พบผลลัพธ์ทั้งหมด 664 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 570/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประวิงคดีและการงดสืบพยาน: ศาลชอบที่จะชี้ขาดโดยไม่ต้องสืบพยานเมื่อจำเลยประวิงคดีโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
ศาลนัดสืบพยานจำเลยครั้งแรกวันที่ 28 สิงหาคม 2504 จำเลยขอเลื่อน 11 ครั้งอ้างเหตุทนายป่วยบ้าง ตัวจำเลยป่วยบ้าง ตัวจำเลยไปต่างจังหวัดบ้าง จนถึงนัดสุดท้ายวันที่ 14 มกราคม 2506 ทนายจำเลยแถลงลอย ๆ ว่า จำเลยป่วยอยู่ต่างจังหวัด พยานอื่นก็ไม่ได้นำมาขอเลื่อนคดีอีก เช่นนี้ ส่อให้เห็นว่าเป็นการประวิงคดีศาลสั่งงดสืบพยานจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 570/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประวิงคดีและการงดสืบพยาน: ศาลชอบที่จะพิจารณาคดีโดยไม่ต้องสืบพยานจำเลยหากมีพฤติการณ์ประวิงคดีอย่างชัดเจน
ศาลนัดสืบพยานจำเลยครั้งแรกวันที่ 28 สิงหาคม 2504 จำเลยขอเลื่อน 11 ครั้งอ้างเหตุทนายป่วยบ้าง ตัวจำเลยป่วยบ้าง ตัวจำเลยไปต่างจังหวัดบ้าง จนถึงนัดสุดท้ายวันที่ 14 มกราคม 2506 ทนายจำเลยแถลงลอยๆว่า จำเลยป่วยอยู่ต่างจังหวัด พยานอื่นก็ไม่ได้นำมาขอเลื่อนคดีอีกเช่นนี้ ส่อให้เห็นว่าเป็นการประวิงคดี ศาลสั่งงดสืบพยานจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 563-565/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเบิกความเท็จในชั้นศาลที่ไม่เป็นข้อสำคัญในคดี และข้อยกเว้นความผิดฐานหมิ่นประมาทสำหรับถ้อยคำของคู่ความในกระบวนการพิจารณา
จำเลยเบิกความในคดีที่ พ. ถูกฟ้องคดีอาญาฐานขับรถประมาทชนคนบาดเจ็บว่า พ. ให้การรับสารภาพชั้นสอบสวนเพราะถูกโจทก์ขู่เข็ญนั้นหากคดีดังกล่าวศาลพิพากษายกฟ้อง เพราะเห็นว่าพยานโจทก์ฟังไม่ได้ว่า พ. กระทำผิดแล้ว แม้ข้อความที่จำเลยเบิกความจะเป็นเท็จ ก็ไม่ใช่เท็จในข้อสำคัญแห่งคดี
การที่จำเลยเบิกความในคดีที่จำเลยถูกฟ้องฐานขับรถประมาทชนคนบาดเจ็บว่าจำเลยให้การรับสารภาพชั้นสอบสวนเพราะถูกโจทก์ขู่เข็ญนั้นเห็นได้ว่าเป็นถ้อยคำของคู่ความในกระบวนพิจารณาคดีในศาลเพื่อประโยชน์แก่คดีของตน ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท
การที่จำเลยเบิกความในคดีที่จำเลยถูกฟ้องฐานขับรถประมาทชนคนบาดเจ็บว่าจำเลยให้การรับสารภาพชั้นสอบสวนเพราะถูกโจทก์ขู่เข็ญนั้นเห็นได้ว่าเป็นถ้อยคำของคู่ความในกระบวนพิจารณาคดีในศาลเพื่อประโยชน์แก่คดีของตน ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 563-565/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำเบิกความเท็จที่ไม่เป็นสาระสำคัญในคดีอาญา และขอบเขตการหมิ่นประมาทในกระบวนการพิจารณา
จำเลยเบิกความในคดีที่ พ.ถูกฟ้องคดีอาญาฐานขับรถประมาทชนคนบาดเจ็บ ว่า พ.ให้การรับสารภาพชั้นสอบสวนเพราะถูกโจทก์ขู่เข็ญนั้นหากคดีดังกล่าวศาลพิพากษายกฟ้องเพราะเห็นว่าพยานโจทก์ฟังไม่ได้ว่า พ.กระทำผิดแล้ว แม้ข้อความที่จำเลยเบิกความจะเป็นเท็จ ก็ไม่ใช่เท็จในข้อสำคัญแห่งคดี
การที่จำเลยเบิกความในคดีที่จำเลยถูกฟ้องฐานขับรถประมาทชนคนบาดเจ็บว่า จำเลยให้การรับสารภาพชั้นสอบสวนเพราะถูกโจทก์ขู่เข็ญนั้น เห็นได้ว่าเป็นถ้อยคำของคู่ความในกระบวนพิจารณาคดีในศาลเพื่อประโยชน์แก่คดีของตน ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท
