พบผลลัพธ์ทั้งหมด 517 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1404-1405/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องผู้จัดการมรดก, การจัดการมรดก, ฟ้องซ้ำ, และการดำเนินการตามพินัยกรรม
มาตรา 183 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ให้อำนาจศาลจะสั่งให้คู่ความฝ่ายใดนำสืบในประเด็นข้อใดก่อนหรือหลังก็ได้ ฉะนั้น เมื่อประเด็นที่จำเลยต่อสู้เป็นประเด็นสำคัญ ซึ่งถ้าได้ความแล้วคดีอาจพิจารณาพิพากษาไปได้โดยไม่ต้องพิจารณาประเด็นข้ออื่นๆ แล้ว ศาลอาจสั่งให้จำเลยนำสืบก่อนทุกประเด็นก็ได้
พินัยกรรมก่อตั้งทรัสต์ก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 นั้น ไม่ขัดต่อกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลานั้น และพินัยกรรมที่กำหนดให้โจทก์มีอำนาจจัดการและเก็บค่าเช่านั้น คำว่า จัดการ ในที่นี้ย่อมหมายถึงการดำเนินการต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องคดีด้วย
พินัยกรรมตั้งผู้จัดการมรดกรวมสี่คน เมื่อเหลือโจทก์คนเดียวเพราะผู้จัดการมรดกสองคนถึงแก่กรรมและผู้จัดการมรดกอีกคนหนึ่งลาออก เมื่อพินัยกรรมมิได้กำหนดให้จัดการมรดกพร้อมกันแล้ว โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีได้
การจัดการมรดกไม่ใช่สิทธิเรียกร้อง ไม่มีอายุความ เมื่อจัดการมรดกยังไม่เสร็จสิ้น ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำนาจจัดการตลอดไปจนกว่าจะเสร็จสิ้น
โจทก์เคยฟ้องขับไล่จำเลย ศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะโจทก์แสดงอำนาจฟ้องไม่ถูกต้องนั้น ศาลยังมิได้วินิจฉัยประเด็นต่อสู้เรื่องขับไล่ ฉะนั้น โจทก์จึงมาฟ้องขับไล่จำเลยได้ใหม่ โดยไม่ถือว่าเป็นฟ้องซ้ำ
พินัยกรรมก่อตั้งทรัสต์ก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 นั้น ไม่ขัดต่อกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลานั้น และพินัยกรรมที่กำหนดให้โจทก์มีอำนาจจัดการและเก็บค่าเช่านั้น คำว่า จัดการ ในที่นี้ย่อมหมายถึงการดำเนินการต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องคดีด้วย
พินัยกรรมตั้งผู้จัดการมรดกรวมสี่คน เมื่อเหลือโจทก์คนเดียวเพราะผู้จัดการมรดกสองคนถึงแก่กรรมและผู้จัดการมรดกอีกคนหนึ่งลาออก เมื่อพินัยกรรมมิได้กำหนดให้จัดการมรดกพร้อมกันแล้ว โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีได้
การจัดการมรดกไม่ใช่สิทธิเรียกร้อง ไม่มีอายุความ เมื่อจัดการมรดกยังไม่เสร็จสิ้น ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำนาจจัดการตลอดไปจนกว่าจะเสร็จสิ้น
โจทก์เคยฟ้องขับไล่จำเลย ศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะโจทก์แสดงอำนาจฟ้องไม่ถูกต้องนั้น ศาลยังมิได้วินิจฉัยประเด็นต่อสู้เรื่องขับไล่ ฉะนั้น โจทก์จึงมาฟ้องขับไล่จำเลยได้ใหม่ โดยไม่ถือว่าเป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1404-1405/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องผู้จัดการมรดก, การจัดการทรัพย์มรดก, ฟ้องซ้ำ, และการนำสืบพยานในคดีแพ่ง
มาตรา 183 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ให้อำนาจศาลจะสั่งให้คู่ความฝ่ายใดนำสืบในประเด็นข้อใดก่อนหรือหลังก็ได้ ฉะนั้น เมื่อประเด็นที่จำเลยต่อสู้เป็นประเด็นสำคัญ ซึ่งถ้าได้ความแล้วคดีอาจพิจารณาพิพากษาไปได้โดยไม่ต้องพิจารณาประเด็นข้ออื่นๆ แล้ว ศาลอาจสั่งให้จำเลยนำสืบก่อนทุกประเด็นก็ได้
พินัยกรรมก่อตั้งทรัสต์ก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 6 นั้น ไม่ขัดต่อกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลานั้น และพินัยกรรมที่กำหนดให้โจทก์มีอำนาจจัดการและเก็บค่าเช่านั้น คำว่า จัดการ ในที่นี้ย่อมหมายถึงการดำเนินการต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องคดีด้วย
