พบผลลัพธ์ทั้งหมด 664 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 672-673/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงระหว่างคู่ความในชั้นพิจารณาคดีมีผลผูกพันบังคับได้ และศาลมีอำนาจลดเบี้ยปรับที่สูงเกินไปได้
ข้อตกลงของคู่ความที่ศาลได้จดไว้ในรายงานกระบวนพิจารณาในระหว่างพิจารณาคดีว่า หากจำเลยชนะคดีและโจทก์ไม่รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างไปภายใน 3 วัน โจทก์ยอมใช้ค่าเสียหายให้วันละ 200 บาทนั้น เป็นเรื่องพิพาทกันในชั้นขอให้คุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างคดีก่อนมีคำพิพากษา คู่ความจึงขอให้บังคับตามข้อตกลงในคดีเดิมนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 264, 260(2)
ส่วนค่าเสียหายตามข้อตกลงนั้นถือว่าเป็นเบี้ยปรับ และศาลมีอำนาจลดลงได้ตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 383.
ส่วนค่าเสียหายตามข้อตกลงนั้นถือว่าเป็นเบี้ยปรับ และศาลมีอำนาจลดลงได้ตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 383.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 672-673/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงระหว่างคู่ความในชั้นพิจารณาคดีมีผลผูกพันบังคับได้ และศาลมีอำนาจลดเบี้ยปรับที่สูงเกินไปได้
ข้อตกลงของคู่ความที่ศาลได้จดไว้ในรายงานกระบวนพิจารณาในระหว่าง พิจารณาคดีว่า หากจำเลยชนะคดีและโจทก์ไม่รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างไปภายใน 3 วัน โจทก์ยอมใช้ค่าเสียหายให้วันละ 200 บาทนั้น เป็นเรื่องพิพาทกันในชั้นขอให้คุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างคดีก่อนมีคำพิพากษา คู่ความในระหว่างคดีก่อนมีคำพิพากษา คู่ความจึงขอให้บังคับตามข้อตกลงในคดีเดิมนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 264,260(2)
ส่วนค่าเสียหายตามข้อตกลงนั้นถือว่าเป็นเบี้ยปรับ และศาลมีอำนาจลดลงได้ตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 383
ส่วนค่าเสียหายตามข้อตกลงนั้นถือว่าเป็นเบี้ยปรับ และศาลมีอำนาจลดลงได้ตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 383
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 666-667/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับสภาพหนี้ของทายาทที่ถูกตัดสิทธิ และความรับผิดทางละเมิดจากการตัดต้นไม้ในที่ดินของผู้อื่น
เมื่อเจ้ามรดกตาย ที่ดินของเจ้ามรดกจึงตกได้แก่บุตรของเจ้ามรดกซึ่งเป็นทายาทโดยธรรมอันดับแรกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629ตัวพี่สาวของเจ้ามรดกย่อมถูกตัดออกจากทายาทตามมาตรา 1630
การที่พี่สาวของเจ้ามรดกก็ดี มารดาของเจ้ามรดกก็ดียอมรับสภาพหนี้ของเจ้ามรดกก็ย่อมไม่มีผลผูกพันบุตรของเจ้ามรดกเพราะไม่ได้เป็นผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1555,1556 อันสามารถทำนิติกรรมให้ผูกพันทรัพย์สินของผู้เยาว์
จำเลยเข้าไปตัดฟันต้นมะม่วงในที่ดินของผู้อื่นในขณะที่จำเลยยังไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและต้นมะม่วงนั้นการกระทำของจำเลยย่อมเป็นการละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420
การที่พี่สาวของเจ้ามรดกก็ดี มารดาของเจ้ามรดกก็ดียอมรับสภาพหนี้ของเจ้ามรดกก็ย่อมไม่มีผลผูกพันบุตรของเจ้ามรดกเพราะไม่ได้เป็นผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1555,1556 อันสามารถทำนิติกรรมให้ผูกพันทรัพย์สินของผู้เยาว์
จำเลยเข้าไปตัดฟันต้นมะม่วงในที่ดินของผู้อื่นในขณะที่จำเลยยังไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและต้นมะม่วงนั้นการกระทำของจำเลยย่อมเป็นการละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 595/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลจังหวัดในการรับคดีแขวง: ดุลพินิจต้องใช้เมื่อยื่นฟ้อง การพิจารณาจนเสร็จสิ้นถือเป็นการยอมรับคดี
อำนาจของศาลจังหวัดที่จะใช้ดุลพินิจสั่งรับหรือปฏิเสธไม่รับคดีซึ่งอยู่ในอำนาจของศาลแขวงตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 14(2) นั้น ศาลจังหวัดจะต้องสั่งเมื่อมีการยื่นคำฟ้องต่อศาลจังหวัดนั้น และการที่ศาลจังหวัดได้ดำเนินการพิจารณาจนเสร็จสำนวนแล้ว ย่อมแสดงว่าได้ใช้ดุลพินิจยอมรับคดีไว้อยู่ในตัวแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 595/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลจังหวัดสั่งรับคดีแขวง: ดุลพินิจและการพิจารณาคดี