การที่จำเลยเบิกความในคดีที่จำเลยถูกฟ้องฐานขับรถประมาทชนคนบาดเจ็บว่า จำเลยให้การรับสารภาพชั้นสอบสวนเพราะถูกโจทก์ขู่เข็ญนั้น เห็นได้ว่าเป็นถ้อยคำของคู่ความในกระบวนพิจารณาคดีในศาลเพื่อประโยชน์แก่คดีของตน ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 561/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบิกความเท็จ-ปลอมเอกสาร: ศาลฎีกาชี้ขาดองค์ประกอบความผิดและบทลงโทษ
คำว่า ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไปในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 181(1) นี้หมายถึงว่าอัตราโทษขั้นต่ำของความผิดนั้นจะต้องมีระวางโทษจำคุก 3 ปีเป็นอย่างน้อยที่สุด
การเบิกความเท็จในการพิจารณาคดีอาญา ไม่ใช่เรื่องแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความแต่เป็นเรื่องเบิกความซึ่งศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจจดข้อความตอนใดหรือไม่จดก็ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความการจดจึงเป็นเรื่องของศาล ไม่ใช่เรื่องของพยานที่จะแจ้งให้ศาลจดข้อความอันเป็นเท็จ ซึ่งเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา267
จำเลยไม่ใช่นายช่วง แต่มาอ้างต่อศาลว่าเป็นนายช่วงและข้อเท็จจริงที่จำเลยเบิกความว่าได้รู้เห็นเหตุการณ์จำเลยก็มิได้รู้เห็นจริง กับจำเลยได้ลงนามปลอมว่า นายช่วง ในคำเบิกความที่ศาลจดไว้อีกด้วยความผิดฐานเบิกความเท็จสำเร็จได้โดยไม่ต้องอาศัยการลงนามปลอมการลงนามปลอมของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานปลอมเอกสารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 264 อีกด้วยแต่จำเลยหามีความผิดฐานปลอมเอกสารราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 265 อีกมาตราหนึ่งไม่
การเบิกความเท็จในการพิจารณาคดีอาญา ไม่ใช่เรื่องแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความแต่เป็นเรื่องเบิกความซึ่งศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจจดข้อความตอนใดหรือไม่จดก็ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความการจดจึงเป็นเรื่องของศาล ไม่ใช่เรื่องของพยานที่จะแจ้งให้ศาลจดข้อความอันเป็นเท็จ ซึ่งเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา267
จำเลยไม่ใช่นายช่วง แต่มาอ้างต่อศาลว่าเป็นนายช่วงและข้อเท็จจริงที่จำเลยเบิกความว่าได้รู้เห็นเหตุการณ์จำเลยก็มิได้รู้เห็นจริง กับจำเลยได้ลงนามปลอมว่า นายช่วง ในคำเบิกความที่ศาลจดไว้อีกด้วยความผิดฐานเบิกความเท็จสำเร็จได้โดยไม่ต้องอาศัยการลงนามปลอมการลงนามปลอมของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานปลอมเอกสารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 264 อีกด้วยแต่จำเลยหามีความผิดฐานปลอมเอกสารราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 265 อีกมาตราหนึ่งไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 561/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความผิดเบิกความเท็จ ปลอมเอกสาร และการตีความอัตราโทษจำคุกขั้นต่ำในประมวลกฎหมายอาญา
คำว่า ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไปในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 181(1) นี้ หมายถึงว่า อัตราโทษชั้นต่ำของความผิดนั้น จะต้องมีระวางโทษจำคุก 3 ปี เป็นอย่างน้อยที่สุด