พินัยกรรมตั้งผู้จัดการมรดกรวมสี่คน เมื่อเหลือโจทก์คนเดียวเพราะผู้จัดการมรดกสองคนถึงแก่กรรม และผู้จัดการมรดกอีกคนหนึ่งลาออก เมื่อพินัยกรรมมิได้กำหนดให้จัดการมรดกพร้อมกันแล้ว โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีได้
การจัดการมรดกไม่ใช่สิทธิเรียกร้อง ไม่มีอายุความเมื่อจัดการมรดกยังไม่เสร็จสิ้น ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำนาจจัดการตลอดไปจนกว่าจะเสร็จสิ้น
โจทก์เคยฟ้องขับไล่จำเลย ศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะโจทก์แสดงอำนาจฟ้องไม่ถูกต้องนั้น ศาลยังมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อต่อสู้เรื่องขับไล่ ฉะนั้น โจทก์จึงมาฟ้องขับไล่จำเลยได้ใหม่ โดยไม่ถือว่าเป็นฟ้องซ้ำ
พินัยกรรมก่อตั้งทรัสต์ก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 6 นั้น ไม่ขัดต่อกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลานั้น และพินัยกรรมที่กำหนดให้โจทก์มีอำนาจจัดการและเก็บค่าเช่านั้น คำว่า จัดการ ในที่นี้ย่อมหมายถึงการดำเนินการต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องคดีด้วย
พินัยกรรมตั้งผู้จัดการมรดกรวมสี่คน เมื่อเหลือโจทก์คนเดียวเพราะผู้จัดการมรดกสองคนถึงแก่กรรม และผู้จัดการมรดกอีกคนหนึ่งลาออก เมื่อพินัยกรรมมิได้กำหนดให้จัดการมรดกพร้อมกันแล้ว โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีได้
การจัดการมรดกไม่ใช่สิทธิเรียกร้อง ไม่มีอายุความเมื่อจัดการมรดกยังไม่เสร็จสิ้น ผู้จัดการมรดกย่อมมีอำนาจจัดการตลอดไปจนกว่าจะเสร็จสิ้น
โจทก์เคยฟ้องขับไล่จำเลย ศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะโจทก์แสดงอำนาจฟ้องไม่ถูกต้องนั้น ศาลยังมิได้วินิจฉัยประเด็นข้อต่อสู้เรื่องขับไล่ ฉะนั้น โจทก์จึงมาฟ้องขับไล่จำเลยได้ใหม่ โดยไม่ถือว่าเป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1348/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้กรรมสิทธิ์ที่ดินต้องเป็นการครอบครองที่ดินของผู้อื่นที่มีกรรมสิทธิ์แล้ว การครอบครองที่ดินไม่มีโฉนดไม่สามารถขอแสดงกรรมสิทธิ์ได้
การได้กรรมสิทธิ์ที่ดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382 ย่อมหมายถึงการครอบครองที่ดินที่ผู้อื่นมีกรรมสิทธิ์เมื่อที่ดินที่ผู้ร้องครอบครองไม่มีโฉนดหรือยังไม่เคยมีผู้ใดมีกรรมสิทธิ์ ผู้ร้องก็ไม่มีสิทธิที่จะขอให้ศาลสั่งแสดงกรรมสิทธิ์ได้(อ้างฎีกาที่ 1060/2507)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1137/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประเด็นฎีกาจำเลยมิได้ยกขึ้นในอุทธรณ์ ย่อมไม่สามารถยกขึ้นฎีกาได้อีก และสิทธิในการสืบพยานของผู้รับมรดก
ปัญหาข้อกฎหมายที่จำเลยมิได้ยกขึ้นอ้างอิงในชั้นอุทธรณ์ย่อมยุติ จะรื้อฟื้นขึ้นมาฎีกาอีกไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1137/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดสิทธิในการฎีกาประเด็นใหม่ และสิทธิของผู้รับมรดกในฐานะคู่ความ
ปัญหาข้อกฎหมายที่จำเลยมิได้ยกขึ้นอ้างอิงในชั้นอุทธรณ์ย่อมยุติ จะรื้อฟื้นขึ้นมาฎีกาอีกไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225
ผู้ร้องเข้ามาในคดีในฐานะเป็นคู่ความแทนจำเลยผู้มรณะ จึงมีสิทธิดำเนินคดีเท่าสิทธิของจำเลยที่มีอยู่เท่านั้น
ผู้ร้องเข้ามาในคดีในฐานะเป็นคู่ความแทนจำเลยผู้มรณะ จึงมีสิทธิดำเนินคดีเท่าสิทธิของจำเลยที่มีอยู่เท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1117/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิครอบครองที่ดิน และผลของการพิพากษาคดีอาญาต่อคดีแพ่งเกี่ยวเนื่อง
ในคดีส่วนอาญา ศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่ง ศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญา
จำเลยไปขอออก น.ส.3 สำหรับที่พิพาท โจทก์ร้องคัดค้านเจ้าหน้าที่เปรียบเทียบไม่ตกลง และสั่งให้โจทก์มาฟ้องภายใน 30 วัน โจทก์ไม่ฟ้อง จนเวลาล่วงเลยเกินกว่าปี เมื่อโจทก์เป็นฝ่ายครอบครองที่พิพาทอยู่ โจทก์ก็ไม่จำเป็นต้องฟ้องภายในกำหนดดังกล่าว
