พบผลลัพธ์ทั้งหมด 286 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 725/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมคบกันจดข้อความเท็จ การกระทำความผิดทางอาญาโดยใช้ผู้อื่นเป็นเครื่องมือ และการรอการลงโทษ
ฟ้องว่าจำเลยที่ 1, 2 สมคบกันจดข้อความเท็จทางพิจารณาได้ความว่าจำเลยที่ 2 ผู้เดียวเอาคนอื่นเป็นเครื่องมือในการจดเท็จ ดังนี้ จำเลยที่ 2 ย่อมเป็นตัวการในการกระทำความผิด ข้อเท็จจริงตามที่ปรากฎในการพิจารณาจึงไม่แตกต่างกับข้อเท็จจริงดั่งที่กล่าวในฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 725/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสมคบจดข้อความเท็จ และความรับผิดของตัวการแม้ใช้ผู้อื่นเป็นเครื่องมือ
ฟ้องว่าจำเลยที่ 1,2 สมคบกันจดข้อความเท็จทางพิจารณาได้ความว่าจำเลยที่ 2 ผู้เดียวเอาคนอื่นเป็นเครื่องมือในการจดเท็จ ดังนี้ จำเลยที่ 2 ย่อมเป็นตัวการในการกระทำความผิดข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในการพิจารณาจึงไม่แตกต่างกับข้อเท็จจริงดั่งที่กล่าวในฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 724/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การตีความอำนาจตาม พ.ร.บ.การประมง: เครื่องมือห้ามใช้เด็ดขาด vs. เครื่องมือห้ามใช้ในฤดูปลามีไข่ และผลต่อการริบของกลาง
เครื่องมือที่ห้ามใช้ทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำโดยเด็ดขาดตามพระราชบัญญัติการประมง มาตรา 32 (2) นั้น จะต้องกำหนดลักษณะของเครื่องมือที่ห้ามใช้เป็นอย่าง ๆ ไว้ให้รู้ หากนำเครื่องมือนั้นมาใช้ทำการประมง ก็ต้องริบตามมาตรา 70
เมื่อได้กำหนดเครื่องมือที่ให้ใช้ในฤดูปลามีไข่และวางไข่เลี้ยงลูก ตามพระราชบัญญัติการประมงมาตรา 32 (5) แล้ว เครื่องมือทำการประมงอย่างอื่นก็เป็นเครื่องมือที่ต้องห้าม แต่มิใช่เป็นเครื่องมือที่ห้ามใช้ในที่จับสัตว์น้ำโดยเด็ดขาด ตามมาตรา 32 (2) เพราะเพียงแต่ห้ามในฤดูปลามีไข่เท่านั้นการจะริบเครื่องมือหรือไม่จึงอยู่ในดุลพินิจของศาลตามมาตรา 69.
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2506).
เมื่อได้กำหนดเครื่องมือที่ให้ใช้ในฤดูปลามีไข่และวางไข่เลี้ยงลูก ตามพระราชบัญญัติการประมงมาตรา 32 (5) แล้ว เครื่องมือทำการประมงอย่างอื่นก็เป็นเครื่องมือที่ต้องห้าม แต่มิใช่เป็นเครื่องมือที่ห้ามใช้ในที่จับสัตว์น้ำโดยเด็ดขาด ตามมาตรา 32 (2) เพราะเพียงแต่ห้ามในฤดูปลามีไข่เท่านั้นการจะริบเครื่องมือหรือไม่จึงอยู่ในดุลพินิจของศาลตามมาตรา 69.
