พบผลลัพธ์ทั้งหมด 509 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1136/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำฟ้องแพ่งเกี่ยวกับพินัยกรรมไม่เคลือบคลุม แม้ไม่ได้ระบุวันเดือนปีทำพินัยกรรม
คำบรรยายฟ้องที่ว่า ผู้ตายได้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์พิพาทให้โจทก์ จำเลยบุกรุกเพื่อจะเอาทรัพย์พิพาทเป็นของตน แม้จะมิได้บรรยายว่าพินัยกรรมทำวันเดือนปีใด และแม้จะมิได้แนบสำเนาพินัยกรรมมากับฟ้องด้วย ก็ไม่เป็นคำฟ้องที่เคลือบคลุม เพราะรายละเอียดเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ซึ่งต้องกล่าวในคำฟ้องคดีอาญา ไม่ใช่ข้อสารสำคัญที่จะต้องกล่าวในคำฟ้องคดีแพ่ง คำบรรยายฟ้องของโจทก์เพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาต่อสู้คดีได้พอสมควรแล้ว พินัยกรรมทำวันเดือนปีใด เป็นรายละเอียดที่อาจนำสืบได้ในชั้นพิจารณา.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1136/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความเคลือบคลุมของฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวกับพินัยกรรม: รายละเอียดวันเดือนปีไม่จำเป็นในคำฟ้อง
คำบรรยายฟ้องที่ว่า ผู้ตายได้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์พิพาทให้โจทก์ จำเลยบุกรุกเพื่อจะเอาทรัพย์พิพาทเป็นของตน แม้จะมิได้บรรยายว่าพินัยกรรมทำวันเดือนปีใด และแม้จะมิได้แนบสำเนาพินัยกรรมมากับฟ้องด้วย ก็เป็นคำฟ้องที่เคลือบคลุม เพราะรายละเอียดเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ซึ่งต้องกล่าวในคำฟ้องคดีอาญา ไม่ใช่ข้อสารสำคัญที่จะต้องกล่าวในคำฟ้องคดีแพ่ง คำบรรยายฟ้องของโจทก์เพียงพอที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาต่อสู้คดีได้พอสมควรแล้ว พินัยกรรมทำวันเดือนปีใด เป็นรายละเอียดที่อาจนำสืบได้ในชั้นพิจารณา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1115/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ฟ้องและขอบเขตการนำสืบพยาน: การนำสืบพยานโต้แย้งวันเกิดเหตุหลังแก้ฟ้องไม่ขัดแย้งกับคำให้การเดิม
เดิม โจทก์ฟ้องว่า เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2507 จำเลยที่ 2 ใช้จำเลยที่ 1 ให้ขับรถยนต์ของจำเลยที่ 2 ไปในกิจธุระของจำเลยที่ 2 และจำเลยที่ 1 ได้ทำการโดยประมาทเป็นเหตุให้รถยนต์ที่ขับชนรถจักรยานยนต์โจทก์เสียหาย จำเลยต่อสู้ว่า ตามวันที่โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 2 มิได้ใช้จำเลยที่ 1 เกี่ยวกับกิจธุระและมิได้ให้ความยินยอมให้จำเลยที่ 1 เอารถไปใช้ ต่อมาโจทก์ขอแก้วันที่เป็นวันที่ 18 พฤษภาคม 2507 แต่จำเลยมิได้ยื่นคำให้การขอแก้วันที่ให้ตรงตามที่โจทก์ขอแก้ฟ้อง ดังนี้ เมื่อเหตุการณ์ที่รถจำเลยชนรถโจทก์มีครั้งเดียว คือ วันที่โจทก์ขอแก้ฟ้องเท่านั้น จำเลยจึงนำสืบตามข้อต่อสู้ถึงวันที่จำเลยที่ 1 เอารถไปชนรถของโจทก์ได้ ไม่ขัดกับคำให้การ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1115/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ฟ้องและการนำสืบพยานนอกเหนือคำให้การเดิม หากเหตุการณ์มีเพียงครั้งเดียวและไม่ขัดแย้งกับคำให้การเดิม