จำเลยไปขอออก น.ส.3 สำหรับที่พิพาท โจทก์ร้องคัดค้านเจ้าหน้าที่เปรียบเทียบไม่ตกลง และสั่งให้โจทก์มาฟ้องภายใน 30 วัน โจทก์ไม่ฟ้อง จนเวลาล่วงเลยเกินกว่าปี เมื่อโจทก์เป็นฝ่ายครอบครองที่พิพาทอยู่ โจทก์ก็ไม่จำเป็นต้องฟ้องภายในกำหนดดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1117/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองที่ดินต่อเนื่องและการไม่จำเป็นต้องฟ้องภายในกำหนดเมื่อถูกรังวัด และผลของคำพิพากษาคดีอาญาต่อคดีแพ่ง
ในคดีส่วนอาญา ศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ ในการพิพากษาคดีส่วนแพ่ง ศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญา
จำเลยไปขอออก น.ส.3 สำหรับที่พิพาท โจทก์ร้องคัดค้าน เจ้าหน้าที่เปรียบเทียบไม่ตกลง และสั่งให้โจทก์มาฟ้องภายใน 30 วัน โจทก์ไม่ฟ้อง จนเวลาล่วงเลยเกินกว่าปี เมื่อโจทก์เป็นฝ่ายครอบครองที่พิพาทอยู่โจทก์ก็ไม่จำเป็นต้องฟ้องภายในกำหนดดังกล่าว
จำเลยไปขอออก น.ส.3 สำหรับที่พิพาท โจทก์ร้องคัดค้าน เจ้าหน้าที่เปรียบเทียบไม่ตกลง และสั่งให้โจทก์มาฟ้องภายใน 30 วัน โจทก์ไม่ฟ้อง จนเวลาล่วงเลยเกินกว่าปี เมื่อโจทก์เป็นฝ่ายครอบครองที่พิพาทอยู่โจทก์ก็ไม่จำเป็นต้องฟ้องภายในกำหนดดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1074/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปฏิเสธหนี้ในคดีล้มละลาย: ต้องปฏิเสธภายใน 14 วัน มิฉะนั้นถือว่ายอมรับหนี้
มาตรา 119 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 เป็นบทบัญญัติให้อำนาจเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ใช้สิทธิเรียกร้องแก่บุคคลที่เป็นลูกหนี้ของผู้ล้มละลายโดยเฉพาะ ผู้ที่ได้รับหนังสือทวงหนี้จะโต้แย้งหรือคัดค้านประการใด ก็ต้องร้องต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนด 14 วัน และถ้าตนได้รับความเสียหายจากคำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ก็ชอบที่จะอุทธรณ์คำสั่งต่อศาลในกำหนด 14 วันได้ แต่เมื่อผู้ร้องไม่โต้แย้ง จนศาลได้ออกคำบังคับผู้ร้องให้ชำระหนี้แก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ผู้ร้องจึงมีหน้าที่ต้องชำระและจะมาขออนุญาตปฏิเสธหนี้ต่อศาลไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1074/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปฏิเสธหนี้ในคดีล้มละลาย: ต้องยื่นคัดค้านต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนด หากเลยกำหนดต้องรับผิดชอบหนี้
มาตรา 119 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 เป็นบทบัญญัติให้อำนาจเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ใช้สิทธิเรียกร้องแก่บุคคลที่เป็นลูกหนี้ของผู้ล้มละลายโดยเฉพาะ ผู้ที่ได้รับหนังสือทวงหนี้จะโต้แย้งหรือคัดค้านประการใด ก็ต้องร้องต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนด 14 วัน และถ้าตนได้รับความเสียหายจากคำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ก็ชอบที่จะอุทธรณ์คำสั่งต่อศาลในกำหนด 14 วันได้ แต่เมื่อผู้ร้องไม่โต้แย้ง จนศาลได้ออกคำบังคับผู้ร้องให้ชำระหนี้แก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ผู้ร้องจึงมีหน้าที่ต้องชำระและจะมาขออนุญาตปฏิเสธหนี้ต่อศาลไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1046/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้ชื่อทางการค้าที่คล้ายคลึงกัน: จำเลยใช้ชื่อ 'เดลินิวส์' ก่อนโจทก์ การกระทำไม่ถือเป็นการละเมิด
คำว่า "เดลินิวส์" เป็นส่วนหนึ่งของชื่อหนังสือพิมพ์ที่จำเลยใช้มาก่อน ได้พิมพ์ออกจำหน่ายมาราว 20 ปี ก่อนที่โจทก์ได้ตั้งสำนักงานข่าวโดยใช้ชื่อเดลินิวส์ ดังนี้ แม้จะเขียนเป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาไทย ก็เป็นชื่อที่อ่านได้ว่าเดลินิวส์ ฟังว่าจำเลยไม่ได้เอาชื่อเดลินิวส์ของโจทก์มาใช้ การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิด(มาตรา 272(1))