พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,126 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1543/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเร่ขายถ่านไม่ถือเป็นการสะสมถ่านตามกฎหมายสาธารณสุข โจทก์ฟ้องไม่ชัดเจน
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยได้กระทำการขายถ่าน (ขายปลีก)โดยใช้รถเข็นบรรทุกถ่านไปขายตามสถานที่ต่างๆ เพื่อการค้า. เป็นการประกอบกิจการค้าเป็นที่น่ารังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพโดยไม่ได้รับอนุญาต. ขอให้ลงโทษตามพ.ร.บ.สาธารณสุข พ.ศ.2484 มาตรา 8,68. เทศบัญญัติเทศบาลนครกรุงเทพฯ เรื่องควบคุมการค้าเป็นที่น่ารังเกียจหรืออาจเป็นอันตรายแก่สุขภาพ(ฉบับที่ 3)2494 ข้อ 4(40). แต่บทกฎหมายที่โจทก์อ้างทั้งหมดรวมทั้งเทศบัญญัติที่อ้างข้อ 4(40) นั้นระบุถึง 'การสะสมถ่าน'. จึงไม่ตรงกับข้อเท็จจริงที่โจทก์บรรยายฟ้อง. จึงไม่เป็นความผิดเป็นข้อวินิจฉัยของศาลชั้นต้นเท่านั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1525/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาทุนทรัพย์ของโจทก์แต่ละคนในคดีที่ฟ้องร่วมกัน และสิทธิในการนำสืบพยานของจำเลย
คดีที่โจทก์แต่ละคนต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 โจทก์แต่ละคนชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลโดยลำพัง ฉะนั้น แม้โจทก์จะฟ้องมาในคดีเดียวกัน ก็ต้องพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีสำหรับโจทก์แต่ละคนแยกกัน เมื่อปรากฏว่าราคาทรัพย์สินที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาทและศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น โจทก์แต่ละคนจึงฎีกาในข้อเท็จจริงไม่ได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2511)
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1525/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทุนทรัพย์คดีแพ่งแต่ละโจทก์, ข้อจำกัดการฎีกา, การนำสืบพยานจำเลย
คดีที่โจทก์แต่ละคนต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 โจทก์แต่ละคนชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลโดยลำพัง ฉะนั้น แม้โจทก์จะฟ้องมาในคดีเดียวกัน ก็ต้องพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีสำหรับโจทก์แต่ละคนแยกกัน เมื่อปรากฏว่าราคาทรัพย์สินที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น โจทก์แต่ละคนจึงฎีกาในข้อเท็จจริงไม่ได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2511)
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิมิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิมิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1525/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีแต่ละโจทก์แยกกัน และการไม่มีผลเสียจากการไม่เบิกความของจำเลย
คดีที่โจทก์แต่ละคนต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55. โจทก์แต่ละคนชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลโดยลำพัง. ฉะนั้น แม้โจทก์จะฟ้องมาในคดีเดียวกัน ก็ต้องพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีสำหรับโจทก์แต่ละคนแยกกัน. เมื่อปรากฏว่าราคาทรัพย์สินที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาท.และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น. โจทก์แต่ละคนจึงฎีกาในข้อเท็จจริงไม่ได้.(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2511).
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน. ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ.มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบ.หรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้.