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 5/2506).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 724/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตการห้ามใช้เครื่องมือประมงและการริบเครื่องมือตาม พ.ร.บ.การประมง
เครื่องมือที่ห้ามใช้ทำการประมงในที่จับสัตว์น้ำโดยเด็ดขาดตามพระราชบัญญัติการประมง มาตรา 32(2)นั้น จะต้องกำหนดลักษณะของเครื่องมือที่ห้ามใช้เป็นอย่างๆ ไว้ให้รู้ หากนำเครื่องมือนั้นมาใช้ทำการประมง ก็ต้องริบตาม มาตรา70
เมื่อได้กำหนดเครื่องมือที่ให้ใช้ในฤดูปลามีไข่และวางไข่เลี้ยงลูกตามพระราชบัญญัติการประมง มาตรา 32(5)แล้วเครื่องมือทำการประมงอย่างอื่นก็เป็นเครื่องมือที่ต้องห้ามแต่มิใช่เป็นเครื่องมือที่ห้ามใช้ในที่จับสัตว์น้ำโดยเด็ดขาด ตาม มาตรา 32(2) เพราะเพียงแต่ห้ามในฤดูปลามีไข่เท่านั้น การจะริบเครื่องมือหรือไม่ จึงอยู่ในดุลพินิจของศาลตามมาตรา 69
เมื่อได้กำหนดเครื่องมือที่ให้ใช้ในฤดูปลามีไข่และวางไข่เลี้ยงลูกตามพระราชบัญญัติการประมง มาตรา 32(5)แล้วเครื่องมือทำการประมงอย่างอื่นก็เป็นเครื่องมือที่ต้องห้ามแต่มิใช่เป็นเครื่องมือที่ห้ามใช้ในที่จับสัตว์น้ำโดยเด็ดขาด ตาม มาตรา 32(2) เพราะเพียงแต่ห้ามในฤดูปลามีไข่เท่านั้น การจะริบเครื่องมือหรือไม่ จึงอยู่ในดุลพินิจของศาลตามมาตรา 69
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 707/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงขายทรัพย์จำนองก่อนกำหนด & การได้กรรมสิทธิ์โดยครอบครองปรปักษ์
การที่ผู้จำนองตกลงให้ผู้รับจำนองขายทรัพย์ที่จำนองไว้ก่อนหนี้ถึงกำหนดชำระ เป็นการฝ่าฝืนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 711 นั้นก็มีผลเพียงไม่สมบูรณ์โดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะเรียกร้องให้อีกฝ่ายหนึ่งต้องปฏิบัติตามข้อตกลงไม่ได้เท่านั้น แต่ถ้าผู้รับจำนองเอาทรัพย์นั้นขายให้แก่บุคคลอื่นตามข้อตกลง โดยผู้จำนองรู้เห็นด้วย และมิได้ทักท้วงอย่างใดทั้งผู้ซื้อก็ได้ครอบครองอย่างเป็นเจ้าของ โดยสงบและเปิดเผยเป็นเวลา 20 ปีแล้วดังนี้ ผู้ซื้อก็ได้กรรมสิทธิ์ ผู้จำนองจะรื้อฟื้นเอาความไม่สมบูรณ์นั้นมาว่ากล่าวขอไถ่ถอนจำนองอีกหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 707/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำนองและการซื้อขายก่อนกำหนด: สิทธิของเจ้าหนี้และผู้ซื้อเมื่อข้อตกลงไม่สมบูรณ์แต่มีการยินยอม
การที่ผู้จำนองตกลงให้ผู้รับจำนองขายทรัพย์ที่จำนองได้ก่อนหนี้ถึงกำหนดชำระ เป็นการฝ่าฝืนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 711 นั้นก็มีผลเพียงไม่สมบูรณ์โดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะเรียกร้องให้อีกฝ่ายหนึ่งต้องปฏิบัติตามข้อตกลงไม่ได้เท่านั้น แต่ถ้าผู้รับจำนองเอาทรัพย์นั้นขายให้แก่บุคคลอื่นตามข้อตกลง โดยผู้จำนองรู้เห็นด้วย และมิได้ทักท้วงอย่างใด ทั้งผู้ซื้อก็ได้ครอบครองอย่างเป็นเจ้าของ โดยสงบและเปิดเผยเป็นเวลา 20 ปีแล้ว ดังนี้ ผู้ซื้อก็ได้กรรมสิทธิ์ ผู้จำนองจะรื้อฟื้นเอาความไม่สมบูรณ์นั้นมาว่ากล่าวขอไถ่ถอนจำนองอีกหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 698/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเล่นแชร์ประมูลดอกเบี้ยไม่เป็นกู้ยืมเงิน สิทธิเรียกร้องจากลูกวงที่ผิดนัดชำระ