เดิมโจทก์ฟ้องว่า เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2507 จำเลยที่ 2 ใช้จำเลยที่ 1 ให้ขับรถยนต์ของจำเลยที่ 2 ไปในกิจธุระของจำเลยที่ 2 และจำเลยที่ 1 ได้ทำการโดยประมาทเป็นเหตุให้รถยนต์ที่ขับชนรถจักรยานยนต์โจทก์เสียหาย จำเลยต่อสู้ว่า ตามวันที่โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 2 มิได้ใช้จำเลยที่ 1 เกี่ยวกับกิจธุระและมิได้ให้ความยินยอมให้จำเลยที่ 1 เอารถไปใช้ ต่อมาโจทก์ขอแก้วันที่เป็นวันที่ 18 พฤษภาคม 2507 แต่จำเลยมิได้ยื่นคำให้การขอแก้วันที่ให้ตรงตามที่โจทก์ขอแก้ฟ้อง ดังนี้ เมื่อเหตุการณ์ที่รถจำเลยชนรถโจทก์มีครั้งเดียวคือ วันที่โจทก์ขอแก้ฟ้องเท่านั้น จำเลยจึงนำสืบตามข้อต่อสู้ถึงวันที่จำเลยที่ 1 เอารถไปชนรถของโจทก์ได้ ไม่ขัดกับคำให้การ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1113/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภารจำยอมเกิดจากการใช้ทางต่อเนื่องเกิน 10 ปี เพื่อประโยชน์อสังหาริมทรัพย์ ไม่ใช่ประโยชน์ส่วนบุคคล
สิทธิการใช้ทางเดินอันตกเป็นภารจำยอมนั้นกฎหมายบัญญัติเพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์ ไม่ได้มุ่งเพื่อประโยชน์ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดโดยเฉพาะความสำคัญอยู่ที่ว่า ทางนั้นถูกใช้เพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์มาเกิน 10 ปีแล้ว ก็ย่อมใช้ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1113/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภารจำยอมเกิดจากการใช้ทางต่อเนื่องเกิน 10 ปี เพื่อประโยชน์ต่อทรัพย์สิน ไม่ใช่แค่บุคคล
สิทธิการใช้ทางเดินอันตกเป็นภารจำยอมนั้น กฎหมายบัญญัติเพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์ ไม่ได้มุ่งเพื่อประโยชน์ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดโดยเฉพาะ ความสำคัญอยู่ที่ว่าทางนั้นถูกใช้เพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์มาเกิน 10 ปีแล้ว ก็ย่อมใช้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1099/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งดำเนินคดีอาญาของนายอำเภอในฐานะกรรมการสุขาภิบาล: ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอมีอำนาจสั่งดำเนินคดีได้
จำเลยฎีกาว่า การดำเนินคดีอาญากับจำเลย นายอำเภอสั่งในตำแหน่งนายอำเภอไม่ได้ เพราะสุขาภิบาลเป็นนิติบุคคล ต้องสั่งในนามประธานกรรมการสุขาภิบาล ดังนี้ เป็นฎีกาปัญหาข้อกฎหมาย จำเลยย่อมฎีกาได้
ข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยเป็นข้าราชการพลเรือนชั้นจัตวาดำรงตำแหน่งเสมียนตราอำเภอ และโดยคำสั่งทางราชการให้ดำรงตำแหน่งและหน้าที่กรรมการสุขาภิบาลอีกด้วย หากฟังได้ว่าจำเลยได้รับเงินไว้แล้วไม่ลงบัญชี เป็นเหตุให้เงินขาดหายไปจากบัญชีซึ่งถือว่าทุจริตต่อหน้าที่ เบียดบังเอาทรัพย์ไป เมื่อจำเลยไม่ใช้เงินที่ขาดหายไป อันอยู่ในความรับผิดชอบของจำเลย ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงสั่งให้นายอำเภอดำเนินคดีกับจำเลย นายอำเภอได้สั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีก็ย่อมกระทำได้เพราะพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ.2495 นายอำเภอเป็นประธานกรรมการสุขาภิบาลโดยตำแหน่ง ที่นายอำเภอสั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีกับจำเลย จะถือว่านายอำเภอไม่ใช่สั่งในตำแหน่งประธานกรรมการสุขาภิบาลด้วยหาได้ไม่
