พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,124 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1180/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รัฐวิสาหกิจมีฐานะเป็นนิติบุคคลแยกต่างหากจากผู้ถือหุ้น ไม่ผูกพันระเบียบราชการ เว้นแต่จะอนุมัติเอง
บริษัทขนส่ง จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ โดยมีกระทรวงการคลังถือหุ้นร้อยละ 97. เมื่อจดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัด ย่อมเป็นนิติบุคคลต่างหากจากผู้ถือหุ้น อยู่ภายใต้การจัดการของคณะกรรมการตามข้อบังคับของบริษัทซึ่งได้ตราขึ้นและจดทะเบียนไว้.
ระเบียบการจ่ายเงินบำเหน็จและเงินทำขวัญลูกจ้าง พ.ศ.2502 ซึ่งคณะรัฐมนตรีวางไว้. เป็นระเบียบของทางราชการ กำหนดวิธีการจ่ายเงินบำเหน็จและเงินทำขวัญแก่ลูกจ้างของส่วนราชการ.ไม่ใช่บังคับแก่บริษัทขนส่ง จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ.เว้นแต่คณะกรรมการบริษัทจะอนุมัติให้ใช้ระเบียบดังกล่าวแก่ลูกจ้างของบริษัทด้วย.
ระเบียบการจ่ายเงินบำเหน็จและเงินทำขวัญลูกจ้าง พ.ศ.2502 ซึ่งคณะรัฐมนตรีวางไว้. เป็นระเบียบของทางราชการ กำหนดวิธีการจ่ายเงินบำเหน็จและเงินทำขวัญแก่ลูกจ้างของส่วนราชการ.ไม่ใช่บังคับแก่บริษัทขนส่ง จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ.เว้นแต่คณะกรรมการบริษัทจะอนุมัติให้ใช้ระเบียบดังกล่าวแก่ลูกจ้างของบริษัทด้วย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1180/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รัฐวิสาหกิจฐานะนิติบุคคลแยกต่างหาก ไม่ผูกพันระเบียบราชการ เว้นแต่คณะกรรมการบริษัทจะอนุมัติ
บริษัทขนส่ง จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ โดยมีกระทรวงการคลังถือหุ้นร้อยละ 97 เมื่อจดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัด ย่อมเป็นนิติบุคคลต่างหากจากผู้ถือหุ้น อยู่ภายใต้การจัดการของคณะกรรมการตามข้อบังคับของบริษัทซึ่งได้ตราขึ้นและจดทะเบียนไว้
ระเบียบการจ่ายเงินบำเหน็จและเงินทำขวัญลูกจ้าง พ.ศ.2502 ซึ่งคณะรัฐมนตรีวางไว้ เป็นระเบียบของทางราชการ กำหนดวิธีการจ่ายเงินบำเหน็จและเงินทำขวัญแก่ลูกจ้างของส่วนราชการไม่ใช่บังคับแก่บริษัทขนส่ง จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ.เว้นแต่คณะกรรมการบริษัทจะอนุมัติให้ใช้ระเบียบดังกล่าวแก่ลูกจ้างของบริษัทด้วย
ระเบียบการจ่ายเงินบำเหน็จและเงินทำขวัญลูกจ้าง พ.ศ.2502 ซึ่งคณะรัฐมนตรีวางไว้ เป็นระเบียบของทางราชการ กำหนดวิธีการจ่ายเงินบำเหน็จและเงินทำขวัญแก่ลูกจ้างของส่วนราชการไม่ใช่บังคับแก่บริษัทขนส่ง จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ.เว้นแต่คณะกรรมการบริษัทจะอนุมัติให้ใช้ระเบียบดังกล่าวแก่ลูกจ้างของบริษัทด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1119/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายเวลาอุทธรณ์ต้องกระทำก่อนสิ้นกำหนด เหตุทนายไม่ยื่นไม่ใช่เหตุสุดวิสัย
ที่ผู้ร้องขัดทรัพย์ยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นขอให้รับอุทธรณ์ของผู้ร้องนั้นเป็นการยื่นคำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งขยายระยะเวลาที่ยื่นอุทธรณ์ให้แก่ผู้ร้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 23 แต่เมื่อผู้ร้องยื่นคำร้องขึ้นมาเมื่อสิ้นกำหนดระยะเวลาอุทธรณ์ถึงเดือนเศษ จึงหาใช่เป็นเหตุสุดวิสัยไม่ หากแต่เป็นความบกพร่องและผิดพลาดของผู้ร้องเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1119/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์ต้องมีเหตุผลพิเศษและยื่นคำร้องก่อนสิ้นกำหนด มิใช่ความผิดพลาดของทนาย
