พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,126 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 941/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เครื่องหมายการค้า: การใช้ชื่อยาเป็นส่วนผสม ไม่เป็นการละเมิด
บทบัญญัติมาตรา 272(1) เป็นบทบังคับในเรื่องเครื่องหมายของสินค้าอันเป็นที่สังเกตว่าเป็นสินค้าของใครเท่านั้น มิใช่ห้ามการผลิตสินค้าโดยใช้วัตถุในการผลิตหรือวิธีการผลิตเหมือนกับของผู้อื่น เช่นการปรุงยาโดยใช้ส่วนผสมซึ่งมีตัวยาบางอย่างเหมือนกันหรือใช้ตำรับเดียวกันอันเป็นสูตรหรือวิธีการผลิต ซึ่งยังไม่มีบทบัญญัติในกฎหมายไทยก่อตั้งสิทธิประเภทนี้และให้ความคุ้มครองไว้ การใช้ชื่อหรือข้อความในการประกอบการค้าตามมาตรา 272(1)จึงไม่แปลไปถึงการใช้ชื่อหรือข้อความนั้นในสูตรหรือวิธีการผลิตด้วย. ฉะนั้น แม้ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยนำชื่อยาของโจทก์ร่วม ซึ่งจะเป็นชื่อเฉพาะหรือไม่ก็ตามมาแสดงว่าจำเลยได้เอายาของโจทก์ร่วมทำเป็นส่วนผสมในการปรุงยาของจำเลย ก็ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 272(1) ดังกล่าว เพราะเป็นการแสดงถึงส่วนผสมอันเป็นสูตรหรือวิธีการผลิตเท่านั้น ทั้งการกระทำดังว่านี้ยังแสดงอยู่ว่ายานั้นเป็นยาที่จำเลยปรุงขึ้น และถึงแม้ว่าจะทำให้เข้าใจไปได้ว่ายาของจำเลยมีคุณภาพและมาตรฐานเหมือนยาของโจทก์ร่วมก็ไม่เป็นการแสดงว่าเป็นสินค้าของโจทก์ร่วมอยู่นั่นเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 940/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอเข้าเป็นจำเลยร่วมที่ไม่สอดคล้องกับลักษณะข้ออ้างและผลของการยอมความ
คำร้องสอดกล่าวว่า ขอเข้าเป็นจำเลยร่วมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(1). ซึ่งคำขอกับนัยที่อ้างไม่ตรงกัน. กล่าวคือ การขอเข้าเป็นจำเลยร่วมย่อมเป็นไปตามมาตรา 57(2) เท่านั้น. แต่ลักษณะข้ออ้างของผู้ร้องสอดได้อ้างเข้ามาในทางว่า ตนเองมีสิทธิที่จะบังคับเอากับทรัพย์รายพิพาทได้โดยโจทก์และจำเลยไม่มีสิทธิดีกว่าอย่างไร. การอ้างเข้ามาจึงมีลักษณะเข้าตามมาตรา57(1) ซึ่งมิใช่เป็นบทบัญญัติเรื่องการขอเข้าเป็นจำเลยร่วม. เมื่อคำขอกับนัยที่อ้างไม่ตรงกันอยู่. หากจะเห็นว่าความประสงค์อันแท้จริงของผู้ร้องก็คือ จะขอเข้าบังคับเอาตามสิทธิของตนดังที่มีอยู่โดยอาศัยความในมาตรา 57(1)นั้นเองแล้ว. การที่จะรับให้ผู้ร้องสอดเข้ามาในฐานนี้ได้ก็จำต้องมีโจทก์จำเลยเดิมว่าคดีกันต่อไป และตกอยู่ในฐานะเป็นจำเลยผู้ร้องสอดไปทั้งคู่. แต่เมื่อโจทก์จำเลยเดิมได้ยอมความเสร็จเรื่องกันไปแล้ว. จึงหมดกรณีที่ผู้ร้องสอดจะอาศัยร้องสอดเข้าไปในฐานะนี้ได้เสียแล้ว.เป็นเรื่องของผู้ร้องสอดที่จะดำเนินคดีของตนในทางอื่นต่อไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 940/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอเข้าเป็นจำเลยร่วมที่ไม่ตรงกับลักษณะข้ออ้าง และผลของการยอมความ
