎหมายใดก็ตามที่บัญญัติให้ริบทรัพย์ของบุคคลอื่นที่เขามิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำความผิด และทรัพย์นั้นไม่ใช่ทรัพย์ที่บุคคลทำหรือมีไว้เป็นความผิดแล้ว ย่อมขัดกับการลงโทษตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา ในระหว่างใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร ศาลตีความมาแล้วว่า บทบัญญัติเช่นนี้ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยใช้บังคับมิได้ (อ้างฎีกาที่ 225/2506)
พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2503 มาตรา 18 ที่บัญญัติให้เพิ่มความเป็นมาตรา 74 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 ซึ่งบัญญัติให้ริบเครื่องมือเครื่องใช้ สัตว์พาหนะ ฯลฯ ซึ่งบุคคลใช้ในการกระทำความผิดหรือได้ใช้เป็นอุปกรณ์ให้ได้รับผลในการกระทำความผิด ฯลฯ ให้ริบเสียทั้งสิ้นไม่ว่าจะมีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษาหรือไม่นั้น ย่อมถือหรือตีความได้ว่าไม่มีความมุ่งหมายที่จะลงโทษผู้ร้องผู้เป็นเจ้าของช้างรายพิพาทซึ่งมิใช่ทรัพย์ที่บุคคลทำหรือมีไว้เป็นความผิด และผู้ร้องมิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำความผิดของจำเลย
พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2503 มาตรา 18 ที่บัญญัติให้เพิ่มความเป็นมาตรา 74 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 ซึ่งบัญญัติให้ริบเครื่องมือเครื่องใช้ สัตว์พาหนะ ฯลฯ ซึ่งบุคคลใช้ในการกระทำความผิดหรือได้ใช้เป็นอุปกรณ์ให้ได้รับผลในการกระทำความผิด ฯลฯ ให้ริบเสียทั้งสิ้นไม่ว่าจะมีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษาหรือไม่นั้น ย่อมถือหรือตีความได้ว่าไม่มีความมุ่งหมายที่จะลงโทษผู้ร้องผู้เป็นเจ้าของช้างรายพิพาทซึ่งมิใช่ทรัพย์ที่บุคคลทำหรือมีไว้เป็นความผิด และผู้ร้องมิได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำความผิดของจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1601/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการพิสูจน์ข้อเท็จจริง: เหตุอันควรเชื่อและขอบเขตการวินิจฉัยของศาล
ศาลชั้นต้นฟังว่า "ฯลฯ ขณะจับก็ยังพบ (โจทก์) คาดเข็มขัดตำรวจและมีนาฬิกาข้อมือที่ตามวิทยุว่าถูกลักมาอยู่ด้วย ดังนี้ โจทก์ย่อมจะต้องถูกจับอยู่เองเป็นธรรมดา" ดังนี้ แม้นาฬิกาที่จับได้จากโจทก์เป็นยี่ห้อวิลน่าส่วนตามวิทยุสั่งจับนั้นเป็นยี่ห้อฮอนซ่าก็ตามก็เป็นเรื่องที่ศาลชั้นต้นเพียงแต่ฟังว่า จำเลยพบโจทก์มีนาฬิกาข้อมือตรงกับที่วิทยุว่านาฬิกาข้อมือเป็นของที่ถูกลัก อันเป็นข้อสังเกตเบื้องต้นประกอบข้อพิรุธอื่นๆ ของโจทก์ ซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยเชื่อว่าโจทก์เป็นพลตำรวจสำเริงซึ่งต้องหาว่าลักนาฬิกาข้อมือเท่านั้น ศาลชั้นต้นมิได้ฟังเลยไปถึงว่านาฬิกาที่โจทก์ใส่อยู่นั้นเป็นของร้าน อันเป็นของกลางที่จับได้จากโจทก์อย่างใดหาเป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวนไม่
จำเลยเข้าใจว่า คำสั่งของร้อยตำรวจเอกสุรพลผู้ทำการแทนผู้กำกับที่สั่งให้จำเลยไปจับกุมโจทก์นั้นเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย แม้วิทยุสั่งจับมิได้มีข้อความแสดงว่าได้ออกหมายจับแล้ว กรณีก็ต้องด้วยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 70 จำเลยไม่ต้องรับโทษ(อ้างฎีกาที่ 1135/2508)
ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า "ฯลฯ ในเรื่องสาเหตุจำเลยที่ 2 ก็สามารถนำนางสาวน้อยหรือแมวมาเบิกความแสดงความบริสุทธิ์ได้อีกว่า แท้จริงจำเลยกับนางสาวน้อยหรือแมวไม่ได้เคยรู้จักกันเลย ฯลฯ" ดังนี้ เมื่อนางสาวน้อยหรือแมวซึ่งจำเลยนำสืบเบิกความว่าไม่เคยรู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน คดีจึงมีคำพยานสนับสนุนให้ศาลชั้นต้นฟังว่านางสาวแมวไม่รู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน ไม่เป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวน
จำเลยเข้าใจว่า คำสั่งของร้อยตำรวจเอกสุรพลผู้ทำการแทนผู้กำกับที่สั่งให้จำเลยไปจับกุมโจทก์นั้นเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย แม้วิทยุสั่งจับมิได้มีข้อความแสดงว่าได้ออกหมายจับแล้ว กรณีก็ต้องด้วยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 70 จำเลยไม่ต้องรับโทษ(อ้างฎีกาที่ 1135/2508)
ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า "ฯลฯ ในเรื่องสาเหตุจำเลยที่ 2 ก็สามารถนำนางสาวน้อยหรือแมวมาเบิกความแสดงความบริสุทธิ์ได้อีกว่า แท้จริงจำเลยกับนางสาวน้อยหรือแมวไม่ได้เคยรู้จักกันเลย ฯลฯ" ดังนี้ เมื่อนางสาวน้อยหรือแมวซึ่งจำเลยนำสืบเบิกความว่าไม่เคยรู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน คดีจึงมีคำพยานสนับสนุนให้ศาลชั้นต้นฟังว่านางสาวแมวไม่รู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน ไม่เป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1601/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจับกุมและการพิสูจน์ข้อเท็จจริง: ศาลยืนตามคำพิพากษาเดิมเมื่อไม่มีการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวน
ศาลชั้นต้นฟังว่า "ฯลฯ ขณะจับก็ยังพบ(โจทก์)คาดเข็มขัดตำรวจและมีนาฬิกาข้อมือที่ตามวิทยุว่าถูกลักมาอยู่ด้วยดังนี้ โจทก์ย่อมจะต้องถูกจับอยู่เองเป็นธรรมดา" ดังนี้ แม้นาฬิกาที่จับได้จากโจทก์เป็นยี่ห้อวิลน่า ส่วนตามวิทยุสั่งจับนั้นเป็นยี่ห้อฮอนซ่าก็ตาม ก็เป็นเรื่องที่ศาลชั้นต้นเพียงแต่ฟังว่า จำเลยพบโจทก์มีนาฬิกาข้อมือตรงกับที่วิทยุว่านาฬิกาข้อมือเป็นของที่ถูกลัก อันเป็นข้อสังเกตเบื้องต้นประกอบข้อพิรุธอื่น ๆ ของโจทก์ ซึ่งเป็นเหตุให้จำเลยเชื่อว่าโจทก์เป็นพลตำรวจสำเริงซึ่งต้องหาว่าลักนาฬิกาข้อมือเท่านั้น ศาลชั้นต้นมิได้ฟังเลยไปถึงว่านาฬิกาที่โจทก์ใส่อยู่นั้นเป็นของร้าย อันเป็นของกลางที่จับได้จากโจทก์อย่างใด หาเป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวนไม่
จำเลยเข้าใจว่า คำสั่งของร้อยตำรวจเอกสุรพลผู้ทำการแทนผู้กำกับที่สั่งให้จำเลยไปจับกุมโจทก์นั้นเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย แม้วิทยุสั่งจับมิได้มีข้อความแสดงว่าได้ออกหมายจับแล้ว กรณีก็ต้องด้วยประมวลกฎหมายอาญามาตรา 70 จำเลยไม่ต้องรับโทษ(อ้างฎีกาที่ 1135/2508)
ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า " ฯลฯ ในเรื่องสาเหตุจำเลยที่ 2 ก็สามารถนำนางสาวน้อยหรือแมวมาเบิกความแสดงความบริสุทธิ์ได้อีกว่า แท้จริงจำเลยกับนางสาวน้อยหรือแมวไม่ได้เคยรู้จักกันเลย ฯลฯ " ดังนี้ เมื่อนางสาวน้อยหรือแมวซึ่งจำเลยนำสืบเบิกความว่าไม่เคยรู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน คดีจึงมีคำพยานสนับสนุนให้ศาลชั้นต้นฟังว่านางสาวแมวไม่รู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อนไม่เป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวน
จำเลยเข้าใจว่า คำสั่งของร้อยตำรวจเอกสุรพลผู้ทำการแทนผู้กำกับที่สั่งให้จำเลยไปจับกุมโจทก์นั้นเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย แม้วิทยุสั่งจับมิได้มีข้อความแสดงว่าได้ออกหมายจับแล้ว กรณีก็ต้องด้วยประมวลกฎหมายอาญามาตรา 70 จำเลยไม่ต้องรับโทษ(อ้างฎีกาที่ 1135/2508)
ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่า " ฯลฯ ในเรื่องสาเหตุจำเลยที่ 2 ก็สามารถนำนางสาวน้อยหรือแมวมาเบิกความแสดงความบริสุทธิ์ได้อีกว่า แท้จริงจำเลยกับนางสาวน้อยหรือแมวไม่ได้เคยรู้จักกันเลย ฯลฯ " ดังนี้ เมื่อนางสาวน้อยหรือแมวซึ่งจำเลยนำสืบเบิกความว่าไม่เคยรู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อน คดีจึงมีคำพยานสนับสนุนให้ศาลชั้นต้นฟังว่านางสาวแมวไม่รู้จักจำเลยที่ 2 มาก่อนไม่เป็นการฟังข้อเท็จจริงนอกสำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1558/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขุดค้นโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ โบราณวัตถุตกเป็นของแผ่นดิน แม้ไม่มีค่ามากก็ผิดตาม พ.ร.บ.โบราณสถาน
เทวรูปหินอ่อนรูปนารายณ์สี่กร เป็นของโบราณราคาแพง ฝังอยู่ใต้ดินบริเวณปราสาทโบราณ เป็นโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ จำเลยขุดได้และเบียดบังเอาเสีย จึงผิดพระราชบัญญัติโบราณสถาน ฯ พ.ศ. 2504 มาตรา 31
