พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,126 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1160/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาสละการครอบครองที่ดิน: สัญญาซื้อขาย/ขายฝากโมฆะ แต่แสดงเจตนาของคู่สัญญาได้
จำเลยขายนาพิพาทให้โจทก์โดยทำหนังสือกันเอง. มิได้จดทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย. แม้สัญญาดังกล่าวเป็นโมฆะ แต่ก็ยังมีผลเป็นการแสดงถึงพฤติการณ์ของโจทก์จำเลยเกี่ยวกับนาพิพาทซึ่งไม่มีหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน. ว่ามีเจตนาต่อกันอย่างไร. หนังสือสัญญานี้ในตอนต้นมีข้อความว่าจำเลยขายนาพิพาทให้โจทก์. และได้รับชำระราคาจากโจทก์เป็นการถูกต้องแล้ว. แต่ในตอนท้ายกล่าวว่า'ให้ผู้ขายตรึกตรองและตกลงปลงใจพิจารณาอยู่ภายใน 10วัน นับตั้งแต่วันทำหนังสือนี้เป็นต้นไป. ถ้าพ้นจากภายใน 10 วันแล้ว ที่ดินนาดังกล่าวแล้วให้นายบุ่งกลมเกลียว (โจทก์) ครอบครองต่อไป'. ฉะนั้น ถึงหากจำเลยได้มอบที่นาให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันทำสัญญานั้น. ก็ไม่พอฟังว่าจำเลยสละการครอบครองให้แก่โจทก์ไปในทันใดนั้นแล้ว. เพราะยังอยู่ในระหว่างที่จำเลยจะตัดสินใจต่อไป. นอกจากนี้ จำเลยได้ให้การต่อสู้คดีว่าต่อจากวันขายฝาก 8 วัน. จำเลยได้นำเงินไปขอไถ่ แต่โจทก์ยังไม่รับเงิน. ให้จำเลยเอาไว้เป็นเงินยืมจากโจทก์.โดยโจทก์ขอทำนาพิพาทต่างดอกเบี้ยไปก่อน. เป็นการโต้เถียงว่าโจทก์เพียงแต่เป็นผู้ยึดถือครอบครองนาพิพาทแทนจำเลยอยู่ต่อมา. เพราะจำเลยได้จัดการไถ่ภายในกำหนด 10 วัน.และโจทก์จำเลยตกลงกันใหม่ เพื่อให้โจทก์ทำนาต่างดอกเบี้ยเท่านั้น. ซึ่งไม่ใช่เป็นการครอบครองเป็นของโจทก์เอง. ฉะนั้น คดีจะต้องให้คู่ความสืบพยานเพื่อพิจารณาข้อเท็จจริงต่อไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1160/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาการครอบครองที่ดิน: สัญญาซื้อขายที่ยังไม่สมบูรณ์และการพิสูจน์เจตนาสละการครอบครอง
จำเลยขายนาพิพาทให้โจทก์โดยทำหนังสือกันเอง มิได้จดทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย แม้สัญญาดังกล่าวเป็นโมฆะ แต่ก็ยังมีผลเป็นการแสดงถึงพฤติการณ์ของโจทก์จำเลยเกี่ยวกับนาพิพาทซึ่งไม่มีหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน ว่ามีเจตนาต่อกันอย่างไร หนังสือสัญญานี้ในตอนต้นมีข้อความว่าจำเลยขายนาพิพาทให้โจทก์ และได้รับชำระราคาจากโจทก์เป็นการถูกต้องแล้ว แต่ในตอนท้ายกล่าวว่า"ให้ผู้ขายตรึกตรองและตกลงปลงใจพิจารณาอยู่ภายใน 10วัน นับตั้งแต่วันทำหนังสือนี้เป็นต้นไป ถ้าพ้นจากภายใน 10 วันแล้ว ที่ดินนาดังกล่าวแล้วให้นายบุ่ง กลมเกลียว (โจทก์) ครอบครองต่อไป" ฉะนั้น ถึงหากจำเลยได้มอบที่นาให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันทำสัญญานั้น ก็ไม่พอฟังว่าจำเลยสละการครอบครองให้แก่โจทก์ไปในทันใดนั้นแล้ว เพราะยังอยู่ในระหว่างที่จำเลยจะตัดสินใจต่อไป นอกจากนี้ จำเลยได้ให้การต่อสู้คดีว่าต่อจากวันขายฝาก 8 วัน จำเลยได้นำเงินไปขอไถ่ แต่โจทก์ยังไม่รับเงิน ให้จำเลยเอาไว้เป็นเงินยืมจากโจทก์โดยโจทก์ขอทำนาพิพาทต่างดอกเบี้ยไปก่อน เป็นการโต้เถียงว่าโจทก์เพียงแต่เป็นผู้ยึดถือครอบครองนาพิพาทแทนจำเลยอยู่ต่อมา เพราะจำเลยได้จัดการไถ่ภายในกำหนด 10 วันและโจทก์จำเลยตกลงกันใหม่ เพื่อให้โจทก์ทำนาต่างดอกเบี้ยเท่านั้น ซึ่งไม่ใช่เป็นการครอบครองเป็นของโจทก์เอง ฉะนั้น คดีจะต้องให้คู่ความสืบพยานเพื่อพิจารณาข้อเท็จจริงต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1160/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองที่ดินพิพาทหลังสัญญาซื้อขาย/ขายฝากเป็นโมฆะ: จำเลยยังมิได้สละการครอบครองทันที ต้องสืบพยาน
