คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
สวิง ลัดพลี

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,124 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1990/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การส่งหมายเรียกจำเลยต่างชาติ การมีภูมิลำเนาต่างประเทศมีผลต่อการดำเนินคดีในไทย
การลงโฆษณาหมายเรียกจำเลยทางหนังสือพิมพ์นั้น ย่อมมีผลเฉพาะจำเลยซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย หรือได้เข้ามาอยู่ในประเทศไทยชั่วคราวในระหว่างระยะเวลาที่ได้มีการลงโฆษณา
จำเลยเป็นบุคคลสัญชาติมาเลเซีย มีภูมิลำเนาอยู่ที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อพนักงานสอบสวนปล่อยตัวจำเลย จำเลยกลับไปประเทศมาเลเซียก่อนศาลชั้นต้นลงโฆษณาหมายเรียกจำเลย และไม่ปรากฏว่าหลังจากนั้น จำเลยได้กลับมาในประเทศไทยอีก ดังนี้ ถือไม่ได้ว่าได้มีการส่งหมายเรียกให้แก่จำเลยในประเทศโดยชอบแล้ว ศาลจึงดำเนินคดีต่อไปไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1990/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การส่งหมายเรียกจำเลยชาวต่างชาติที่มีภูมิลำเนาต่างประเทศ การส่งหมายทางหนังสือพิมพ์มีผลเฉพาะจำเลยที่มีภูมิลำเนาในไทย
การลงโฆษณาหมายเรียกจำเลยทางหนังสือพิมพ์นั้น ย่อมมีผลเฉพาะจำเลยซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย หรือได้เข้ามาอยู่ในประเทศไทยชั่วคราวในระหว่างระยะเวลาที่ได้มีการลงโฆษณา
จำเลยเป็นบุคคลสัญชาติมาเลเซีย มีภูมิลำเนาอยู่ที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อพนักงานสอบสวนปล่อยตัวจำเลย จำเลยกลับไปประเทศมาเลเซียก่อนศาลชั้นต้นลงโฆษณาหมายเรียกจำเลย และไม่ปรากฏว่าหลังจากนั้น จำเลยได้กลับมาในประเทศไทยอีก ดังนี้ ถือไม่ได้ว่าได้มีการส่งหมายเรียกให้แก่จำเลยในประเทศโดยชอบแล้ว ศาลจึงดำเนินคดีต่อไปไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1990/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การส่งหมายเรียกจำเลยต่างชาติ การมีภูมิลำเนาในไทยเป็นสำคัญ
การลงโฆษณาหมายเรียกจำเลยทางหนังสือพิมพ์นั้น. ย่อมมีผลเฉพาะจำเลยซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย หรือได้เข้ามาอยู่ในประเทศไทยชั่วคราวในระหว่างระยะเวลาที่ได้มีการลงโฆษณา.