ที่ผู้ร้องขัดทรัพย์ยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นขอให้รับอุทธรณ์ของผู้ร้องนั้น เป็นการยื่นคำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งขยายระยะเวลาที่ยื่นอุทธรณ์ให้แก่ผู้ร้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 23 แต่เมื่อผู้ร้องยื่นคำร้องขึ้นมาเมื่อสิ้นกำหนดระยะเวลาอุทธรณ์ถึงเดือนเศษ จึงหาใช่เป็นเหตุสุดวิสัยไม่ หากแต่เป็นความบกพร่องและผิดพลาดของผู้ร้องเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1119/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์ต้องมีเหตุสุดวิสัยหรือพฤติการณ์พิเศษ การอ้างเหตุทนายไม่ยื่นอุทธรณ์ไม่ใช่เหตุสุดวิสัย
ที่ผู้ร้องขัดทรัพย์ยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นขอให้รับอุทธรณ์ของผู้ร้องนั้น. เป็นการยื่นคำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งขยายระยะเวลาที่ยื่นอุทธรณ์ให้แก่ผู้ร้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 23. แต่เมื่อผู้ร้องยื่นคำร้องขึ้นมาเมื่อสิ้นกำหนดระยะเวลาอุทธรณ์ถึงเดือนเศษ จึงหาใช่เป็นเหตุสุดวิสัยไม่. หากแต่เป็นความบกพร่องและผิดพลาดของผู้ร้องเอง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1087/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าและอำนาจฟ้อง: การเปลี่ยนแปลงฐานะจากผู้จัดการดูแลทรัพย์สินเป็นเจ้าของกระทบต่อการฟ้องเรียกค่าเช่า
ตามคดีแพ่งแดงที่ 135/2508 ซึ่งโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 เป็นคดีแรกนั้นโจทก์บรรยายฟ้องว่าอาคารพิพาทเป็นทรัพย์ของชาวอินเดีย โจทก์เป็นเพียงผู้จัดการดูแลไม่ได้ว่าเป็นของโจทก์ และตามสัญญาประนีประนอมยอมความ โจทก์และจำเลยที่ 1 ยอมรับว่าที่ดินและอาคารพิพาทเป็นของกลางคือ ของโรงพระ หาใช่ของโจทก์ไม่ การที่โจทก์ตกลงให้จำเลยที่ 1 เช่าอาคารพิพาทต่อไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ก็เป็นการกระทำแทนในฐานะผู้จัดการดูแลอาคารพิพาทของโรงพระ หาใช่ให้เช่าในฐานะที่โจทก์เป็นเจ้าของอาคารพิพาทส่วนตัวไม่ แม้ตามคดีแพ่งแดงที่ 161/2508 ที่โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ในภายหลัง ขอให้ชำระค่าเช่าอาคารพิพาท โจทก์ยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโรงพระ โรงพระมอบอำนาจให้โจทก์ฟ้องแทน แต่เนื่องจากโรงพระไม่มีสภาพเป็นนิติบุคคลมอบอำนาจให้โจทก์ดำเนินคดีแทนไม่ได้ ศาลชั้นต้นจึงยกฟ้อง โจทก์กลับมาฟ้องคดีนี้อ้างว่าอาคารพิพาทเป็นทรัพย์สินส่วนตัวของโจทก์ เป็นการกล่าวอ้างข้อเท็จจริงขึ้นใหม่ ฝ่าฝืนสัญญาประนีประนอมยอมความในคดีแพ่งแดงที่ 135/2508 ซึ่งโจทก์ยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโรงพระ ฉะนั้น โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องในฐานะส่วนตัวเรียกค่าเช่า และขอให้ขับไล่จำเลย
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากอาคารพิพาทซึ่งเป็นของโจทก์ ต่อมาได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน โดยจำเลยยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโจทก์และขอเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท ศาลพิพากษาตามยอม ต่อมาโจทก์มาฟ้องขับไล่จำเลยและบริวารออกจากอาคารพิพาท ให้ชำระค่าเช่าที่ค้างและค่าเสียหาย ดังนี้ไม่เป็นฟ้องซ้ำ เพราะตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นเป็นเรื่องโจทก์ในฐานะผู้จัดการดูแลอาคารพิพาทของโรงพระตกลงยอมให้จำเลยเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท ถือได้ว่าสัญญาประนีประนอมนี้เป็นสัญญาเช่าอาคารพิพาทระหว่างโจทก์ผู้ให้เช่ากับจำเลยเท่านั้น เมื่อจำเลยไม่ชำระค่าเช่า โจทก์ก็ต้องฟ้องขอให้จำเลยชำระ จะไปร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาตามยอมให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้างทันทีไม่ได้ เพราะไม่ใช่เรื่องโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอม และศาลพิพากษาตามยอม ให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้าง และค่าเช่าเดือนต่อๆ ไปให้แก่โจทก์
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากอาคารพิพาทซึ่งเป็นของโจทก์ ต่อมาได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน โดยจำเลยยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโจทก์และขอเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท ศาลพิพากษาตามยอม ต่อมาโจทก์มาฟ้องขับไล่จำเลยและบริวารออกจากอาคารพิพาท ให้ชำระค่าเช่าที่ค้างและค่าเสียหาย ดังนี้ไม่เป็นฟ้องซ้ำ เพราะตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นเป็นเรื่องโจทก์ในฐานะผู้จัดการดูแลอาคารพิพาทของโรงพระตกลงยอมให้จำเลยเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท ถือได้ว่าสัญญาประนีประนอมนี้เป็นสัญญาเช่าอาคารพิพาทระหว่างโจทก์ผู้ให้เช่ากับจำเลยเท่านั้น เมื่อจำเลยไม่ชำระค่าเช่า โจทก์ก็ต้องฟ้องขอให้จำเลยชำระ จะไปร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาตามยอมให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้างทันทีไม่ได้ เพราะไม่ใช่เรื่องโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอม และศาลพิพากษาตามยอม ให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้าง และค่าเช่าเดือนต่อๆ ไปให้แก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1087/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อพิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์และสัญญาเช่าอาคารพิพาท การฟ้องเรียกค่าเช่าต้องสอดคล้องกับฐานะผู้ให้เช่าที่แท้จริง
ตามคดีแพ่งแดงที่ 135/2508 ซึ่งโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1เป็นคดีแรกนั้น. โจทก์บรรยายฟ้องว่าอาคารพิพาทเป็นทรัพย์ของชาวอินเดีย. โจทก์เป็นเพียงผู้จัดการดูแลไม่ได้ว่าเป็นของโจทก์. และตามสัญญาประนีประนอมยอมความ. โจทก์และจำเลยที่ 1 ยอมรับว่าที่ดินและอาคารพิพาทเป็นของกลางคือของโรงพระ หาใช่ของโจทก์ไม่. การที่โจทก์ตกลงให้จำเลยที่ 1 เช่าอาคารพิพาทต่อไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความ. ก็เป็นการกระทำแทนในฐานะผู้จัดการดูแลอาคารพิพาทของโรงพระ หาใช่ให้เช่าในฐานะที่โจทก์เป็นเจ้าของอาคารพิพาทส่วนตัวไม่. แม้ตามคดีแพ่งแดงที่ 161/2508 ที่โจทก์ฟ้องจำเลย ที่ 1 ในภายหลัง ขอให้ชำระค่าเช่าอาคารพิพาท. โจทก์ยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโรงพระ. โรงพระมอบอำนาจให้โจทก์ฟ้องแทน. แต่เนื่องจากโรงพระไม่มีสภาพเป็นนิติบุคคล.มอบอำนาจให้โจทก์ดำเนินคดีแทนไม่ได้. ศาลชั้นต้นจึงยกฟ้อง โจทก์กลับมาฟ้องคดีนี้อ้างว่าอาคารพิพาทเป็นทรัพย์สินส่วนตัวของโจทก์. เป็นการกล่าวอ้างข้อเท็จจริงขึ้นใหม่. ฝ่าฝืนสัญญาประนีประนอมยอมความในคดีแพ่งแดงที่ 135/2508 ซึ่งโจทก์ยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโรงพระ. ฉะนั้น โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องในฐานะส่วนตัวเรียกค่าเช่า. และขอให้ขับไล่จำเลย.