จำเลยขายนาพิพาทให้โจทก์โดยทำหนังสือกันเอง มิได้จดทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย แม้สัญญาดังกล่าวเป็นโมฆะ แต่ก็ยังมีผลเป็นการแสดงถึงพฤติการณ์ของโจทก์จำเลยเกี่ยวกับนาพิพาทซึ่งไม่มีหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน ว่ามีเจตนาต่อกันอย่างไร หนังสือสัญญานี้ในตอนต้นมีข้อความว่าจำเลยขายนาพิพาทให้โจทก์ และได้รับชำระราคาจากโจทก์เป็นการถูกต้องแล้ว แต่ในตอนท้ายกล่าวว่า "ให้ผู้ขายตรึกตรองและตกลงปลงใจพิจารณาอยู่ภายใน 10 วัน นับตั้งแต่วันทำหนังสือนี้เป็นต้นไป ถ้าพ้นจากภายใน 10 วันแล้ว ที่ดินนาดังกล่าวแล้ว ให้นายบุ่ง กลมเกลียว (โจทก์) ครอบครองต่อไป" ฉะนั้น ถึงหากจำเลยได้มอบที่นาให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันทำสัญญานั้น ก็ไม่พอฟังว่าจำเลยสละการครอบครองให้แก่โจทก์ไปในทันใดนั้นแล้ว เพราะยังอยู่ในระหว่างที่จำเลยจะตัดสินใจต่อไป นอกจากนี้ จำเลยได้ให้การต่อสู้ว่าคดีว่าต่อจากวันขายฝาก 8 วัน จำเลยได้นำเงินไปขอไถ่ แต่โจทก์ยังไม่รับเงิน ให้จำเลยเอาไว้เป็นเงินยืมจากโจทก์ โดยโจทก์ขอนำนาพิพาทต่างดอกเบี้ยไปก่อน เป็นการโต้เถียงว่าโจทก์เพียงแต่เป็นผู้ยึดถือครอบครองนาพิพาทแทนจำเลยอยู่ต่อมา เพราะจำเลยได้จัดการไถ่ภายในกำหนด 10 วัน และโจทก์จำเลยตกลงกันใหม่ เพื่อให้โจทก์ทำนาต่างดอกเบี้ยเท่านั้น ซึ่งไม่ใช่เป็นการครอบครองเป็นของโจทก์เอง ฉะนั้น คดีจะต้องให้คู่ความสืบพยานเพื่อพิจารณาข้อเท็จจริงต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1156/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับสภาพหนี้หลังเจ้ามรดกเสียชีวิต ส่งผลต่ออายุความสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้
ทายาทของลูกหนี้ชำระดอกเบี้ยให้แก่เจ้าหนี้ภายในกำหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่ลูกหนี้ตาย ถือได้ว่าเป็นการรับสภาพนี้
เมื่อมีการรับสภาพหนี้ อายุความสิทธิเรียกร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งมิให้เจ้าหนี้ฟ้องเมื่อพ้น 1 ปีนับแต่ความตายของเจ้ามรดกก็สะดุดหยุดลง อายุความสำหรับสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้จึงต้องตั้งต้นนับใหม่ตามอายุความแห่งมูลหนี้ หากเป็นมูลหนี้เงินกู้ก็มีอายุความ 10 ปี
(อ้างฎีกาที่ 1887/2506)
เมื่อมีการรับสภาพหนี้ อายุความสิทธิเรียกร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งมิให้เจ้าหนี้ฟ้องเมื่อพ้น 1 ปีนับแต่ความตายของเจ้ามรดกก็สะดุดหยุดลง อายุความสำหรับสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้จึงต้องตั้งต้นนับใหม่ตามอายุความแห่งมูลหนี้ หากเป็นมูลหนี้เงินกู้ก็มีอายุความ 10 ปี
(อ้างฎีกาที่ 1887/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1156/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับสภาพหนี้หลังเจ้ามรดกเสียชีวิต และผลกระทบต่ออายุความของหนี้เงินกู้
ทายาทของลูกหนี้ชำระดอกเบี้ยให้แก่เจ้าหนี้ภายในกำหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่ลูกหนี้ตาย ถือได้ว่าเป็นการรับสภาพหนี้
เมื่อมีการรับสภาพหนี้ อายุความสิทธิเรียกร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งมิให้เจ้าหนี้ฟ้องเมื่อพ้น 1 ปีนับแต่ความตายของเจ้ามรดกก็สดุดหยุดลง อายุความสำหรับสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้จึงต้องตั้งต้นนับใหม่ตามอายุความแห่งมูลหนี้หากเป็นมูลหนี้เงินกู้ก็มีอายุความ 10 ปี (อ้างฎีกาที่ 1887/2506)
เมื่อมีการรับสภาพหนี้ อายุความสิทธิเรียกร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งมิให้เจ้าหนี้ฟ้องเมื่อพ้น 1 ปีนับแต่ความตายของเจ้ามรดกก็สดุดหยุดลง อายุความสำหรับสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้จึงต้องตั้งต้นนับใหม่ตามอายุความแห่งมูลหนี้หากเป็นมูลหนี้เงินกู้ก็มีอายุความ 10 ปี (อ้างฎีกาที่ 1887/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1156/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับสภาพหนี้หลังเจ้ามรดกเสียชีวิต ส่งผลต่ออายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ทายาทของลูกหนี้ชำระดอกเบี้ยให้แก่เจ้าหนี้ภายในกำหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่ลูกหนี้ตาย. ถือได้ว่าเป็นการรับสภาพหนี้.