คำร้องสอดกล่าวว่า ขอเข้าเป็นจำเลยร่วมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(1) ซึ่งคำขอกับนัยที่อ้างไม่ตรงกัน กล่าวคือ การขอเข้าเป็นจำเลยร่วมย่อมเป็นไปตามมาตรา 57(2) เท่านั้นแต่ลักษณะข้ออ้างของผู้ร้องสอดได้อ้างเข้ามาในทางว่า ตนเองมีสิทธิที่จะบังคับเอากับทรัพย์รายพิพาทได้โดยโจทก์และจำเลยไม่มีสิทธิดีกว่าอย่างไร การอ้างเข้ามาจึงมีลักษณะเข้าตามมาตรา 57(1) ซึ่งมิใช่เป็นบทบัญญัติเรื่องการขอเข้าเป็นจำเลยร่วมเมื่อคำขอกับนัยที่อ้างไม่ตรงกันอยู่ หากจะเห็นว่าความประสงค์อันแท้จริงของผู้ร้องก็คือ จะขอเข้าบังคับเอาตามสิทธิของตนดังที่มีอยู่โดยอาศัยความในมาตรา 57(1)นั้นเองแล้ว การที่จะรับให้ผู้ร้องสอดเข้ามาในฐานนี้ได้ก็จำต้องมีโจทก์จำเลยเดิมว่าคดีกันต่อไป และตกอยู่ในฐานะเป็นจำเลยผู้ร้องสอดไปทั้งคู่ แต่เมื่อโจทก์จำเลยเดิมได้ยอมความเสร็จเรื่องกันไปแล้วจึงหมดกรณีที่ผู้ร้องสอดจะอาศัยร้องสอดเข้าไปในฐานะนี้ได้เสียแล้วเป็นเรื่องของผู้ร้องสอดที่จะดำเนินคดีของตนในทางอื่นต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 940/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอเข้าเป็นจำเลยร่วมที่ไม่ตรงกับลักษณะข้ออ้าง และผลของการยอมความของคู่ความเดิม
คำร้องสอดกล่าวว่า ขอเข้าเป็นจำเลยร่วมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57(1) ซึ่งคำขอกับนัยที่อ้างไม่ตรงกัน กล่าวคือ การขอเข้าเป็นจำเลยร่วมย่อมเป็นไปตามมาตรา 57(2) เท่านั้น แต่ลักษณะข้ออ้างของผู้ร้องสอดได้อ้างเข้ามาในทางว่า ตนเองมีสิทธิที่จะบังคับเอากับทรัพย์รายพิพาทได้โดยโจทก์และจำเลยไม่มีสิทธิดีกว่าอย่างไร การอ้างเข้ามาจึงมีลักษณะเข้าตามมาตรา57(1) ซึ่งมิใช่เป็นบทบัญญัติเรื่องการขอเข้าเป็นจำเลยร่วม เมื่อคำขอกับนัยที่อ้างไม่ตรงกันอยู่ หากจะเห็นว่าความประสงค์อันแท้จริงของผู้ร้องก็คือ จะขอเข้าบังคับเอาตามสิทธิของตนดังที่มีอยู่โดยอาศัยความในมาตรา 57(1)นั้นเองแล้ว การที่จะรับให้ผู้ร้องสอดเข้ามาในฐานนี้ได้ก็จำต้องมีโจทก์จำเลยเดิมว่าคดีกันต่อไป และตกอยู่ในฐานะเป็นจำเลยผู้ร้องสอดไปทั้งคู่ แต่เมื่อโจทก์จำเลยเดิมได้ยอมความเสร็จเรื่องกันไปแล้ว จึงหมดกรณีที่ผู้ร้องสอดจะอาศัยร้องสอดเข้าไปในฐานะนี้ได้เสียแล้วเป็นเรื่องของผู้ร้องสอดที่จะดำเนินคดีของตนในทางอื่นต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 904/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องอาญาฐานลักทรัพย์/รับของโจร: ความสมบูรณ์ของฟ้อง และขอบเขตการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ในฟ้องข้อ 1 โจทก์ไม่ได้ระบุว่าจำเลยเป็นผู้ลักทรัพย์ของกลาง. โจทก์บรรยายไว้แต่เพียงว่ามีคนร้ายลักเอาไป.แล้วจึงบรรยายต่อไปในข้อ 2 ว่า ทั้งนี้โดยจำเลยเป็นผู้ลักหรือมิฉะนั้นก็รับของโจรไว้. ซึ่งมิได้กล่าวหาว่าจำเลยกระทำผิดทั้งสองฐาน จึงไม่ขัดกัน. ฟ้องของโจทก์เช่นนี้ถือได้ว่าเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) แล้ว.
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลล่าง ให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินห้าปี. เมื่อจำเลยฎีกาเถียงข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมา. จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218.
ฎีกาดุลพินิจในการลงโทษเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง.
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลล่าง ให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินห้าปี. เมื่อจำเลยฎีกาเถียงข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมา. จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218.
ฎีกาดุลพินิจในการลงโทษเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 904/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของฟ้องอาญาและการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ในฟ้องข้อ 1 โจทก์ไม่ได้ระบุว่าจำเลยเป็นผู้ลักทรัพย์ของกลางโจทก์บรรยายไว้แต่เพียงว่ามีคนร้ายลักเอาไปแล้วจึงบรรยายต่อไปในข้อ 2 ว่า ทั้งนี้โดยจำเลยเป็นผู้ลักหรือมิฉะนั้นก็รับของโจรไว้ซึ่งมิได้กล่าวหาว่าจำเลยกระทำผิดทั้งสองฐาน จึงไม่ขัดกันฟ้องของโจทก์เช่นนี้ถือได้ว่าเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) แล้ว
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลล่าง ให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินห้าปี เมื่อจำเลยฎีกาเถียงข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมา จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
ฎีกาดุลพินิจในการลงโทษเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลล่าง ให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินห้าปี เมื่อจำเลยฎีกาเถียงข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมา จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
ฎีกาดุลพินิจในการลงโทษเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 904/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของฟ้องอาญาและการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ในฟ้องข้อ 1 โจทก์ไม่ได้ระบุว่าจำเลยเป็นผู้ลักทรัพย์ของกลาง โจทก์บรรยายไว้แต่เพียงว่ามีคนร้ายลักเอาไปแล้วจึงบรรยายต่อไปในข้อ 2 ว่า ทั้งนี้โดยจำเลยเป็นผู้ลักหรือมิฉะนั้นก็รับของโจรไว้ ซึ่งมิได้กล่าวหาว่าจำเลยกระทำผิดทั้งสองฐาน จึงไม่ขัดกัน ฟ้องของโจทก์เช่นนี้ถือได้ว่าเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) แล้ว
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลล่าง ให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินห้าปี เมื่อจำเลยฎีกาเถียงข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมา จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
ฎีกาดุลพินิจในการลงโทษเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลล่าง ให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินห้าปี เมื่อจำเลยฎีกาเถียงข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมา จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
ฎีกาดุลพินิจในการลงโทษเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 854/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหลบหนีจากสถานพินิจไม่ถือเป็นความผิดฐานหลบหนีการควบคุมตามประมวลกฎหมายอาญา
การที่จำเลยถูกคุมขังตามอำนาจของศาลคดีเด็กและเยาวชนกลางเป็นการควบคุมตามอำนาจหน้าที่ของสถานพินิจตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชนพ.ศ.2494. ไม่เข้าอยู่ในบทวิเคราะห์ศัพท์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(21) และ(22) และไม่ใช่การ'คุมขัง'ตามมาตรา 1(12)แห่งประมวลกฎหมายอาญาฉะนั้นการหลบหนีไปจากการควบคุมของสถานพินิจจึงไม่ถือว่าเป็นการหลบหนีการควบคุมตามความหมายของประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 190.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 854/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหลบหนีจากสถานพินิจเด็กและเยาวชน ไม่ถือเป็นความผิดฐานหลบหนีการควบคุมตามประมวลกฎหมายอาญา
การที่จำเลยถูกคุมขังตามอำนาจของศาลคดีเด็กและเยาวชนกลางเป็นการควบคุมตามอำนาจหน้าที่ของสถานพินิจตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชนพ.ศ.2494ไม่เข้าอยู่ในบทวิเคราะห์ศัพท์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(21) และ(22) และไม่ใช่การ'คุมขัง'ตามมาตรา 1(12)แห่งประมวลกฎหมายอาญาฉะนั้นการหลบหนีไปจากการควบคุมของสถานพินิจจึงไม่ถือว่าเป็นการหลบหนีการควบคุมตามความหมายของประมวลกฎหมายอาญา มาตร 190
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 854/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหลบหนีจากสถานพินิจของเด็กและเยาวชน ไม่เข้าข่ายความผิดฐานหลบหนีการควบคุมตามประมวลกฎหมายอาญา
การที่จำเลยถูกคุมขังตามอำนาจของศาลคดีเด็กและเยาวชนกลางเป็นการควบคุมตามอำนาจหน้าที่ของสถานพินิจตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ.2494 ไม่เข้าอยู่ในบทวิเคราะห์ศัพท์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(21) และ (22) และไม่ใช่การ'คุมขัง'ตามมาตรา 1(12)แห่งประมวลกฎหมายอาญาฉะนั้นการหลบหนีไปจากการควบคุมของสถานพินิจจึงไม่ถือว่าเป็นการหลบหนีการควบคุมตามความหมายของประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 190