จำเลยเป็นบุคคลสัญชาติมาเลเซีย. มีภูมิลำเนาอยู่ที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย. เมื่อพนักงานสอบสวนปล่อยตัวจำเลย จำเลยกลับไปประเทศมาเลเซียก่อนศาลชั้นต้นลงโฆษณาหมายเรียกจำเลย และไม่ปรากฏว่าหลังจากนั้น จำเลยได้กลับมาในประเทศไทยอีก. ดังนี้ ถือไม่ได้ว่าได้มีการส่งหมายเรียกให้แก่จำเลยในประเทศโดยชอบแล้ว ศาลจึงดำเนินคดีต่อไปไม่ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1958/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การให้การของผู้ค้ำประกัน สัญญาประนีประนอม และประเด็นข้อกฎหมายที่มิได้ยกขึ้นต่อสู้ การวินิจฉัยนอกประเด็น
คำให้การของจำเลยมิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่าสัญญาประนีประนอมระหว่างโจทก์กับลูกหนี้ในคดีเรื่องก่อน ทำให้หนี้ตามสัญญากู้ระงับสิ้นไป อันทำให้จำเลยผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698. คำให้การจำเลยกล่าวแต่เพียงว่าสัญญาประนีประนอมยอมผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ ส. ลูกหนี้.ทำให้จำเลยหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 700 เท่านั้น. ยิ่งกว่านั้น ในการชี้สองสถาน จำเลยยังแถลงรับว่า ที่จำเลยไม่ต้องรับผิดก็เพราะโจทก์ยอมผ่อนเวลาให้ ส. โดยจำเลยมิได้ยินยอม. การที่โจทก์นำคดีมาฟ้องจำเลยอีกทั้งที่โจทก์ได้ฟ้อง ส. และทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันแล้ว ย่อมเป็นฟ้องซ้ำ. ดังนี้ คำแถลงรับของจำเลยประกอบคำให้การสู้คดี ทำให้เห็นได้ชัดแจ้งว่า จำเลยมิได้ประสงค์จะยกประเด็นข้อกฎหมายว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ. อันทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 ขึ้นสู้คดี. จำเลยจึงมิได้บรรยายไว้โดยชัดแจ้งในคำให้การเพียงแต่จำเลยสรุปไว้ท้ายคำให้การว่า จำเลยไม่ต้องรับผิดโดยหลักกฎหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 698,850,851,852. ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 177 จึงไม่ทำให้เกิดประเด็นข้อนี้.
เมื่อถือว่าจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 แล้ว. การที่ศาลชั้นต้นหยิบยกประเด็นข้อนี้ขึ้นวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ จึงเป็นการนอกประเด็น. คู่ความจะยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกาต่อมาไม่ได้. (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2511).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1958/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การให้การต่อสู้คดีของผู้ค้ำประกัน และผลของการไม่ยกประเด็นระงับหนี้ตามสัญญาประนีประนอม
คำให้การของจำเลยมิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่าสัญญาประนีประนอมระหว่างโจทก์กับลูกหนี้ในคดีเรื่องก่อน ทำให้หนี้ตามสัญญากู้ระงับสิ้นไป อันทำให้จำเลยผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 คำให้การจำเลยกล่าวแต่เพียงว่าสัญญาประนีประนอมยอมผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ ส. ลูกหนี้ทำให้จำเลยหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 700 เท่านั้น ยิ่งกว่านั้น ในการชี้สองสถาน จำเลยยังแถลงรับว่า ที่จำเลยไม่ต้องรับผิดก็เพราะโจทก์ยอมผ่อนเวลาให้ ส. โดยจำเลยมิได้ยินยอม การที่โจทก์นำคดีมาฟ้องจำเลยอีกทั้งที่โจทก์ได้ฟ้อง ส. และทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันแล้ว ย่อมเป็นฟ้องซ้ำ ดังนี้ คำแถลงรับของจำเลยประกอบคำให้การสู้คดี ทำให้เห็นได้ชัดแจ้งว่า จำเลยมิได้ประสงค์จะยกประเด็นข้อกฎหมายว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ อันทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 ขึ้นสู้คดี จำเลยจึงมิได้บรรยายไว้โดยชัดแจ้งในคำให้การเพียงแต่จำเลยสรุปไว้ท้ายคำให้การว่า จำเลยไม่ต้องรับผิดโดยหลักกฎหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 698,850,851,852 ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 177 จึงไม่ทำให้เกิดประเด็นข้อนี้