การเล่นแชร์เปียหวยนั้น ผู้เล่นจะประมูลให้ดอกเบี้ยเกินอัตราตามกฎหมายก็ได้เพราะไม่เข้าลักษณะเป็นการกู้ยืมเงิน
โจทก์ฟ้องให้จำเลยสองคนร่วมกันชำระหนี้เงินกู้ให้โจทก์จำเลยให้การต่อสู้ว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องซึ่งหมายความว่ายังไม่ต้องชำระหนี้ให้โจทก์หากคดีได้ความว่าจำเลยที่ 2 เป็นเพียงผู้ค้ำประกันเงินกู้ของจำเลยที่ 1 แล้วศาลย่อมมีอำนาจที่จะวินิจฉัยว่าจำเลย ที่ 2 ควรเป็นผู้รับผิดต่อโจทก์เพียงในฐานะผู้ค้ำประกันได้
โจทก์ฟ้องให้จำเลยสองคนร่วมกันชำระหนี้เงินกู้ให้โจทก์จำเลยให้การต่อสู้ว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องซึ่งหมายความว่ายังไม่ต้องชำระหนี้ให้โจทก์หากคดีได้ความว่าจำเลยที่ 2 เป็นเพียงผู้ค้ำประกันเงินกู้ของจำเลยที่ 1 แล้วศาลย่อมมีอำนาจที่จะวินิจฉัยว่าจำเลย ที่ 2 ควรเป็นผู้รับผิดต่อโจทก์เพียงในฐานะผู้ค้ำประกันได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 698/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเล่นแชร์ประมูลดอกเบี้ยไม่เป็นการกู้ยืมเงิน สิทธิของนายวงแชร์และการรับผิดของผู้ค้ำประกัน
การเล่นแชร์เปียหวยนั้น ผู้เล่นประมูลให้ดอกเบี้ยเกินอัตราตามกฎหมายก็ได้ เพราะไม่เข้าลักษณะเป็นการกู้ยืมเงิน
โจทก์ฟ้องให้จำเลยสองคนร่วมกันชำระหนี้เงินกู้ให้โจทก์ จำเลยให้การต่อสู้ว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง ซึ่งหมายความว่ายังไม่ต้องชำระหนี้ให้โจทก์ หากคดีได้ความว่าจำเลยที่ 2 เป็นเพียงผู้ค้ำประกันเงินกู้ของจำเลยที่ 1 แล้ว ศาลย่อมมีอำนาจที่จะวินิจฉัยว่าจำเลยที่ 2 ควรเป็นผู้รับผิดต่อโจทก์เพียงในฐานะผู้ค้ำประกันได้
โจทก์ฟ้องให้จำเลยสองคนร่วมกันชำระหนี้เงินกู้ให้โจทก์ จำเลยให้การต่อสู้ว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง ซึ่งหมายความว่ายังไม่ต้องชำระหนี้ให้โจทก์ หากคดีได้ความว่าจำเลยที่ 2 เป็นเพียงผู้ค้ำประกันเงินกู้ของจำเลยที่ 1 แล้ว ศาลย่อมมีอำนาจที่จะวินิจฉัยว่าจำเลยที่ 2 ควรเป็นผู้รับผิดต่อโจทก์เพียงในฐานะผู้ค้ำประกันได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 683/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงหลักการกักกันผู้กระทำผิดติดนิสัย: ประมวลกฎหมายอาญา vs. พ.ร.บ.กักกันผู้ร้าย และการพิจารณาโทษซ้ำ
ตามพระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ.2479มาตรา 8 มีถ้อยคำว่า 'ถ้าผู้ใดเคยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาให้จำคุกมาแล้วไม่น้อยกว่าสองครั้ง' แต่ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 41 ใช้ถ้อยคำเพียงว่า 'ถูกศาลพิพากษาให้ลงโทษจำคุก ฯลฯ มาแล้วไม่น้อยกว่าสองครั้ง' ไม่มีถ้อยคำว่า ต้อง 'เคยได้รับโทษจำคุกมาแล้ว' ด้วย จึงเป็นการแสดงว่าประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 41ได้เปลี่ยนแปลงหลักการในเรื่องที่จะลงโทษกักกันจากพระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้ายเดิมเสียแล้ว