แต่เทวรูปนั้นไม่มีคุณค่าเป็นพิเศษ จึงไม่ใช่สังหาริมทรัพย์อันมีค่าตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 355
จำเลยขายเทวรูปนั้นไป เพียงเท่านี้ถือไม่ได้ว่าเป็นการทำการค้าโบราณวัตถุหรือศิลปะวัตถุตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน พ.ศ. 2504 มาตรา 19
เทวรูปนี้เป็นของแผ่นดินตามพระราชบัญญัติดังกล่าว มาตรา 24 แล้ว ศาลจึงไม่ต้องสั่งริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 อีก
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 26/2509)
แต่เทวรูปนั้นไม่มีคุณค่าเป็นพิเศษ จึงไม่ใช่สังหาริมทรัพย์อันมีค่าตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 355
จำเลยขายเทวรูปนั้นไป เพียงเท่านี้ถือไม่ได้ว่าเป็นการทำการค้าโบราณวัตถุหรือศิลปะวัตถุตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน พ.ศ. 2504 มาตรา 19
เทวรูปนี้เป็นของแผ่นดินตามพระราชบัญญัติดังกล่าว มาตรา 24 แล้ว ศาลจึงไม่ต้องสั่งริบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 อีก
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 26/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1558/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขุดพบโบราณวัตถุใต้ดิน การครอบครอง และการขาย แม้ไม่มีมูลค่าพิเศษ แต่ยังคงเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.โบราณสถานฯ
เทวรูปหินอ่อนรูปนารายณ์สี่กร เป็นของโบราณราคาแพง ฝังอยู่ใต้ดินบริเวณปราสาทโบราณ เป็นโบราณวัตถุและศิลปวัตถุจำเลยขุดได้และเบียดบังเอาเสีย จึงผิดพระราชบัญญัติโบราณสถานฯ พ.ศ.2504 มาตรา 31
แต่เทวรูปนั้นไม่มีคุณค่าเป็นพิเศษ จึงไม่ใช่สังหาริมทรัพย์อันมีค่าตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 355
จำเลยขายเทวรูปนั้นไป เพียงเท่านี้ถือไม่ได้ว่าเป็นการทำการค้าโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุตามพระราชบัญญัติโบราณสถานฯ พ.ศ.2504 มาตรา 19
เทวรูปนี้เป็นของแผ่นดินตามพระราชบัญญัติดังกล่าว มาตรา 24 แล้ว ศาลจึงไม่ต้องสั่งริบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 อีก(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 26/2509)
แต่เทวรูปนั้นไม่มีคุณค่าเป็นพิเศษ จึงไม่ใช่สังหาริมทรัพย์อันมีค่าตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 355
จำเลยขายเทวรูปนั้นไป เพียงเท่านี้ถือไม่ได้ว่าเป็นการทำการค้าโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุตามพระราชบัญญัติโบราณสถานฯ พ.ศ.2504 มาตรา 19
เทวรูปนี้เป็นของแผ่นดินตามพระราชบัญญัติดังกล่าว มาตรา 24 แล้ว ศาลจึงไม่ต้องสั่งริบตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 อีก(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 26/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1557/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าธรรมเนียมยึดทรัพย์ชั่วคราวก่อนพิพากษา: โจทก์ต้องชำระแม้ศาลยกเลิกการยึด
โจทก์ฟ้องและขอให้ยึด อายัดทรัพย์จำเลยชั่วคราวก่อนพิพากษา ศาลอนุญาต ต่อมาศาลสั่งให้ยกเลิกคำสั่งนี้ตามที่จำเลยร้องขอ ดังนี้ โจทก์ต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีตามตาราง 5 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เมื่อยึดทรัพย์สินซึ่งไม่ใช่ตัวเงินแล้ว ไม่มีการขายหรือจำหน่าย โจทก์ต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีร้อยละ 3 ครึ่งของราคาทรัพย์สินที่ยึดตามตาราง 5(3)
การที่ศาลอนุญาตให้ถอนหมายยึดตามวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาตามคำขอของจำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 261 นั้น เป็นเรื่องที่ศาลอนุญาตให้ถอนหมายยึดเท่านั้น ส่วนค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีซึ่งได้ดำเนินการยึดไปแล้วโจทก์ยังมีหน้าที่ต้องเสียอยู่
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 149 เมื่อโจทก์เป็นผู้ดำเนินกระบวนพิจารณาขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีไปทำการยึดทรัพย์สินของจำเลยแล้วไม่มีการขายหรือจำหน่าย ศาลย่อมมีอำนาจสั่งให้โจทก์เป็นผู้ชำระค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีตามตาราง 5 ได้