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากอาคารพิพาทซึ่งเป็นของโจทก์. ต่อมาได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน โดยจำเลยยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโจทก์และขอเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท. ศาลพิพากษาตามยอม. ต่อมาโจทก์มาฟ้องขับไล่จำเลยและบริวารออกจากอาคารพิพาท ให้ชำระค่าเช่าที่ค้างและค่าเสียหาย. ดังนี้ไม่เป็นฟ้องซ้ำ เพราะตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นเป็นเรื่องโจทก์ในฐานะผู้จัดการดูแลอาคารพิพาทของโรงพระตกลงยอมให้จำเลยเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท. ถือได้ว่าสัญญาประนีประนอมนี้เป็นสัญญาเช่าอาคารพิพาทระหว่างโจทก์ผู้ให้เช่ากับจำเลยเท่านั้น. เมื่อจำเลยไม่ชำระค่าเช่าโจทก์ก็ต้องฟ้องขอให้จำเลยชำระ. จะไปร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาตามยอมให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้างทันทีไม่ได้. เพราะไม่ใช่เรื่องโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอม. และศาลพิพากษาตามยอม ให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้างและค่าเช่าเดือนต่อๆ ไปให้แก่โจทก์.
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากอาคารพิพาทซึ่งเป็นของโจทก์. ต่อมาได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน โดยจำเลยยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโจทก์และขอเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท. ศาลพิพากษาตามยอม. ต่อมาโจทก์มาฟ้องขับไล่จำเลยและบริวารออกจากอาคารพิพาท ให้ชำระค่าเช่าที่ค้างและค่าเสียหาย. ดังนี้ไม่เป็นฟ้องซ้ำ เพราะตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นเป็นเรื่องโจทก์ในฐานะผู้จัดการดูแลอาคารพิพาทของโรงพระตกลงยอมให้จำเลยเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท. ถือได้ว่าสัญญาประนีประนอมนี้เป็นสัญญาเช่าอาคารพิพาทระหว่างโจทก์ผู้ให้เช่ากับจำเลยเท่านั้น. เมื่อจำเลยไม่ชำระค่าเช่าโจทก์ก็ต้องฟ้องขอให้จำเลยชำระ. จะไปร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาตามยอมให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้างทันทีไม่ได้. เพราะไม่ใช่เรื่องโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอม. และศาลพิพากษาตามยอม ให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้างและค่าเช่าเดือนต่อๆ ไปให้แก่โจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1087/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความมีผลเป็นสัญญาเช่า เมื่อผิดสัญญาโจทก์มีสิทธิฟ้องร้องเรียกค่าเช่าได้ โดยต้องตั้งรูปคดีให้ตรงกับข้อเท็จจริง
ตามคดีแพ่งแดงที่ 135/2508 ซึ่งโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 เป็นคดีแรกนั้น โจทก์บรรยายฟ้องว่าอาคารพิพาทเป็นทรัพย์ของชาวอินเดีย โจทก์เป็นเพียงผู้จัดการดูแลไม่ได้ว่าเป็นของโจทก์ และตามสัญญาประนีประนอมยอมความ โจทก์และจำเลยที่ 1 ยอมรับว่าที่ดินและอาคารพิพาทเป็นของกลางคือของโรงพระ หาใช่ของโจทก์ไม่ การที่โจทก์ตกลงให้จำเลยที่ 1 เช่าอาคารพิพาทต่อไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ก็เป็นการกระทำแทนในฐานะผู้จัดการดูแลอาคารพิพาทของโรงพระ หาใช่ให้เช่าในฐานะที่โจทก์เป็นเจ้าของอาคารพิพาทส่วนตัวไม่ แม้ตามคดีแพ่งแดงที่ 161/2508 ที่โจทก์ฟ้องจำเลย ที่ 1 ในภายหลัง ขอให้ชำระค่าเช่าอาคารพิพาท โจทก์ยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโรงพระ โรงพระมอบอำนาจให้โจทก์ฟ้องแทน แต่เนื่องจากโรงพระไม่มีสภาพเป็นนิติบุคคลมอบอำนาจให้โจทก์ดำเนินคดีแทนไม่ได้ ศาลชั้นต้นจึงยกฟ้อง โจทก์กลับมาฟ้องคดีนี้อ้างว่าอาคารพิพาทเป็นทรัพย์สินส่วนตัวของโจทก์ เป็นการกล่าวอ้างข้อเท็จจริงขึ้นใหม่ ฝ่าฝืนสัญญาประนีประนอมยอมความในคดีแพ่งแดงที่ 135/2508 ซึ่งโจทก์ยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโรงพระ ฉะนั้น โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องในฐานะส่วนตัวเรียกค่าเช่า และขอให้ขับไล่จำเลย