การเบิกความเท็จในการพิจารณาคดีอาญาไม่ใช่เรื่องแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความ แต่เป็นเรื่องเบิกความซึ่งศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจจดข้อความตอนใดหรือไม่จดก็ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ การจดจึงเป็นเรื่องของศาล ไม่ใช่เรื่องของพยานที่จะแจ้งให้ศาลจดข้อความอันเป็นเท็จ ซึ่งเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 267
จำเลยไม่ใช่นายช่วง แต่มาอ้างต่อศาลว่าเป็นนายช่วง และข้อเท็จจริงที่จำเลยเบิกความว่าได้รู้เห็นเหตุการณ์ จำเลยก็มิได้รู้เห็นจริง กับจำเลยได้ลงนามปลอมว่า นายช่วง ในคำเบิกความที่ศาลจดไว้อีกด้วย ความผิดฐานเบิกความเท็จสำเร็จได้โดยไม่ต้องอาศัยการลงนามปลอม การลงนามปลอมของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานปลอมเอกสารตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 264 อีกด้วย แต่จำเลยหามีความผิดฐานปลอมเอกสารราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 265 อีกมาตราหนึ่งไม่
การเบิกความเท็จในการพิจารณาคดีอาญาไม่ใช่เรื่องแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความ แต่เป็นเรื่องเบิกความซึ่งศาลมีอำนาจใช้ดุลพินิจจดข้อความตอนใดหรือไม่จดก็ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ การจดจึงเป็นเรื่องของศาล ไม่ใช่เรื่องของพยานที่จะแจ้งให้ศาลจดข้อความอันเป็นเท็จ ซึ่งเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 267
จำเลยไม่ใช่นายช่วง แต่มาอ้างต่อศาลว่าเป็นนายช่วง และข้อเท็จจริงที่จำเลยเบิกความว่าได้รู้เห็นเหตุการณ์ จำเลยก็มิได้รู้เห็นจริง กับจำเลยได้ลงนามปลอมว่า นายช่วง ในคำเบิกความที่ศาลจดไว้อีกด้วย ความผิดฐานเบิกความเท็จสำเร็จได้โดยไม่ต้องอาศัยการลงนามปลอม การลงนามปลอมของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานปลอมเอกสารตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 264 อีกด้วย แต่จำเลยหามีความผิดฐานปลอมเอกสารราชการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 265 อีกมาตราหนึ่งไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 439/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเสียภาษีการค้าสำหรับค่าตอบแทนจากการจัดซื้อและผสมข้าว กรณีลูกจ้างไม่มีสถานการค้า
เมื่อบริษัทได้รับใบสั่งซื้อข้าวจากต่างประเทศบริษัทก็ให้โจทก์ทำการปนข้าวหรือผสมข้าวให้ได้ชั้นของข้าวตามมาตรฐาน โดยคิดค่าจ้างได้มาดังกล่าวนี้ โจทก์ไม่ต้องเสียภาษีการค้า
ตามประมวลรัษฎากร พ.ศ.2481 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2496 ในเรื่องภาษีการค้า มาตรา 78, 79 นั้น ผู้ที่จะต้องเสียภาษีการค้า คือ (1) จะต้องเป็นผู้ประกอบการค้า (2) จะต้องมีสถานการค้าด้วย เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่า โจทก์มีหน้าที่หาซื้อข้าวมาให้บริษัทที่ตนทำงานแห่งเดียวจะไปเที่ยวซื้อข้าวให้ผู้อื่นไม่ได้ ต้องทำงานอย่างลูกจ้างทุกประการ ไม่ใช่เป็นการประกอบการค้าเป็นส่วนของตนเอง รายได้ของโจทก์บริษัทไม่ได้จ่ายให้เป็นเงินเดือน หากจ่ายให้ตามจำนวนงานการที่ทำให้บริษัทได้มากหรือน้อย โดยเป็นประเพณีที่ผู้ขายจ่ายให้ผู้ซื้อกระสอบละ 1.09 บาท แล้วบริษัทเป็นผู้รับเงินประเภทซื้อจากผู้ขายแล้ว โจทก์ไม่สถานการค้า ดังนี้ โจทก์จึงมิใช่เป็นผู้ประกอบการค้าเป็นนายหน้าหรือตัวแทนบริษัทอันมีหน้าที่จะต้องจดทะเบียนการค้าหรือเสียภาษีการค้าตามมาตรา 81 และ 79 แต่อย่างใดไม่