เมื่อมีการรับสภาพหนี้ อายุความสิทธิเรียกร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งมิให้เจ้าหนี้ฟ้องเมื่อพ้น 1 ปีนับแต่ความตายของเจ้ามรดกก็สดุดหยุดลง. อายุความสำหรับสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้จึงต้องตั้งต้นนับใหม่ตามอายุความแห่งมูลหนี้หากเป็นมูลหนี้เงินกู้ก็มีอายุความ 10 ปี. (อ้างฎีกาที่ 1887/2506).
เมื่อมีการรับสภาพหนี้ อายุความสิทธิเรียกร้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 ซึ่งมิให้เจ้าหนี้ฟ้องเมื่อพ้น 1 ปีนับแต่ความตายของเจ้ามรดกก็สดุดหยุดลง. อายุความสำหรับสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้จึงต้องตั้งต้นนับใหม่ตามอายุความแห่งมูลหนี้หากเป็นมูลหนี้เงินกู้ก็มีอายุความ 10 ปี. (อ้างฎีกาที่ 1887/2506).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1082/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันเกินสมควรแก่เหตุกับบันดาลโทสะ: องค์ประกอบความผิดต่างกัน
การกระทำการป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ กับการกระทำโดยบันดาลโทสะเป็นการกระทำที่มีองค์ประกอบความผิดต่างกัน.กล่าวคือ หากเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วก็ไม่เข้าองค์ประกอบของอีกอย่างหนึ่ง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1082/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ กับบันดาลโทสะ: องค์ประกอบความผิดที่แตกต่างกัน
การกระทำการป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ กับการกระทำโดยบันดาลโทสะเป็นการกระทำที่มีองค์ประกอบความผิดต่างกันกล่าวคือ หากเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วก็ไม่เข้าองค์ประกอบของอีกอย่างหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1082/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันเกินสมควรแก่เหตุและการกระทำโดยบันดาลโทสะเป็นเหตุต่างกัน
การกระทำการป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ กับการกระทำโดยบันดาลโทสะเป็นการกระทำที่มีองค์ประกอบความผิดต่างกัน กล่าวคือ หากเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วก็ไม่เข้าองค์ประกอบของอีกอย่างหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1081/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบรรยายฟ้องความผิดฐานลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ และวิ่งราวทรัพย์ ศาลจำกัดการลงโทษตามฟ้อง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยลักทรัพย์โดยขู่เข็ญจะกระทำร้ายเพื่อให้เจ้าทรัพย์ส่งทรัพย์ให้ มิได้บรรยายว่าจำเลยฉกฉวยพาหนีไปต่อหน้าอันเป็นองค์ประกอบความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยลักทรัพย์ โดยมิได้ใช้กำลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญจะใช้กำลังประทุษร้าย หากแต่ได้ลักทรัพย์โดยฉกฉวยทรัพย์วิ่งหนีไปต่อหน้า อันเข้าลักษณะเป็นความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ ดังนี้ เป็นเรื่องที่โจทก์ไม่ประสงค์ให้ลงโทษจำเลยฐานวิ่งราวทรัพย์ ความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์เป็นความผิดฐานลักทรัพย์ซึ่งมีลักษณะพิเศษไปจากการลักทรัพย์ธรรมดา เมื่อโจทก์ไม่บรรยายฟ้องในความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ คดีจึงคงลงโทษจำเลยได้ในฐานลักทรัพย์เท่านั้น