คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
มณี ชุติวงศ์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 615 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 808/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ดอกเบี้ยทบต้นในสัญญาธนาคารพาณิชย์: สัญญาค้ำประกันสมบูรณ์ใช้บังคับได้หากไม่ขัดกฎหมาย
โจทก์ซึ่งเป็นธนาคาร เป็นบริษัทจำกัดจดทะเบียนตามกฎหมายมีวัตถุประสงค์ประกอบการธนาคารพาณิชย์ มีประเพณีธนาคารคำนวณดอกเบี้ยทบต้น กรณีจึงต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 655 วรรคสอง โจทก์จึงย่อมคิดดอกเบี้ยทบต้นในจำนวนเงินที่จำเลยที่ 1 ทำสัญญากู้ยืมโดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ได้เมื่อจำเลยที่ 2 ที่ 3 ทำสัญญาค้ำประกันสัญญาระหว่างโจทก์จำเลยที่ 2 ที่ 3จึงสมบูรณ์ใช้บังคับได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีของธนาคารโจทก์ โดยใช้เช็คเบิกเงินและรับเงินไปจากธนาคารโจทก์ ทั้งจำเลยได้เคยนำเงินเข้าบัญชีเป็นบางครั้งเอกสารการเงินนี้เป็นชุดและจำนวนมากด้วยกัน จะนำส่งในวันพิจารณาจำเลยค้างดอกเบี้ยจนถึงวันฟ้องอยู่เป็นเงินทั้งสิ้น 7,290.79 บาท รวมต้นเงินและดอกเบี้ย จำเลยค้างอยู่ทั้งสิ้น 57,290.79 บาท คำฟ้องจึงแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์ และคำขอบังคับทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 แล้ว
จำเลยที่ 2 ที่ 3 อ้างในฎีกาว่าจำเลยที่ 1 ได้นำเงินที่ขายรถยนต์ที่เอามาเป็นประกันเงินที่จำเลยที่ 1กู้ยืมไปจากโจทก์มาฝากไว้กับธนาคารโจทก์เกินกว่าจำนวนเงินที่จำเลยที่ 1 เป็นหนี้โจทก์ดังนี้ ข้ออ้างของจำเลยที่ 2ที่ 3 ที่ว่าโจทก์เพิกเฉยต่อทรัพย์สินที่จำเลยที่ 1 นำมาประกันเงินกู้ของโจทก์เป็นเหตุให้จำเลยที่ 1 โอนทรัพย์สินของตนพ้นจากการถูกบังคับชำระหนี้ไม่ชอบที่ศาลบังคับผู้ค้ำประกันให้ชำระหนี้แทนจำเลยที่ 1 นั้น จึงฟังไม่ขึ้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 808/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาค้ำประกันสมบูรณ์ แม้คิดดอกเบี้ยทบต้นตามประเพณีธนาคาร และฟ้องเคลือบคลุมไม่เป็นเหตุให้สัญญาเป็นโมฆะ
โจทก์ซึ่งเป็นธนาคาร เป็นบริษัทจำกัดจดทะเบียนตามกฎหมาย.มีวัตถุประสงค์ประกอบการธนาคารพาณิชย์. มีประเพณีธนาคารคำนวณดอกเบี้ยทบต้น. กรณีจึงต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 655 วรรคสอง. โจทก์จึงย่อมคิดดอกเบี้ยทบต้นในจำนวนเงินที่จำเลยที่ 1 ทำสัญญากู้ยืมโดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ได้. เมื่อจำเลยที่ 2 ที่ 3 ทำสัญญาค้ำประกัน. สัญญาระหว่างโจทก์จำเลยที่ 2 ที่ 3 จึงสมบูรณ์ใช้บังคับได้.
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีของธนาคารโจทก์ โดยใช้เช็คเบิกเงินและรับเงินไปจากธนาคารโจทก์. ทั้งจำเลยได้เคยนำเงินเข้าบัญชีเป็นบางครั้ง.เอกสารการเงินนี้เป็นชุดและจำนวนมากด้วยกัน จะนำส่งในวันพิจารณา. จำเลยค้างดอกเบี้ยจนถึงวันฟ้องอยู่เป็นเงินทั้งสิ้น 7,290.79 บาท รวมต้นเงินและดอกเบี้ย จำเลยค้างอยู่ทั้งสิ้น 57,290.79 บาท. คำฟ้องจึงแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์ และคำขอบังคับทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 แล้ว.
จำเลยที่ 2 ที่ 3 อ้างในฎีกาว่าจำเลยที่ 1 ได้นำเงินที่ขายรถยนต์ที่เอามาเป็นประกันเงินที่จำเลยที่ 1กู้ยืมไปจากโจทก์มาฝากไว้กับธนาคารโจทก์เกินกว่าจำนวนเงินที่จำเลยที่ 1 เป็นหนี้โจทก์. ดังนี้ ข้ออ้างของจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ว่าโจทก์เพิกเฉยต่อทรัพย์สินที่จำเลยที่ 1 นำมาประกันเงินกู้ของโจทก์. เป็นเหตุให้จำเลยที่ 1 โอนทรัพย์สินของตนพ้นจากการถูกบังคับชำระหนี้. ไม่ชอบที่ศาลบังคับผู้ค้ำประกันให้ชำระหนี้แทนจำเลยที่ 1 นั้น จึงฟังไม่ขึ้น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 808/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ดอกเบี้ยทบต้นในสัญญาธนาคารพาณิชย์ และความสมบูรณ์ของสัญญาค้ำประกัน
โจทก์ซึ่งเป็นธนาคาร เป็นบริษัทจำกัดจดทะเบียนตามกฎหมาย.มีวัตถุประสงค์ประกอบการธนาคารพาณิชย์. มีประเพณีธนาคารคำนวณดอกเบี้ยทบต้น กรณีจึงต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 655 วรรค 2 โจทก์จึงย่อมคิดดอกเบี้ยทบต้นในจำนวนเงินที่จำเลยที่ 1 ทำสัญญากู้ยืมโดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ได้ เมื่อจำเลยที่ 2 ที่ 3 ทำสัญญาค้ำประกัน สัญญาระหว่างโจทก์จำเลยที่ 2 ที่ 3 จึงสมบูรณ์ใช้บังคับได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีของธนาคารโจทก์ โดยใช้เช็คเบิกเงินและรับเงินไปจากธนาคารโจทก์ ทั้งจำเลยได้เคยนำเงินเข้าบัญชีเป็นบางครั้ง.เอกสารการเงินนี้เป็นชุดและจำนวนมากด้วยกัน จะนำส่งในวันพิจารณา จำเลยค้างดอกเบี้ยจนถึงวันฟ้องอยู่เป็นเงินทั้งสิ้น 7,290.79 บาท รวมต้นเงินและดอกเบี้ย จำเลยค้างอยู่ทั้งสิ้น 57,290.79 บาท คำฟ้องจึงแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์ และคำขอบังคับทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172 แล้ว
จำเลยที่ 2 ที่ 3 อ้างในฎีกาว่าจำเลยที่ 1 ได้นำเงินที่ขายรถยนต์ที่เอามาเป็นประกันเงินที่จำเลยที่ 1กู้ยืมไปจากโจทก์มาฝากไว้กับธนาคารโจทก์เกินกว่าจำนวนเงินที่จำเลยที่ 1 เป็นหนี้โจทก์ ดังนี้ ข้ออ้างของจำเลยที่ 2 ที่ 3 ที่ว่าโจทก์เพิกเฉยต่อทรัพย์สินที่จำเลยที่ 1 นำมาประกันเงินกู้ของโจทก์ เป็นเหตุให้จำเลยที่ 1 โอนทรัพย์สินของตนพ้นจากการถูกบังคับชำระหนี้ ไม่ชอบที่ศาลบังคับผู้ค้ำประกันให้ชำระหนี้แทนจำเลยที่ 1 นั้น จึงฟังไม่ขึ้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 348/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การทำพินัยกรรมโดยมีสติสัมปชัญญะ และการพิพากษาความสมบูรณ์ของพินัยกรรมเฉพาะส่วนที่เป็นสินบริคณห์