อำนาจของศาลจังหวัดที่จะใช้ดุลพินิจสั่งรับหรือปฏิเสธไม่รับคดีซึ่งอยู่ในอำนาจของศาลแขวงตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมมาตรา 14(2) นั้น. ศาลจังหวัดจะต้องสั่งเมื่อมีการยื่นคำฟ้องต่อศาลจังหวัดนั้น และการที่ศาลจังหวัดได้ดำเนินการพิจารณาจนเสร็จสำนวนแล้ว ย่อมแสดงว่าได้ใช้ดุลพินิจยอมรับคดีไว้อยู่ในตัวแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 564/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลดโทษจำเลยในคดีฆ่าผู้อื่น จากการให้การรับสารภาพที่เป็นประโยชน์ต่อการพิจารณา
จำเลยใช้ปืนยิงผู้ตายที่โหนกแก้มซ้ายทะลุท้ายทอยล้มลงขาดใจตาย เมื่อจำเลยถูกจับกุมตัวได้ จำเลยได้ลุแก่โทษต่อเจ้าพนักงานตำรวจรับสารภาพผิดว่าได้ยิงผู้ตายจริง นับว่าเป็นประโยชน์แก่การพิจารณาของศาลอยู่ ดังนี้ สมควรถือเป็นเหตุบรรเทาโทษของจำเลยได้สถานหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 78
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 564/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลดโทษจำเลยในคดีอาญาจากการรับสารภาพ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาของศาล
จำเลยใช้ปืนยิงผู้ตายที่โหนกแก้มซ้ายทะลุท้ายทอยล้มลงขาดใจตาย เมื่อจำเลยถูกจับกุมตัวได้ จำเลยได้ลุแก่โทษต่อเจ้าพนักงานตำรวจ รับสารภาพผิดว่าได้ยิงผู้ตายจริง นับว่าเป็นประโยชน์แก่การพิจารณาของศาลอยู่ ดังนี้ สมควรถือเป็นเหตุบรรเทาโทษของจำเลยได้สถานหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 78.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 558/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายที่ดินเฉพาะส่วนในโฉนดร่วม: การตีความสัญญาและการโอนกรรมสิทธิ์
สัญญาระหว่างโจทก์จำเลยมีความว่า 'ผู้ขายเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินตามโฉนดที่ 9017 ร่วมกับผู้อื่นรวม 6 คนบัดนี้ ผู้ขายตกลงขายกรรมสิทธิ์ที่ดินเฉพาะส่วนของผู้ขายซึ่งมีอยู่ในโฉนดดังกล่าวแล้วแก่ผู้ซื้อในราคา 50,000 บาท การโอนที่ดินเฉพาะส่วนทั้งสองฝ่ายตกลงที่จะทำการโอนและรับโอนภายในเวลา 2 ปีที่ดินส่วนของผู้ขายที่จะขายนั้น ผู้ซื้อได้เช่าปลูกอาคารลงไว้แล้วก่อนวันทำสัญญานี้' ดังนี้ สัญญามีความหมายชัดเจนว่าโจทก์ซื้อเฉพาะส่วนของจำเลยที่มีอยู่ในโฉนดรวมกับผู้อื่นอีก 5 คน ส่วนของจำเลยนี้ก็คือหนึ่งในหกของที่ดินทั้งหมด ไม่มีข้อความตอนใดที่แสดงว่าหนึ่งในหกของที่ดินตอนที่โจทก์เช่าปลูกอาคารไว้แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 558/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายที่ดินเฉพาะส่วนของเจ้าของร่วม สัญญาชัดเจนถึงส่วนที่จะขาย แม้มีการเช่าปลูกอาคารไว้ก่อน
สัญญาระหว่างโจทก์จำเลยมีความว่า "ผู้ขายเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินตามโฉนดที่ 9017 ร่วมกับผู้อื่นรวม 6 คน บัดนี้ ผู้ขายตกลงขายกรรมสิทธิ์ที่ดินเฉพาะส่วนของผู้ขายซึ่งมีอยู่ในโฉนดดังกล่าวแล้วแก่ผู้ซื้อในราคา 50,000 บาท การโอนที่ดินเฉพาะส่วนทั้งสองฝ่ายตกลงที่จะทำการโอนและรับโอนภายในเวลา 2 ปี ที่ดินส่วนของผู้ขายที่จะขายนั้น ผู้ซื้อได้เช่าปลูกอาคารลงไว้แล้วก่อนวันทำสัญญานี้" ดังนี้ สัญญามีความหมายชัดเจนว่า โจทก์ซื้อเฉพาะส่วนของจำเลยที่มีอยู่ในโฉนดรวมกับผู้อื่นอีก 5 คน ส่วนของจำเลยนี้ก็คือหนึ่งในหกของที่ดินทั้งหมด ไม่มีข้อความตอนใดที่แสดงว่าหนึ่งในหกของที่ดินตอนที่โจทก์เช่าปลูกอาคารไว้แล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 545/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิของผู้ให้เช่าซื้อในการเรียกค่าเช่าซื้อค้างชำระ แม้จะบอกเลิกสัญญาเช่าซื้อแล้ว
เมื่อผู้เช่าซื้อผิดสัญญาเช่าซื้อ และผู้ให้เช่าซื้อบอกเลิกสัญญาแล้ว นอกจากมีสิทธิริบเงินค่าเช่าซื้อที่ชำระไว้แล้ว ผู้ให้เช่าซื้อยังมีสิทธิฟ้องเรียกเงินค่าเช่าซื้อที่ผู้เช่าซื้อยังค้างชำระอยู่ก่อนเลิกสัญญาได้ (อ้างฎีกาที่ 691/2501)