จำเลยกระทำความผิดและถูกศาลพิพากษาลงโทษไม่ต่ำกว่าหกเดือนมาแล้ว 2 ครั้งคดีที่จำเลยกระทำความผิดทีหลังศาลพิพากษาลงโทษก่อนส่วนคดีที่จำเลยกระทำความผิดก่อนศาลพิพากษาลงโทษทีหลังทั้งในคดีที่ศาลพิพากษาลงโทษทีหลัง ศาลพิพากษาให้นับโทษต่อคดีที่พิพากษาก่อนด้วยแล้วจำเลยมากระทำความผิดในคดีนี้อีก และถูกศาลพิพากษาลงโทษจำคุกไม่ต่ำกว่าหกเดือน ดังนี้ ศาลอาจถือว่า จำเลยเป็นผู้กระทำความผิดติดนิสัยได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2/2506)
จำเลยกระทำความผิดและถูกศาลพิพากษาลงโทษไม่ต่ำกว่าหกเดือนมาแล้ว 2 ครั้งคดีที่จำเลยกระทำความผิดทีหลังศาลพิพากษาลงโทษก่อนส่วนคดีที่จำเลยกระทำความผิดก่อนศาลพิพากษาลงโทษทีหลังทั้งในคดีที่ศาลพิพากษาลงโทษทีหลัง ศาลพิพากษาให้นับโทษต่อคดีที่พิพากษาก่อนด้วยแล้วจำเลยมากระทำความผิดในคดีนี้อีก และถูกศาลพิพากษาลงโทษจำคุกไม่ต่ำกว่าหกเดือน ดังนี้ ศาลอาจถือว่า จำเลยเป็นผู้กระทำความผิดติดนิสัยได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 2/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 683/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงหลักการกักกันผู้กระทำผิดติดนิสัยจาก พ.ร.บ.กักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย สู่ประมวลกฎหมายอาญา
ตามพระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้าย พ.ศ. 2479 มาตรา 8 มีถ้อยคำว่า "ถ้าผู้ใดเคยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาให้จำคุกมาแล้วไม่น้อยกว่าสองครั้ง" แต่ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 41 ใช้ถ้อยคำเพียงว่า "ถูกศาลพิพากษาให้ลงโทษจำคุก ฯลฯ มาแล้วไม่น้อยกว่าสองครั้ง" ไม่มีถ้อยคำว่า ต้อง "เคยได้รับโทษจำคุกมาแล้ว" ด้วย จึงเป็นการแสดงว่าประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 41 ได้เปลี่ยนแปลงหลักการในเรื่องที่จะลงโทษกักกันจากพระราชบัญญัติกักกันผู้มีสันดานเป็นผู้ร้ายเดิมเสียแล้ว
จำเลยกระทำความผิดและถูกศาลพิพากษาลงโทษไม่ต่ำกว่าหกเดือนมาแล้ว 2 ครั้ง คดีที่จำเลยกระทำความผิดทีหลัง ศาลพิพากษาลงโทษก่อน ส่วนคดีที่จำเลยกระทำความผิดก่อน ศาลพิพากษาลงโทษทีหลัง ทั้งในคดีที่ศาลพิพากษาลงโทษทีหลัง ศาลพิพากษาให้นับโทษต่อคดีที่พิพากษาก่อนด้วยแล้วจำเลยมากระทำความผิดในคดีนี้อีก และถูกศาลพิพากษาลงโทษจำคุกไม่ต่ำกว่าหกเดือน ดังนี้ ศาลอาจถือว่า จำเลยเป็นผู้กระทำความผิดติดนิสัยได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3/2506)
จำเลยกระทำความผิดและถูกศาลพิพากษาลงโทษไม่ต่ำกว่าหกเดือนมาแล้ว 2 ครั้ง คดีที่จำเลยกระทำความผิดทีหลัง ศาลพิพากษาลงโทษก่อน ส่วนคดีที่จำเลยกระทำความผิดก่อน ศาลพิพากษาลงโทษทีหลัง ทั้งในคดีที่ศาลพิพากษาลงโทษทีหลัง ศาลพิพากษาให้นับโทษต่อคดีที่พิพากษาก่อนด้วยแล้วจำเลยมากระทำความผิดในคดีนี้อีก และถูกศาลพิพากษาลงโทษจำคุกไม่ต่ำกว่าหกเดือน ดังนี้ ศาลอาจถือว่า จำเลยเป็นผู้กระทำความผิดติดนิสัยได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 3/2506)