คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ป.วิ.พ. ม. 61

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 180 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 678/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความสิทธิเรียกร้องค่าจ้างและการดำเนินการฟ้องคดีโดยนิติบุคคล
องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ซึ่งเป็นนิติบุคคล ทำสัญญาจ้างจำเลยตัดฟันชักลากไม้และจ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าให้จำเลยไป จำเลยผิดสัญญา องค์การเรียกให้จำเลยใช้เงินคืนจำเลยไม่ใช้ องค์การจึงฟ้อง สิทธิเรียกร้องในกรณีนี้ไม่ใช่เรื่องนายจ้างเรียกเอาเงินค่าจ้างอันตนได้จ่ายล่วงหน้าให้ไปจากบุคคลผู้รับจ้างใช้การงานส่วนบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (8) ซึ่งมีอายุความ 2 ปี แต่อยู่ในอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 28/2511)
ผู้แทนนิติบุคคลซึ่งแสดงเจตนาฟ้องคดีและแต่งตั้งทนายแทนนิติบุคคลในนามนิติบุคคลเป็นโจทก์นั้น เมื่อได้ลงชื่อแต่งทนายให้ดำเนินคดีโดยชอบแล้ว ทนายก็มีอำนาจดำเนินคดีไปตลอดจนมีอำนาจใช้สิทธิในการอุทธรณ์ฎีกาดังที่ปรากฏในใบแต่งทนาย แม้ผู้แทนนิติบุคคลนั้นจะถึงแก่ความตายไปแล้วก็ดี หรือฟ้องฎีกาของโจทก์ยังคงใช้ชื่อผู้แทนนิติบุคคลซึ่งถึงแก่ความตายในหน้าฟ้องก็ดี ไม่ทำให้ฎีกาของโจทก์ไม่ชอบด้วยกฎหมาย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 678/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความหนี้ค่าจ้างและหนังสือรับสภาพหนี้: สิทธิเรียกร้องไม่ขาดอายุความเมื่ออยู่ใน 10 ปี และการดำเนินการทางกฎหมายของนิติบุคคล
องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ซึ่งเป็นนิติบุคคล ทำสัญญาจ้างจำเลยตัดฟันชักลากไม้และจ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าให้จำเลยไป.จำเลยผิดสัญญา องค์การเรียกให้จำเลยใช้เงินคืน. จำเลยไม่ใช้. องค์การจึงฟ้อง สิทธิเรียกร้องในกรณีนี้ไม่ใช่เรื่องนายจ้างเรียกเอาเงินค่าจ้างอันตนได้จ่ายล่วงหน้าให้ไปจากบุคคลผู้รับจ้างใช้การงานส่วนบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(8) ซึ่งมีอายุความ2 ปี. แต่อยู่ในอายุความ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164.(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 28/2511).
ผู้แทนนิติบุคคลซึ่งแสดงเจตนาฟ้องคดีและแต่งตั้งทนายแทนนิติบุคคลในนามนิติบุคคลเป็นโจทก์นั้น. เมื่อได้ลงชื่อแต่งทนายให้ดำเนินคดีโดยชอบแล้ว. ทนายก็มีอำนาจดำเนินคดีไปตลอดจนมีอำนาจใช้สิทธิในการอุทธรณ์ฎีกาดังที่ปรากฏในใบแต่งทนาย. แม้ผู้แทนนิติบุคคลนั้นจะถึงแก่ความตายไปแล้วก็ดี. หรือฟ้องฎีกาของโจทก์ยังคงใช้ชื่อผู้แทนนิติบุคคลซึ่งถึงแก่ความตายในหน้าฟ้องก็ดี. ไม่.ทำให้ฎีกาของโจทก์.ไม่.ชอบด้วยกฎหมาย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 194/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ กระบวนการสอบถามคู่ความเพื่อเลื่อนการขายทอดตลาดชอบด้วยกฎหมาย แม้โจทก์ไม่เข้าใจภาษาไทยและไม่มีทนาย
การที่ศาลดำเนินกระบวนพิจารณาสอบถามคู่ความเรื่องที่ว่าควรจะเลื่อนการขายทอดลาดต่อไปอีกหรือไม่ เป็นการบวนพิจารณาที่ชอบ เพราะโจทก์จำเลยต่างไม่ตกลงกันว่าควรเลื่อนหรือไม่ และเจ้าพนักงานบังคับคดีผู้ดำเนินการขายทอดตลาดได้รายงานศาลขอคำสั่ง การที่ศาลสอบถามคู่ความก็เพื่อที่จะยังให้เป็นไปด้วยความยุติธรรม เมื่อคู่ความได้ตกลงกันและข้อตกลงนั่น ไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย ทั้งสองฝ่ายได้ลงลายมือชื่อเป็นหลักฐาน กระบวนพิจารณาของศาลจึงชอบด้วยกฎหมาย การที่โจทก์อ้างว่าโจทก์ไม่เข้าใจภาษาไทยดี และไม่มีทนายความ ก็ปรากฏว่าโจทก์มิได้โต้แย้งหรือร้องขอต่อศาลเพื่อจัดหาล่าม ตามรายงานกระบวนพิจารณาไม่ปรากฏเหตุที่จะแสดงว่าโจทก์หลงผิดเพราะไม่เข้าใจภาษาไทย โจทก์เป็นตัวความย่อมมีอำนาจดำเนินกระบวนพิจารณาเองได้โดยลำพัง เพียงแต่โจทก์ไม่มีทนายความ ไม่เป็นเหตุที่จะทำให้กระบวนพิจารณาเสียไป กรณีไม่ต้องประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 ที่จะขอให้ศาลสั่งเพิกถอน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1748/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบังคับคดีและการดำเนินกระบวนการเมื่อทนายจำเลยเสียชีวิต - การมีอยู่ของคู่ความ
กรณีโต้แย้งในตอนที่คดีถึงที่สุดแล้วอยู่ในระหว่างการบังคับคดี ไม่ใช่เป็นเรื่องคดีค้างพิจารณา ซึ่งถ้าหากคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะ ศาลจะต้องเลื่อนการนั่งพิจารณาไปจนกว่าจะมีผู้เข้ามาเป็นคู่ความแทนที่ผู้มรณะ (อ้างคำสั่งคำร้องฎีกาที่ 65/2492)
ในชั้นบังคับคดี จำเลยแต่งทนายไว้แล้วถึงแก่กรรมลง ในระยะที่เกี่ยวพันติดต่อกัน เมื่อทนายจำเลยยื่นคำร้องขอให้งดการบังคับคดีไว้ ศาลก็ย่อมผ่อนให้ทนายจำเลยยังพึงมีทางกระทำเพื่อรักษาประโยชน์ให้แก่คู่ความได้ในระหว่างที่ยังไม่มีตัวความ และเป็นการกระทำที่ไม่ใช่เป็นเรื่องการพิจารณาคดีค้าง
คดีถึงที่สุดแล้ว หากมีการอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งศาลในชั้นบังคับคดี ก็มีกรณีที่จะต้องตั้งต้นพิจารณาชั้นอุทธรณ์ขึ้นใหม่ในระหว่างคู่ความเมื่อปรากฏว่าจำเลยมรณะ ทนายจำเลยย่อมสิ้นสภาพ การพิจารณาคดีต่อไปจะต้องจัดการให้มีผู้มารับมรดกความเสียก่อน
การที่ศาลล่างดำเนินกระบวนพิจารณาไปโดยไม่มีคู่ความทั้งสองฝ่ายพร้อมเมื่อคดีขึ้นมาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้ดำเนินกระบวนพิจารณาให้ถูกต้องได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1748/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบังคับคดีหลังจำเลยเสียชีวิต: ศาลต้องรอทายาทก่อนพิจารณาคดีต่อ
กรณีโต้แย้งในตอนที่คดีถึงที่สุดแล้วอยู่ในระหว่างการบังคับคดี ไม่ใช่เป็นเรื่องคดีค้างพิจารณา ซึ่งถ้าหากคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะ ศาลจะต้องเลื่อนการนั่งพิจารณาไปจนกว่าจะมีผู้เข้ามาเป็นคู่ความแทนที่ผู้มรณะ (อ้างคำสั่งคำร้องฎีกาที่ 65/2492)
ในชั้นบังคับคดี จำเลยแต่งทนายไว้แล้วถึงแก่กรรมลง ในระยะที่เกี่ยวพันติดต่อกัน เมื่อทนายจำเลยยื่นคำร้องขอให้งดการบังคับคดีไว้ ศาลก็ย่อมผ่อนให้ทนายจำเลยยังพึงมีทางกระทำเพื่อรักษาประโยชน์ให้แก่คู่ความได้ในระหว่างที่ยังไม่มีตัวความ และเป็นการกระทำที่ไม่ใช่เป็นเรื่องการพิจารณาคดีค้าง
คดีถึงที่สุดแล้ว หากมีการอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งศาลในชั้นบังคับคดี ก็มีกรณีที่จะต้องตั้งต้นพิจารณาชั้นอุทธรณ์ขึ้นใหม่ในระหว่างคู่ความ เมื่อปรากฏว่าจำเลยมรณะ ทนายจำเลยย่อมสิ้นสภาพ การพิจารณาคดีต่อไปจะต้องจัดการให้มีผู้มารับมรดกความเสียก่อน
การที่ศาลล่างดำเนินกระบวนพิจารณาไปโดยไม่มีคู่ความทั้งสองฝ่ายพร้อมเมื่อคดีขึ้นมาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้ดำเนินกระบวนพิจารณาให้ถูกต้องได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1748/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การบังคับคดีหลังจำเลยเสียชีวิต: ศาลต้องรอทายาทก่อนดำเนินการต่อ
กรณีโต้แย้งในตอนที่คดีถึงที่สุดแล้วอยู่ในระหว่างการบังคับคดี. ไม่ใช่เป็นเรื่องคดีค้างพิจารณา. ซึ่งถ้าหากคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมรณะ ศาลจะต้องเลื่อนการนั่งพิจารณาไปจนกว่าจะมีผู้เข้ามาเป็นคู่ความแทนที่ผู้มรณะ (อ้างคำสั่งคำร้องฎีกาที่ 65/2492).