เมื่อถือว่าจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 แล้วการที่ศาลชั้นต้นหยิบยกประเด็นข้อนี้ขึ้นวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ จึงเป็นการนอกประเด็น คู่ความจะยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกาต่อมาไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2511)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1958/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกข้อต่อสู้เรื่องสัญญาประนีประนอมยอมความระงับหนี้ค้ำประกัน: การให้การไม่ชัดเจนทำให้ประเด็นไม่เกิด
คำให้การของจำเลยมิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่าสัญญาประนีประนอมระหว่างโจทก์กับลูกหนี้ในคดีเรื่องก่อน ทำให้หนี้ตามสัญญากู้ระงับสิ้นไป อันทำให้จำเลยผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 คำให้การจำเลยกล่าวแต่เพียงว่าสัญญาประนีประนอมยอมผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ ส. ลูกหนี้ทำให้จำเลยหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 700 เท่านั้น ยิ่งกว่านั้น ในการชี้สองสถาน จำเลยยังแถลงรับว่า ที่จำเลยไม่ต้องรับผิดก็เพราะโจทก์ยอมผ่อนเวลาให้ ส. โดยจำเลยมิได้ยินยอม การที่โจทก์นำคดีมาฟ้องจำเลยอีกทั้งที่โจทก์ได้ฟ้อง ส. และทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันแล้ว ย่อมเป็นฟ้องซ้ำ ดังนี้ คำแถลงรับของจำเลยประกอบคำให้การสู้คดี ทำให้เห็นได้ชัดแจ้งว่า จำเลยมิได้ประสงค์จะยกประเด็นข้อกฎหมายว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ อันทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 ขึ้นสู้คดี จำเลยจึงมิได้บรรยายไว้โดยชัดแจ้งในคำให้การเพียงแต่จำเลยสรุปไว้ท้ายคำให้การว่า จำเลยไม่ต้องรับผิดโดยหลักกฎหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 698, 850, 851, 852 ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 177 จึงไม่ทำให้เกิดประเด็นข้อนี้
เมื่อถือว่าจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 แล้ว การที่ศาลชั้นต้นหยิบยกประเด็นข้อนี้ขึ้นวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ จึงเป็นการนอกประเด็น คู่ความจะยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกาต่อมาไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2511)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1927-1957/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าหมดอายุ สิทธิเช่าต่อขึ้นอยู่กับความยินยอมของผู้ให้เช่า ไม่ผูกพันตามสัญญาเดิม
ข้อความในสัญญาเช่าที่ว่า เมื่อหมดอายุสัญญาเช่านี้ผู้เช่ามีความประสงค์เช่าต่อต้องทำหนังสือสัญญาเช่ากันใหม่ภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันหมดอายุสัญญาเช่า. หากพ้นกำหนดผู้เช่าไม่ไปทำสัญญาเช่าต่อ. ถือว่าผู้เช่าสละสิทธินั้น. หาได้มีความหมายว่า โจทก์จะต้องยินยอมให้จำเลยทำสัญญาต่ออายุการเช่าใหม่ไม่. เพราะไม่มีข้อความแสดงว่าผู้ให้เช่าจำต้องยอมให้ผู้เช่าทำการเช่าตามกำหนดเวลาและเงื่อนไขของสัญญาเดิมแต่อย่างใด. ดังนี้ โจทก์จึงไม่มีความผูกพันที่จะต้องให้จำเลยเช่าต่อ. แม้จำเลยจะได้แจ้งความประสงค์ต่อโจทก์แล้วก็ตาม.