ข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยเป็นข้าราชการพลเรือนชั้นจัตวาดำรงตำแหน่งเสมียนตราอำเภอ และโดยคำสั่งทางราชการให้ดำรงตำแหน่งและหน้าที่กรรมการสุขาภิบาลอีกด้วย หากฟังได้ว่าจำเลยได้รับเงินไว้แล้วไม่ลงบัญชี เป็นเหตุให้เงินขาดหายไปจากบัญชีซึ่งถือว่าทุจริตต่อหน้าที่ เบียดบังเอาทรัพย์ไป เมื่อจำเลยไม่ใช้เงินที่ขาดหายไป อันอยู่ในความรับผิดชอบของจำเลย ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงสั่งให้นายอำเภอดำเนินคดีกับจำเลย นายอำเภอได้สั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีก็ย่อมกระทำได้เพราะพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ.2495 นายอำเภอเป็นประธานกรรมการสุขาภิบาลโดยตำแหน่ง ที่นายอำเภอสั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีกับจำเลย จะถือว่านายอำเภอไม่ใช่สั่งในตำแหน่งประธานกรรมการสุขาภิบาลด้วยหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1099/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งดำเนินคดีอาญาต่อข้าราชการทุจริต: ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอในฐานะประธานกรรมการสุขาภิบาล
จำเลยฎีกาว่า การดำเนินคดีอาญากับจำเลยนายอำเภอสั่งในตำแหน่งนายอำเภอไม่ได้ เพราะสุขาภิบาลเป็นนิติบุคคล ต้องสั่งในนามประธานกรรมการสุขาภิบาล ดังนี้ เป็นฎีกาปัญหาข้อกฎหมายจำเลยย่อมฎีกาได้
ข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยเป็นข้าราชการพลเรือนชั้นจัตวา ดำรงตำแหน่งเสมียนตราอำเภอและโดยคำสั่งทางราชการให้ดำรงตำแหน่งและหน้าที่กรรมการสุขาภิบาลอีกด้วย หากฟังได้ว่าจำเลยได้รับเงินไว้ แล้วไม่ลงบัญชี เป็นเหตุให้เงินขาดหายไปจากบัญชี ซึ่งถือว่าทุจริตต่อหน้าที่ เบียดบังเอาทรัพย์ไปเมื่อจำเลยไม่ใช้เงินที่ขาดหายไป อันอยู่ในความรับผิดชอบของจำเลย ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงสั่งให้นายอำเภอดำเนินคดีกับจำเลย นายอำเภอได้สั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีก็ย่อมกระทำได้เพราะพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2495 นายอำเภอเป็นประธานกรรมการสุขาภิบาลโดยตำแหน่ง ที่นายอำเภอสั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีกับจำเลย จะถือว่านายอำเภอไม่ใช่สั่งในตำแหน่งประธานกรรมการสุขาภิบาลด้วยหาได้ไม่
ข้อเท็จจริงได้ความว่าจำเลยเป็นข้าราชการพลเรือนชั้นจัตวา ดำรงตำแหน่งเสมียนตราอำเภอและโดยคำสั่งทางราชการให้ดำรงตำแหน่งและหน้าที่กรรมการสุขาภิบาลอีกด้วย หากฟังได้ว่าจำเลยได้รับเงินไว้ แล้วไม่ลงบัญชี เป็นเหตุให้เงินขาดหายไปจากบัญชี ซึ่งถือว่าทุจริตต่อหน้าที่ เบียดบังเอาทรัพย์ไปเมื่อจำเลยไม่ใช้เงินที่ขาดหายไป อันอยู่ในความรับผิดชอบของจำเลย ผู้ว่าราชการจังหวัดจึงสั่งให้นายอำเภอดำเนินคดีกับจำเลย นายอำเภอได้สั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีก็ย่อมกระทำได้เพราะพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2495 นายอำเภอเป็นประธานกรรมการสุขาภิบาลโดยตำแหน่ง ที่นายอำเภอสั่งให้ปลัดอำเภอไปแจ้งความดำเนินคดีกับจำเลย จะถือว่านายอำเภอไม่ใช่สั่งในตำแหน่งประธานกรรมการสุขาภิบาลด้วยหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1030/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีมีทุนทรัพย์: ประเด็นกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็นหลัก คำขอขับไล่เป็นผลต่อเนื่อง ฎีกาข้อเท็จจริงต้องไม่เกินชั้นอุทธรณ์