ในชั้นบังคับคดี จำเลยแต่งทนายไว้แล้วถึงแก่กรรมลง ในระยะที่เกี่ยวพันติดต่อกัน. เมื่อทนายจำเลยยื่นคำร้องขอให้งดการบังคับคดีไว้. ศาลก็ย่อมผ่อนให้ทนายจำเลยยังพึงมีทางกระทำเพื่อรักษาประโยชน์ให้แก่คู่ความได้ในระหว่างที่ยังไม่มีตัวความ. และเป็นการกระทำที่ไม่ใช่เป็นเรื่องการพิจารณาคดีค้าง.
คดีถึงที่สุดแล้ว หากมีการอุทธรณ์คัดค้านคำสั่งศาลในชั้นบังคับคดี. ก็มีกรณีที่จะต้องตั้งต้นพิจารณาชั้นอุทธรณ์ขึ้นใหม่ในระหว่างคู่ความ. เมื่อปรากฏว่าจำเลยมรณะ ทนายจำเลยย่อมสิ้นสภาพ. การพิจารณาคดีต่อไปจะต้องจัดการให้มีผู้มารับมรดกความเสียก่อน.
การที่ศาลล่างดำเนินกระบวนพิจารณาไปโดยไม่มีคู่ความทั้งสองฝ่ายพร้อมเมื่อคดีขึ้นมาสู่ศาลฎีกา. ศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้ดำเนินกระบวนพิจารณาให้ถูกต้องได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 492/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาจ้างทนายแบ่งส่วนจากทรัพย์สิน: โมฆะตามกฎหมายทนายความและประมวลกฎหมายแพ่งฯ
สัญญาจ้างว่าความซึ่งมีข้อความว่า ฟ้องเรียกทรัพย์สินเป็นมูลค่าประมาณ 24 ล้านบาท ขอคิดค่าจ้างรวมเป็นเงิน 12ล้านบาทถ้าเรียกร้องได้มากกว่านี้ก็ไม่เพิ่มขึ้นนั้น แม้จะเป็นการกำหนดค่าจ้างไว้ครึ่งหนึ่งของจำนวนทุนทรัพย์ที่จะฟ้องเรียกร้องจากจำเลยก็ตามแต่ข้อความที่เขียนต่อไปว่า 'แต่ถ้าได้น้อยกว่าที่กะประมาณไว้นี้ ให้ลดลงตามส่วนจำนวนเงินที่ได้มา' ดังนี้ เป็นการแสดงอยู่ว่าถ้าศาลตัดสินให้น้อยกว่าจำนวนเงินที่ฟ้องทนายก็จะเรียกค่าจ้างเอาครึ่งหนึ่งของจำนวนทุนทรัพย์ที่ศาลตัดสินให้เสมอไป จึงเป็นการทำสัญญาเรียกค่าจ้างว่าความโดยวิธีแบ่งเอาส่วนจากทรัพย์สินที่เป็นมูลพิพาทอันจะพึงได้แก่คู่ความนั่นเอง นอกจากนี้ตามพฤติการณ์ในเรื่องก็เห็นได้ชัดว่าทนายจัดทำสัญญาตลอดจนปฏิบัติต่อสู้ความ ได้กระทำไปเกินขอบเขตแห่งความเป็นธรรมอยู่มาก สัญญาที่โจทก์นำมาฟ้องจึงเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ.2477 มาตรา 12 อนุมาตรา 2 และขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน สัญญาตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113 โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามฟ้อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 492/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาจ้างทนายที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม เนื่องจากมีการแบ่งส่วนจากทรัพย์สินพิพาท ทำให้สัญญาเป็นโมฆะ