แม้สัญญานี้จะเป็นสัญญาต่างตอบแทนอย่างหนึ่ง แต่เมื่อจำเลยมิได้แสดงให้ศาลเห็นว่าสัญญาต่างตอบแทนรายนี้มีกำหนดเวลาการเช่าเกินกว่า 3 ปี. สัญญาต่างตอบแทนนี้จึงมีกำหนดเวลาเพียง 3 ปี เท่าที่ปรากฏในสัญญาเช่านั้นเท่านั้น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1927-1957/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าหมดอายุ ผู้ให้เช่าไม่ผูกพันต่ออายุสัญญา แม้ผู้เช่าแสดงเจตนาขอเช่าต่อ สัญญาต่างตอบแทนมีกำหนดเวลา 3 ปี
ข้อความในสัญญาเช่าที่ว่า เมื่อหมดอายุสัญญาเช่านี้ผู้เช่ามีความประสงค์เช่าต่อต้องทำหนังสือสัญญาเช่ากันใหม่ภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันหมดอายุสัญญาเช่า หากพ้นกำหนดผู้เช่าไม่ไปทำสัญญาเช่าต่อ ถือว่าผู้เช่าสละสิทธินั้น หาได้มีความหมายว่า โจทก์จะต้องยินยอมให้จำเลยทำสัญญาต่ออายุการเช่าใหม่ไม่ เพราะไม่มีข้อความแสดงว่าผู้ให้เช่าจำต้องยอมให้ผู้เช่าทำการเช่าตามกำหนดเวลาและเงื่อนไขของสัญญาเดิมแต่อย่างใด. ดังนี้ โจทก์จึงไม่มีความผูกพันที่จะต้องให้จำเลยเช่าต่อ แม้จำเลยจะได้แจ้งความประสงค์ต่อโจทก์แล้วก็ตาม
แม้สัญญานี้จะเป็นสัญญาต่างตอบแทนอย่างหนึ่ง แต่เมื่อจำเลยมิได้แสดงให้ศาลเห็นว่าสัญญาต่างตอบแทนรายนี้มีกำหนดเวลาการเช่าเกินกว่า 3 ปี สัญญาต่างตอบแทนนี้จึงมีกำหนดเวลาเพียง 3 ปี เท่าที่ปรากฏในสัญญาเช่านั้นเท่านั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1927-1957/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าหมดอายุ สิทธิเช่าต่อขึ้นอยู่กับความยินยอมของผู้ให้เช่า ไม่ผูกพันตามสัญญา
ข้อความในสัญญาเช่าที่ว่า เมื่อหมดอายุสัญญาเช่านี้ผู้เช่ามีความประสงค์เช่าต่อต้องทำหนังสือสัญญาเช่ากันใหม่ภายในกำหนด 15 วัน นับแต่วันหมดอายุสัญญาเช่า หากพ้นกำหนดผู้เช่าไม่ไปทำสัญญาเช่าต่อ ถือว่าผู้เช่าสละสิทธินั้น หาได้มีความหมายว่า โจทก์จะต้องยินยอมให้จำเลยทำสัญญาต่ออายุการเช่าใหม่ไม่ เพราะไม่มีข้อความแสดงว่าผู้ให้เช่าจำต้องยอมให้ผู้เช่าทำการเช่าตามกำหนดเวลาและเงื่อนไขของสัญญาเดิมแต่อย่างใด ดังนี้ โจทก์จึงไม่มีความผูกพันที่จะต้องให้จำเลยเช่าต่อ แม้จำเลยจะได้แจ้งความประสงค์ต่อโจทก์แล้วก็ตาม
แม้สัญญานี้จะเป็นสัญญาต่างตอบแทนอย่างหนึ่ง แต่เมื่อจำเลยมิได้แสดงให้ศาลเห็นว่าสัญญาต่างตอบแทนรายนี้มีกำหนดเวลาการเช่าเกินกว่า 3 ปี สัญญาต่างตอบแทนนี้จึงมีกำหนดเวลาเพียง 3 ปี เท่าที่ปรากฏในสัญญาเช่านั้นเท่านั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1912/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกระทำความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา แต่เป็นการป้องกันตัวที่สมควรแก่เหตุ
ผู้ตายถือปืนจ้องไปที่จำเลยที่ 1 เป็นเหตุให้จำเลยที่ 1 เข้าใจว่าผู้ตายจะยิงทำร้ายจำเลยที่ 1 จึงจับปืนผลักผู้ตายเซหมุนตัวไป แล้วแทงถูกด้านหลังผู้ตาย การกระทำของจำเลยที่ 1 เป็นการป้องกันตัวให้พ้นภยันตรายที่จะได้รับและพอสมควรแก่เหตุ
เมื่อจำเลยที่ 1 แทงแล้วก็วิ่งหนี ผู้ตายถือปืนไล่ยิงจำเลยที่ 1 พอผ่านจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2 จึงใช้มีดแทงกลางหลังผู้ตายอีก 1 ที การกระทำของจำเลยที่ 2 จึงเป็นการป้องกันมิให้จำเลยที่ 1 ได้รับภยันตรายจากการที่ผู้ตายจะยิงจำเลยที่ 1 จึงเป็นการกระทำที่พอสมควรแก่เหตุเช่นเดียวกัน
of 113