โจทก์ฟ้องว่า ผู้ตายซึ่งเป็นสามีโจทก์ทำพินัยกรรมในขณะมีสติไม่สมบูรณ์ เพราะได้เอาสินบริคณห์หลายอย่างไปยกให้จำเลยขอให้พิพากษาทำลายพินัยกรรมทั้งฉบับ
ศาลฎีกาฟังว่า ผู้ตายทำพินัยกรรมโดยมีสติสมบูรณ์ แต่จำเลยให้การรับว่ามีทรัพย์รายการหนึ่งที่เป็นสินบริคณห์ระหว่างผู้ตายกับโจทก์ดังนี้ ย่อมพิพากษาว่าพินัยกรรมเฉพาะส่วนในรายการนั้นที่เป็นของโจทก์ไม่สมบูรณ์ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 348/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ พินัยกรรมสินบริคณห์: การพิพากษาเฉพาะส่วนเมื่อจำเลยรับสภาพ
โจทก์ฟ้องว่า ผู้ตายซึ่งเป็นสามีโจทก์ทำพินัยกรรมในขณะมีสติไม่สมบูรณ์. เพราะได้เอาสินบริคณห์หลายอย่างไปยกให้จำเลย. ขอให้พิพากษาทำลายพินัยกรรมทั้งฉบับ.
ศาลฎีกาฟังว่า ผู้ตายทำพินัยกรรมโดยมีสติสมบูรณ์ แต่จำเลยให้การรับว่ามีทรัพย์รายการหนึ่งที่เป็นสินบริคณห์ระหว่างผู้ตายกับโจทก์. ดังนี้ ย่อมพิพากษาว่าพินัยกรรมเฉพาะส่วนในรายการนั้นที่เป็นของโจทก์ไม่สมบูรณ์ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 348/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ พินัยกรรมที่ยกสินบริคณห์ให้ผู้อื่น ศาลพิจารณาความสมบูรณ์ของพินัยกรรมเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับสินบริคณห์
โจทก์ฟ้องว่า ผู้ตายซึ่งเป็นสามีโจทก์ทำพินัยกรรมในขณะมีสติไม่สมบูรณ์ เพราะได้เอาสินบริคณห์หลายอย่างไปยกให้จำเลย ขอให้พิพากษาทำลายพินัยกรรมทั้งฉบับ
ศาลฎีกาฟังว่า ผู้ตายทำพินัยกรรมโดยมีสติสมบูรณ์ แต่จำเลยให้การรับว่ามีทรัพย์รายการหนึ่งที่เป็นสินบริคณห์ระหว่างผู้ตายกับโจทก์ ดังนี้ ย่อมพิพากษาว่าพินัยกรรมเฉพาะส่วนในรายการนั้นที่เป็นของโจทก์ไม่สมบูรณ์ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 169/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิโต้แย้งคำสั่งศาลและการขอเลื่อนคดีเพื่อสืบพยานจำเลย: การให้โอกาสคู่ความในการปกป้องสิทธิ
คำสั่งระหว่างพิจารณา คู่ความจะต้องโต้แย้งคำสั่งนั้นไว้เสียก่อน จึงจะอุทธรณ์คำสั่งนั้นได้ในภายหลัง แต่ศาลต้องให้คู่ความมีโอกาสและมีเวลาพอสมควรที่จะโต้แย้งคำสั่งนั้นได้
จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่ให้จำเลยอ้างตนเองเป็นพยานและนัดตัดสินในวันรุ่งขึ้น ดังนี้ ถือได้ว่าจำเลยไม่มีเวลาที่จะโต้แย้งคำสั่งศาลชั้นต้นได้ แม้จำเลยไม่ได้โต้แย้งคำสั่งของศาลชั้นต้น ก็มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งนั้นได้
จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ ในวันสืบพยานโจทก์จำเลยไม่ได้มาศาล คงมาแต่ทนายจำเลย เมื่อสืบพยานโจทก์แล้ว ทนายจำเลยย่อมมีสิทธิขอเลื่อนคดีเพื่อให้โอกาสจำเลยสาบานตนให้การเป็นพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 วรรค 2 ได้ แม้จำเลยจะไม่ได้ยื่นคำร้องขอยื่นคำให้การ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 169/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คำสั่งระหว่างพิจารณาและการสิทธิในการโต้แย้ง/อุทธรณ์ รวมถึงสิทธิในการเบิกความของจำเลย