สัญญาจ้างว่าความซึ่งมีข้อความว่า ฟ้องเรียกทรัพย์สินเป็นมูลค่าประมาณ 24 ล้านบาท. ขอคิดค่าจ้างรวมเป็นเงิน 12ล้านบาท. ถ้าเรียกร้องได้มากกว่านี้ก็ไม่เพิ่มขึ้นนั้น. แม้จะเป็นการกำหนดค่าจ้างไว้ครึ่งหนึ่งของจำนวนทุนทรัพย์ที่จะฟ้องเรียกร้องจากจำเลยก็ตาม. แต่ข้อความที่เขียนต่อไปว่า 'แต่ถ้าได้น้อยกว่าที่กะประมาณไว้นี้ ให้ลดลงตามส่วนจำนวนเงินที่ได้มา'. ดังนี้ เป็นการแสดงอยู่ว่าถ้าศาลตัดสินให้น้อยกว่าจำนวนเงินที่ฟ้องทนายก็จะเรียกค่าจ้างเอาครึ่งหนึ่งของจำนวนทุนทรัพย์ที่ศาลตัดสินให้เสมอไป. จึงเป็นการทำสัญญาเรียกค่าจ้างว่าความโดยวิธีแบ่งเอาส่วนจากทรัพย์สินที่เป็นมูลพิพาทอันจะพึงได้แก่คู่ความนั่นเอง. นอกจากนี้ตามพฤติการณ์ในเรื่องก็เห็นได้ชัดว่าทนายจัดทำสัญญาตลอดจนปฏิบัติต่อสู้ความ ได้กระทำไปเกินขอบเขตแห่งความเป็นธรรมอยู่มาก. สัญญาที่โจทก์นำมาฟ้องจึงเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ.2477 มาตรา 12 อนุมาตรา 2. และขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน. สัญญาตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113. โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามฟ้อง.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 492/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาจ้างทนายลักษณะแบ่งส่วนทรัพย์สินขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม ทำให้สัญญาเป็นโมฆะ
สัญญาจ้างว่าความซึ่งมีข้อความว่า ฟ้องเรียกทรัพย์สินเป็นมูลค่าประมาณ 24 ล้านบาท ขอคิดค่าจ้างรวมเป็นเงิน 12 ล้านบาท ถ้าเรียกร้องได้มากกว่านี้ก็ไม่เพิ่มขึ้นนั้น แม้จะเป็นการกำหนดค่าจ้างไว้ครึ่งหนึ่งของจำนวนทุนทรัพย์ที่จะฟ้องเรียกร้องจากจำเลยก็ตาม แต่ข้อความที่เขียนต่อไปว่า "แต่ถ้าได้น้อยกว่าที่กะประมาณไว้นี้ ให้ลดลงตามส่วนจำนวนเงินที่ได้มา" ดังนี้ เป็นการแสดงอยู่ว่า ถ้าศาลตัดสินให้น้อยกว่าจำนวนเงินที่ฟ้อง ทนายก็จะเรียกค่าจ้างเอาครึ่งหนึ่งของจำนวนทุนทรัพย์ที่ศาลตัดสินให้เสมอไป จึงเป็นการทำสัญญาเรียกค่าจ้างว่าความโดยวิธีแบ่งเอาส่วนจากทรัพย์สินที่เป็นมูลพิพาทอันจะพึงได้แก่คู่ความนั่นเอง นอกจากนี้ตามพฤติการณ์ในเรื่องก็เห็นได้ชัดว่าทนายจัดทำสัญญาตลอดจนปฏิบัติต่อสู้ความ ได้กระทำไปเกินขอบเขตแห่งความเป็นธรรมอยู่มาก สัญญาที่โจทก์นำมาฟ้องจึงเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2477 มาตรา 12 อนุมาตรา 2 และขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน สัญญาตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113 โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามฟ้อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1225/2509

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแต่งตั้งทนายความในคดีร้องขัดทรัพย์: โจทก์ไม่ต้องแต่งตั้งซ้ำหากมีทนายความในคดีหลัก
การพิจารณาในชั้นร้องขัดทรัพย์ เป็นการพิจารณาในเรื่องที่โจทก์ฟ้องจำเลยนั้นเอง เมื่อโจทก์ได้แต่งตั้งทนายความไว้ในเรื่องนั้นแล้ว ในชั้นร้องขัดทรัพย์โจทก์จึงไม่ต้องแต่งตั้งทนายความซ้ำอีก
of 18