การที่ศาลอนุญาตให้ถอนหมายยึดตามวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาตามคำขอของจำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 261 นั้น เป็นเรื่องที่ศาลอนุญาตให้ถอนหมายยึดเท่านั้น ส่วนค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีซึ่งได้ดำเนินการยึดไปแล้วโจทก์ยังมีหน้าที่ต้องเสียอยู่
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 149 เมื่อโจทก์เป็นผู้ดำเนินกระบวนพิจารณาขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีไปทำการยึดทรัพย์สินของจำเลยแล้วไม่มีการขายหรือจำหน่าย ศาลย่อมมีอำนาจสั่งให้โจทก์เป็นผู้ชำระค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีตามตาราง 5 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1557/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าธรรมเนียมยึดทรัพย์ชั่วคราวก่อนพิพากษา: โจทก์ต้องชำระแม้ถอนหมายยึดแล้ว
โจทก์ฟ้องและขอให้ยึด อายัดทรัพย์จำเลยชั่วคราวก่อนพิพากษา ศาลอนุญาต ต่อมาศาลสั่งให้ยกเลิกคำสั่งนี้ตามที่จำเลยร้องขอ ดังนี้ โจทก์ต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีตามตาราง 5 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เมื่อยึดทรัพย์สินซึ่งไม่ใช่ตัวเงินแล้ว ไม่มีการขายหรือจำหน่าย โจทก์ต้องเสียค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีร้อยละ 3 ครึ่งของราคาทรัพย์สินที่ยึดตามตาราง 5(3)
การที่ศาลอนุญาตให้ถอนหมายยึดตามวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาตามคำขอของจำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 261 นั้น เป็นเรื่องที่ศาลอนุญาตให้ถอนหมายยึดเท่านั้น ส่วนค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีซึ่งได้ดำเนินการยึดไปแล้ว โจทก์ยังมีหน้าที่ต้องเสียอยู่
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 149 เมื่อโจทก์เป็นผู้ดำเนินกระบวนพิจารณาขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีไปทำการยึดทรัพย์สินของจำเลยแล้วไม่มีการขายหรือจำหน่าย ศาลย่อมมีอำนาจสั่งให้โจทก์เป็นผู้ชำระค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีตามตาราง 5 ได้
การที่ศาลอนุญาตให้ถอนหมายยึดตามวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาตามคำขอของจำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 261 นั้น เป็นเรื่องที่ศาลอนุญาตให้ถอนหมายยึดเท่านั้น ส่วนค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีซึ่งได้ดำเนินการยึดไปแล้ว โจทก์ยังมีหน้าที่ต้องเสียอยู่
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 149 เมื่อโจทก์เป็นผู้ดำเนินกระบวนพิจารณาขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีไปทำการยึดทรัพย์สินของจำเลยแล้วไม่มีการขายหรือจำหน่าย ศาลย่อมมีอำนาจสั่งให้โจทก์เป็นผู้ชำระค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีตามตาราง 5 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1532/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ดินชายตลิ่งเป็นสาธารณสมบัติ สิทธิครอบครองเป็นโมฆะ การขายฝากไม่สมบูรณ์ แม้ครอบครองอยู่ก็ขับไล่ไม่ได้
ที่ดินที่น้ำยังคงท่วมทุกปีในฤดูน้ำ ต้องถือว่าเป็นที่ชายตลิ่ง อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินประเภททรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน ผู้ใดหามีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองไม่ แม้โจทก์จะเอาที่ดินนี้ไปขายฝากกับจำเลยโดยมิได้ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ก็จะถือว่าเป็นการมอบให้จำเลยครอบครองแทนมิได้ ระหว่างโจทก์จำเลย เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายครอบครองอยู่ โจทก์ก็ขับไล่จำเลยไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2509)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2509)