คำสั่งระหว่างพิจารณา คู่ความจะต้องโต้แย้งคำสั่งนั้นไว้เสียก่อน จึงจะอุทธรณ์คำสั่งนั้นได้ในภายหลังแต่ศาลต้องให้คู่ความมีโอกาสและมีเวลาพอสมควรที่จะโต้แย้งคำสั่งนั้นได้
จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่ให้จำเลยอ้างตนเองเป็นพยานและนัดตัดสินในวันรุ่งขึ้น ดังนี้ ถือได้ว่าจำเลยไม่มีเวลาที่จะโต้แย้งคำสั่งศาลชั้นต้นได้แม้จำเลยไม่ได้โต้แย้งคำสั่งของศาลชั้นต้น ก็มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งนั้นได้
จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ ในวันสืบพยานโจทก์จำเลยไม่ได้มาศาล คงมาแต่ทนายจำเลย เมื่อสืบพยานโจทก์แล้วทนายจำเลยย่อมมีสิทธิขอเลื่อนคดีเพื่อให้โอกาสจำเลยสาบานตนให้การเป็นพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 วรรคสอง ได้ แม้จำเลยจะไม่ได้ยื่นคำร้องขอยื่นคำให้การ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 169/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิโต้แย้งคำสั่งศาล & สิทธิในการเบิกความ: ศาลต้องให้เวลาคู่ความพอสมควรในการโต้แย้งคำสั่ง และอนุญาตให้คู่ความเบิกความได้
คำสั่งระหว่างพิจารณา คู่ความจะต้องโต้แย้งคำสั่งนั้นไว้เสียก่อน จึงจะอุทธรณ์คำสั่งนั้นได้ในภายหลัง. แต่ศาลต้องให้คู่ความมีโอกาสและมีเวลาพอสมควรที่จะโต้แย้งคำสั่งนั้นได้.
จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งไม่ให้จำเลยอ้างตนเองเป็นพยานและนัดตัดสินในวันรุ่งขึ้น. ดังนี้ ถือได้ว่าจำเลยไม่มีเวลาที่จะโต้แย้งคำสั่งศาลชั้นต้นได้.แม้จำเลยไม่ได้โต้แย้งคำสั่งของศาลชั้นต้น. ก็มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งนั้นได้.
จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ ในวันสืบพยานโจทก์จำเลยไม่ได้มาศาล. คงมาแต่ทนายจำเลย เมื่อสืบพยานโจทก์แล้ว. ทนายจำเลยย่อมมีสิทธิขอเลื่อนคดีเพื่อให้โอกาสจำเลยสาบานตนให้การเป็นพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199วรรคสอง ได้ แม้จำเลยจะไม่ได้ยื่นคำร้องขอยื่นคำให้การ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1213/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขอเฉลี่ยหนี้จากการขายทอดตลาดต้องยื่นภายใน 14 วันนับจากวันขายทอดตลาด
ในกรณีที่ยึดทรัพย์สินเพื่อขายทอดตลาด ผู้ร้องจะต้องขอเฉลี่ยภายในสิบสี่วันนับแต่วันขายทอดตลาดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 290 ศาลชั้นต้นขายทอดตลาดทรัพย์ของจำเลยไปในวันที่ 10 มีนาคม 2509 ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำสั่งที่ให้ขายทอดตลาดทรัพย์ของศาลชั้นต้น จึงต้องถือว่าวันขายทอดตลาดทรัพย์คือวันที่ 10 มีนาคม 2509 แต่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอเฉลี่ยเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2509 จึงเกินกำหนดเวลาที่ผู้ร้องจะยื่นขอเฉลี่ยได้
of 62