ฟ้องว่าจำเลยบุกรุก ขอให้พิพากษาว่าที่พิพาทเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์และขอให้ขับไล่จำเลย จำเลยต่อสู้ว่าที่พิพาทเป็นของจำเลย ดังนี้ เป็นข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธิ์ จึงเป็นคดีมีทุนทรัพย์ แม้จะมีคำขอให้ขับไล่รวมอยู่ด้วย ก็เป็นเพียงผลต่อเนื่องในเรื่องกรรมสิทธิ์ที่พิพาทเท่านั้น ประเด็นสำคัญของคดีอยู่ที่ว่าที่พิพาทเป็นของใคร จึงถือไม่ได้ว่าเป็นคดีมีคำขออันไม่มีทุนทรัพย์แยกกันได้จากคำขอที่เป็นทุนทรัพย์ เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นและที่พิพาทมีราคาไม่เกิน 5,000 บาท คู่ความจึงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงมิได้ (อ้างคำสั่งคำร้องศาลฎีกาที่ 568/2504)
คดีก่อน โจทก์ฟ้องขอแบ่งมรดก คดีหลังโจทก์ฟ้องว่าจำเลยบุกรุกที่ดินที่ได้มาจากคดีก่อนเป็นคนละประเด็นไม่เป็นฟ้องซ้ำ
จำเลยต่อสู้ในศาลชั้นต้นว่า ฟ้องเคลือบคลุม แต่มิได้ยกขึ้นอ้างในชั้นศาลอุทธรณ์ดังนี้จะมาอ้างในชั้นศาลฎีกามิได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา249
คดีก่อน โจทก์ฟ้องขอแบ่งมรดก คดีหลังโจทก์ฟ้องว่าจำเลยบุกรุกที่ดินที่ได้มาจากคดีก่อนเป็นคนละประเด็นไม่เป็นฟ้องซ้ำ
จำเลยต่อสู้ในศาลชั้นต้นว่า ฟ้องเคลือบคลุม แต่มิได้ยกขึ้นอ้างในชั้นศาลอุทธรณ์ดังนี้จะมาอ้างในชั้นศาลฎีกามิได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา249
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1030/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีกรรมสิทธิ์ที่ดิน: ประเด็นทุนทรัพย์และข้อจำกัดการยกข้อต่อสู้ในชั้นฎีกา
ฟ้องว่าจำเลยบุกรุก ขอให้พิพากษาว่าที่พิพาทเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์และขอให้ขับไล่จำเลย จำเลยต่อสู้ว่าที่พิพาทเป็นจำเลย ดังนี้ เป็นข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธิ์ จึงเป็นคดีมีทุนทรัพย์ แม้จะมีคำขอให้ขับไล่รวมอยู่ด้วย ก็เป็นเพียงผลต่อเนื่องในเรื่องกรรมสิทธิ์ที่พิพาทเท่านั้น ประเด็นสำคัญของคดีอยู่ที่ว่าที่พิพาทเป็นของใคร จึงถือไม่ได้ว่าเป็นคดีมีคำขออันไม่มีทุนทรัพย์แยกกันได้จากคำขอที่เป็นทุนทรัพย์ เมื่อศาอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นและที่พิพาทมีราคาไม่เกิน 5,000 บาท คู่ความจึงฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงมิได้(อ้างคำสั่งคำร้องศาลฎีกาที่ 568/2504)
คดีก่อน โจทก์ฟ้องขอแบ่งมรดก คดีหลังโจทก์ฟ้องว่าจำเลยบุกรุกที่ดินที่ได้มาจากคดีก่อนเป็นคนละประเด็นไม่เป็นฟ้องซ้ำ
จำเลยต่อสู้ในศาลชั้นต้นว่า ฟ้องเคลือบคลุม แต่มิได้ยกขึ้นอ้างในชั้นศาลอุทธรณ์ ดังนี้ จะมาอ้างในชั้นศาลฎีกามิได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249
คดีก่อน โจทก์ฟ้องขอแบ่งมรดก คดีหลังโจทก์ฟ้องว่าจำเลยบุกรุกที่ดินที่ได้มาจากคดีก่อนเป็นคนละประเด็นไม่เป็นฟ้องซ้ำ
จำเลยต่อสู้ในศาลชั้นต้นว่า ฟ้องเคลือบคลุม แต่มิได้ยกขึ้นอ้างในชั้นศาลอุทธรณ์ ดังนี้ จะมาอ้างในชั้นศาลฎีกามิได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249