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน. ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ.มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบ.หรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1522/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดขวางอำนาจศาลโดยไม่ส่งเอกสาร ไม่ทำให้โจทก์เสียหายโดยตรง จึงไม่เป็นผู้เสียหาย
โจทก์นำหมายศาลที่สั่งเรียกเอกสารซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยส่งให้จำเลยที่ศาล จำเลยรับหมายแล้วกล่าวว่า เป็นเรื่องบ้า ๆ บอ ๆ แล้วทิ้งหมายลงบนพื้นทางเดิน ต่อมาโจทก์ได้ให้พนักงานศาลนำส่งหมายเรียกเอกสารเหล่านั้นแก่จำเลยอีก จำเลยจงใจขัดอำนาจศาล ไม่ยอมส่งเอกสารต่อศาล ถือว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยเพราะโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายตามนัยแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 ข้อ 4 ผู้เสียหายคือบุคคลผู้ได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทำผิดฐานใดฐานหนึ่ง กรณีนี้เป็นเพียงเรื่องที่งดเว้นไม่ยอมกระทำการอย่างหนึ่งขึ้นเท่านั้น สิทธิหน้าที่ของโจทก์จำเลยไม่ได้มีต่อกันโดยตรงที่จะต้องให้เอกสารนั้นมาดู การไม่ยอมส่งของจำเลยจึงไม่ใช่เป็นการงดเว้นที่ล่วงสิทธิหน้าที่ของโจทก์ โจทก์ไม่ใช่เป็นผู้เสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1522/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดขวางการส่งเอกสารตามหมายศาล ไม่ทำให้โจทก์เป็นผู้เสียหายที่จะฟ้องอาญาได้
โจทก์นำหมายศาลที่สั่งเรียกเอกสารซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยส่งให้จำเลยที่ศาล. จำเลยรับหมายแล้วกล่าวว่า เป็นเรื่องบ้าๆบอๆ แล้วทิ้งหมายลงบนพื้นทางเดิน. ต่อมาโจทก์ได้ให้พนักงานศาลนำส่งหมายเรียกเอกสารเหล่านั้นแก่จำเลยอีก. จำเลยจงใจขัดอำนาจศาล. ไม่ยอมส่งเอกสารต่อศาล. ถือว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ลงโทษจำเลย.เพราะโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายตามนัยแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 ข้อ 4.ผู้เสียหายคือบุคคลผู้ได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทำผิดฐานใดฐานหนึ่ง. กรณีนี้เป็นเพียงเรื่องที่งดเว้นไม่ยอมกระทำการอย่างหนึ่งขึ้นเท่านั้น. สิทธิหน้าที่ของโจทก์จำเลยไม่ได้มีต่อกันโดยตรงที่จะต้องให้เอกสารนั้นมาดู. การไม่ยอมส่งของจำเลยจึงไม่ใช่เป็นการงดเว้นที่ล่วงสิทธิหน้าที่ของโจทก์. โจทก์ไม่ใช่เป็นผู้เสียหาย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1522/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดขวางอำนาจศาลและการไม่เป็นผู้เสียหายตามกฎหมายอาญา
โจทก์นำหมายศาลที่สั่งเรียกเอกสารซึ่งอยู่ในครอบครองของจำเลยส่งให้จำเลยที่ศาล จำเลยรับหมายแล้วกล่าวว่า เป็นเรื่องบ้าๆบอๆ แล้วทิ้งหมายลงบนพื้นทางเดิน ต่อมาโจทก์ได้ให้พนักงานศาลนำส่งหมายเรียกเอกสารเหล่านั้นแก่จำเลยอีก จำเลยจงใจขัดอำนาจศาล ไม่ยอมส่งเอกสารต่อศาล ถือว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยเพราะโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายตามนัยแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 ข้อ 4ผู้เสียหายคือบุคคลผู้ได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทำผิดฐานใดฐานหนึ่ง กรณีนี้เป็นเพียงเรื่องที่งดเว้นไม่ยอมกระทำการอย่างหนึ่งขึ้นเท่านั้น สิทธิหน้าที่ของโจทก์จำเลยไม่ได้มีต่อกันโดยตรงที่จะต้องให้เอกสารนั้นมาดู การไม่ยอมส่งของจำเลยจึงไม่ใช่เป็นการงดเว้นที่ล่วงสิทธิหน้าที่ของโจทก์ โจทก์ไม่ใช่เป็นผู้เสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1505/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความ: หลักฐานลายมือชื่อฝ่ายรับผิดเพียงพอต่อการบังคับคดี แม้ผู้ฟ้องไม่ลงชื่อ
สัญญาประนีประนอมยอมความนั้น กฎหมายมิได้บังคับให้ต้องทำตามแบบ เพียงแต่บัญญัติว่า ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดหรือลายมือชื่อตัวแทนของฝ่ายนั้นเป็นสำคัญ จะฟ้องร้องให้บังคับคดีมิได้