อย่างไรก็ดี เงินที่โจทก์ได้รับ + ก็เป็นเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40(1) (2) แก้ไขโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2496 มาตรา 15
ตามประมวลรัษฎากร พ.ศ.2481 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2496 ในเรื่องภาษีการค้า มาตรา 78, 79 นั้น ผู้ที่จะต้องเสียภาษีการค้า คือ (1) จะต้องเป็นผู้ประกอบการค้า (2) จะต้องมีสถานการค้าด้วย เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่า โจทก์มีหน้าที่หาซื้อข้าวมาให้บริษัทที่ตนทำงานแห่งเดียวจะไปเที่ยวซื้อข้าวให้ผู้อื่นไม่ได้ ต้องทำงานอย่างลูกจ้างทุกประการ ไม่ใช่เป็นการประกอบการค้าเป็นส่วนของตนเอง รายได้ของโจทก์บริษัทไม่ได้จ่ายให้เป็นเงินเดือน หากจ่ายให้ตามจำนวนงานการที่ทำให้บริษัทได้มากหรือน้อย โดยเป็นประเพณีที่ผู้ขายจ่ายให้ผู้ซื้อกระสอบละ 1.09 บาท แล้วบริษัทเป็นผู้รับเงินประเภทซื้อจากผู้ขายแล้ว โจทก์ไม่สถานการค้า ดังนี้ โจทก์จึงมิใช่เป็นผู้ประกอบการค้าเป็นนายหน้าหรือตัวแทนบริษัทอันมีหน้าที่จะต้องจดทะเบียนการค้าหรือเสียภาษีการค้าตามมาตรา 81 และ 79 แต่อย่างใดไม่
อย่างไรก็ดี เงินที่โจทก์ได้รับ + ก็เป็นเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40(1) (2) แก้ไขโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 10) พ.ศ.2496 มาตรา 15
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 431/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกทรัพย์สินให้บุตรโดยพินัยกรรมหลังแบ่งมรดกแล้ว พินัยกรรมสมบูรณ์มีผลผูกพัน
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า ผู้ตายได้แบ่งที่พิพาท 2 แปลงให้บุตรทุกคนเป็นส่วนสัดไปแล้ว คงกันที่ไว้ทำกิน 2 แห่ง พินัยกรรมของผู้ตายที่ยกที่กันไว้ทำกินให้จำเลยนั้น เห็นว่าเป็นพินัยกรรมปลอม ไม่สมบูรณ์ จึงให้แบ่งที่ที่กันไว้นั้นแก่บุตรทั้ง 6 คน ให้โจทก์จำเลยได้คนละ 1 ส่วน ศาลอุทธรณ์เห็นว่า พินัยกรรมที่ผู้ตายทำไว้ใช้ได้โดยชอบ พิพากษาแก้ให้ที่ที่ผู้ตายกันไว้ทำกินทั้งหมดเป็นของจำเลย ถือว่าศาลอุทธรณ์แก้คำพิพากษาศาลชั้นต้นมาก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 431/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลของพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกที่ทำขึ้นหลังการแบ่งทรัพย์สินให้บุตรแล้ว
ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า ผู้ตายได้แบ่งที่พิพาท 2 แปลงให้บุตรทุกคนเป็นส่วนสัดไปแล้ว คงกันที่ไว้ทำกิน 2 แห่ง พินัยกรรมของผู้ตายที่ยกที่ที่กันไว้ทำกินให้จำเลยนั้นเห็นว่าเป็นพินัยกรรมปลอมไม่สมบูรณ์ จึงให้แบ่งที่ที่กันไว้นั้นแก่บุตรทั้ง 6 คน ให้โจทก์ จำเลยได้คนละ 1 ส่วน ศาลอุทธรณ์เห็นว่า พินัยกรรมที่ผู้ตายทำไว้ใช้ได้โดยชอบพิพากษาแก้ให้ที่ที่ผู้ตายกันไว้ทำกินทั้งหมดเป็นของจำเลยถือว่าศาลอุทธรณ์แก้คำพิพากษาศาลชั้นต้นมาก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 427/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรุกล้ำทางสาธารณะด้วยรั้วกีดขวางการใช้ทางของผู้อื่น เป็นการละเมิดและต้องชดใช้ค่าเสียหาย
การที่จำเลยขึงลวดหนามทำรั้วรุกล้ำเข้าไปในสาธารณะทำให้โจทก์ไม่สามารถใช้รถยนต์บรรทุกผ่านไปมาได้ตามปกตินั้น ถือว่าจำเลยได้กระทำละเมิด ต้องใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์