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากอาคารพิพาทซึ่งเป็นของโจทก์ต่อมาได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน โดยจำเลยยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโจทก์และขอเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท ศาลพิพากษาตามยอม ต่อมาโจทก์มาฟ้องขับไล่จำเลยและบริวารออกจากอาคารพิพาท ให้ชำระค่าเช่าที่ค้างและค่าเสียหาย ดังนี้ไม่เป็นฟ้องซ้ำ เพราะตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นเป็นเรื่องโจทก์ในฐานะผู้จัดการดูแลอาคารพิพาทของโรงพระตกลงยอมให้จำเลยเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท ถือได้ว่าสัญญาประนีประนอมนี้เป็นสัญญาเช่าอาคารพิพาทระหว่างโจทก์ผู้ให้เช่ากับจำเลยเท่านั้น เมื่อจำเลยไม่ชำระค่าเช่าโจทก์ก็ต้องฟ้องขอให้จำเลยชำระ จะไปร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาตามยอมให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้างทันทีไม่ได้ เพราะไม่ใช่เรื่องโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอม และศาลพิพากษาตามยอม ให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้างและค่าเช่าเดือนต่อๆ ไปให้แก่โจทก์
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากอาคารพิพาทซึ่งเป็นของโจทก์ต่อมาได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน โดยจำเลยยอมรับว่าอาคารพิพาทเป็นของโจทก์และขอเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท ศาลพิพากษาตามยอม ต่อมาโจทก์มาฟ้องขับไล่จำเลยและบริวารออกจากอาคารพิพาท ให้ชำระค่าเช่าที่ค้างและค่าเสียหาย ดังนี้ไม่เป็นฟ้องซ้ำ เพราะตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นเป็นเรื่องโจทก์ในฐานะผู้จัดการดูแลอาคารพิพาทของโรงพระตกลงยอมให้จำเลยเช่าต่อไปในอัตราค่าเช่าเดือนละ 200 บาท ถือได้ว่าสัญญาประนีประนอมนี้เป็นสัญญาเช่าอาคารพิพาทระหว่างโจทก์ผู้ให้เช่ากับจำเลยเท่านั้น เมื่อจำเลยไม่ชำระค่าเช่าโจทก์ก็ต้องฟ้องขอให้จำเลยชำระ จะไปร้องขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาตามยอมให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้างทันทีไม่ได้ เพราะไม่ใช่เรื่องโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอม และศาลพิพากษาตามยอม ให้จำเลยชำระค่าเช่าที่ค้างและค่าเช่าเดือนต่อๆ ไปให้แก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1057/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่า พยายามฆ่า และการพิจารณาจากพฤติการณ์ การแทงด้วยอาวุธอันตรายหลายครั้ง
ขณะเกิดเหตุจำเลยใช้แขนรัดคอผู้เสียหายบังคับให้ไปด้วยกัน มิฉะนั้นจะแทงให้ตาย เมื่อผู้เสียหายวิ่งหนีไปล้มลง จำเลยวิ่งตามไปใช้มีดปลายแหลมยาว 1 คืบเศษ ใบมีดโตประมาณ 1 นิ้ว แทงผู้เสียหายตามบริเวณหน้าอก ราวนม และด้านหลังรวม 7 แผล หากแต่มีผู้มาพบเข้าจำเลยจึงผละหนีไป การใช้อาวุธตามขนาดดังกล่าว แทงที่ตำแหน่งสำคัญของร่างกายเช่นนี้ เป็นการกระทำโดยมีเจตนาฆ่า แต่ผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย จึงมีความผิดขั้นพยายาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1057/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่า พยายามฆ่า: การพิจารณาจากพฤติการณ์ใช้กำลังทำร้ายด้วยอาวุธมีดหลายแผล
ขณะเกิดเหตุจำเลยใช้แขนรัดคอผู้เสียหายบังคับให้ไปด้วยกัน. มิฉะนั้นจะแทงให้ตาย. เมื่อผู้เสียหายวิ่งหนีไปล้มลง จำเลยวิ่งตามไปใช้มีดปลายแหลมยาว 1 คืบเศษ ใบมีดโตประมาณ 1 นิ้ว. แทงผู้เสียหายตามบริเวณหน้าอก ราวนมและด้านหลังรวม 7 แผล. หากแต่มีผู้มาพบเข้าจำเลยจึงผละหนีไป. การใช้อาวุธตามขนาดดังกล่าว แทงที่ตำแหน่งสำคัญของร่างกายเช่นนี้. เป็นการกระทำโดยมีเจตนาฆ่า. แต่ผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย. จึงมีความผิดในขั้นพยายาม.