โจทก์และจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน แต่แยกลงลายมือชื่อในเอกสารคนละฉบับ โจทก์ย่อมอาศัยเอกสารที่จำเลยลงลายมือชื่อฟ้องร้องบังคับจำเลยได้ แม้โจทก์จะมิได้ลงลายมือชื่อร่วมในเอกสารนั้นด้วย
ปัญหาข้อกฎหมายซึ่งมิได้ยกขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ทั้งไม่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนต้องห้ามมิให้ฎีกา แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย
โจทก์และจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน แต่แยกลงลายมือชื่อในเอกสารคนละฉบับ โจทก์ย่อมอาศัยเอกสารที่จำเลยลงลายมือชื่อฟ้องร้องบังคับจำเลยได้ แม้โจทก์จะมิได้ลงลายมือชื่อร่วมในเอกสารนั้นด้วย
ปัญหาข้อกฎหมายซึ่งมิได้ยกขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ทั้งไม่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนต้องห้ามมิให้ฎีกา แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1505/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความ: หลักฐานลายมือชื่อฝ่ายจำเลยเพียงพอ แม้โจทก์มิได้ลงลายมือชื่อร่วม
สัญญาประนีประนอมยอมความนั้น กฎหมายมิได้บังคับให้ต้องทำตามแบบ เพียงแต่บัญญัติว่า ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดหรือลายมือชื่อตัวแทนของฝ่ายนั้นเป็นสำคัญ จะฟ้องร้องให้บังคับคดีมิได้
โจทก์และจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน แต่แยกลงลายมือชื่อในเอกสารคนละฉบับ โจทก์ย่อมอาศัยเอกสารที่จำเลยลงลายมือชื่อฟ้องร้องบังคับจำเลยได้ แม้โจทก์จะมิได้ลงลายมือชื่อร่วมในเอกสารนั้นด้วย
ปัญหาข้อกฎหมายซึ่งมิได้ยกขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ทั้งไม่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนต้องห้ามมิให้ฎีกา แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย
โจทก์และจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน แต่แยกลงลายมือชื่อในเอกสารคนละฉบับ โจทก์ย่อมอาศัยเอกสารที่จำเลยลงลายมือชื่อฟ้องร้องบังคับจำเลยได้ แม้โจทก์จะมิได้ลงลายมือชื่อร่วมในเอกสารนั้นด้วย
ปัญหาข้อกฎหมายซึ่งมิได้ยกขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ทั้งไม่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนต้องห้ามมิให้ฎีกา แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1505/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความ: หลักฐานลายมือชื่อฝ่ายรับผิดเพียงพอฟ้องบังคับได้ แม้คู่สัญญามิได้ลงลายมือชื่อร่วมกัน
สัญญาประนีประนอมยอมความนั้น กฎหมายมิได้บังคับให้ต้องทำตามแบบ. เพียงแต่บัญญัติว่า ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดหรือลายมือชื่อตัวแทนของฝ่ายนั้นเป็นสำคัญ. จะฟ้องร้องให้บังคับคดีมิได้.
โจทก์และจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน แต่แยกลงลายมือชื่อในเอกสารคนละฉบับ. โจทก์ย่อมอาศัยเอกสารที่จำเลยลงลายมือชื่อฟ้องร้องบังคับจำเลยได้. แม้โจทก์จะมิได้ลงลายมือชื่อร่วมในเอกสารนั้นด้วย.
ปัญหาข้อกฎหมายซึ่งมิได้ยกขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์. ทั้งไม่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน.ต้องห้ามมิให้ฎีกา. แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา.ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย.
โจทก์และจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน แต่แยกลงลายมือชื่อในเอกสารคนละฉบับ. โจทก์ย่อมอาศัยเอกสารที่จำเลยลงลายมือชื่อฟ้องร้องบังคับจำเลยได้. แม้โจทก์จะมิได้ลงลายมือชื่อร่วมในเอกสารนั้นด้วย.
ปัญหาข้อกฎหมายซึ่งมิได้ยกขึ้นกล่าวในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์. ทั้งไม่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน.ต้องห้ามมิให้ฎีกา. แม้ศาลชั้นต้นสั่งรับฎีกามา.ศาลฎีกาก็ไม่รับวินิจฉัย.