พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,124 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 424/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบิกความเท็จในคดีแพ่งมีผลให้ศาลตัดสินคดีแพ้ได้ ถือเป็นข้อสำคัญในคดีฐานเบิกความเท็จ
จำเลยเป็นผู้จัดการห้างหุ้นส่วนจำกัด. ฟ้องขอให้โจทก์ชำระหนี้ค่าวัสดุก่อสร้างพร้อมทั้งดอกเบี้ย. โจทก์ให้การต่อสู้ว่า ได้จ่ายเช็คเงินสดชำระหนี้ค่าสิ่งของให้แก่ห้างหุ้นส่วนจำกัดนั้นแล้ว. แต่เช็คของโจทก์หลายฉบับรับเงินไม่ได้. จำเลยจึงมอบให้นายวินัยนำเช็คไปแจ้งความ.ร้อยตำรวจโทชัยชาญพนักงานสอบสวนได้ให้โจทก์ชำระหนี้จำเลย.โดยจำเลยและผู้แทนจำเลยมอบให้ร้อยตำรวจโทชัยชาญเป็นคนกลางรับชำระหนี้แทน. โจทก์ได้ชำระหนี้ให้จำเลยเป็นเงินสด.และนางสาวพยุงบุตรสาวโจทก์ได้จ่ายเช็คให้อีก 6 ฉบับ.จำเลยหรือผู้แทนจำเลยได้รับเงินไปตามเช็คที่ถึงกำหนดแล้วบางฉบับ. จำเลยได้เข้าเบิกความเป็นพยานต่อศาลว่า.โจทก์ไม่เคยออกเช็คชำระหนี้ให้จำเลย. จำเลยไม่เคยรู้จักนายวินัย ไม่เคยมอบให้นายวินัยไปแจ้งความเรื่องโจทก์ออกเช็ค. โจทก์ไม่เคยเอาเช็คของนางสาวพยุงชำระหนี้. จำเลยไม่เคยรับเช็คจากร้อยตำรวจโทชัยชาญ ไม่รู้จักร้อยตำรวจโทชัยชาญ และไม่เคยพิพาทเรื่องเช็คกับโจทก์. ซึ่งข้อความที่จำเลยเบิกความเป็นพยานนี้เป็นความเท็จ. หากศาลหลงเชื่อตามคำเบิกความของจำเลย. ก็อาจทำให้ศาลไม่เชื่อข้อต่อสู้ของโจทก์ว่าได้ชำระหนี้บางส่วนให้จำเลยแล้วย่อมจะตัดสินให้โจทก์แพ้คดี. ฉะนั้นคำเบิกความเท็จของจำเลยดังกล่าวจึงเป็นข้อสำคัญในคดี. จำเลยต้องมีความผิดฐานเบิกความเท็จ.
การฟ้องคดีฐานเบิกความเท็จตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 177นั้น. กฎหมายมิได้บัญญัติว่าพยานจะต้องสาบานตัวก่อนเบิกความ จึงจะเป็นความผิด.
การฟ้องคดีฐานเบิกความเท็จตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 177นั้น. กฎหมายมิได้บัญญัติว่าพยานจะต้องสาบานตัวก่อนเบิกความ จึงจะเป็นความผิด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 423/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การควบคุมตัวบุคคลอันธพาลตามประกาศคณะปฏิวัติ: การพิจารณาและสั่งการทุก 3 เดือนเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการฯ
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43 ข้อ 1. ให้อำนาจผู้ว่าราชการจังหวัดส่งบุคคลที่ประพฤติตนเป็นอันธพาลตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 21 ไปยังสถานอบรมและฝึกอาชีพได้.
เมื่อบุคคลดังกล่าวเข้าไปอยู่ในสถานอบรมและฝึกอาชีพแล้ว.จึงตกเป็นอำนาจของคณะกรรมการฯ ที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43 ข้อ 2. ที่จะต้องพิจารณาและมีคำสั่งทุกๆ 3 เดือนว่า. บุคคลที่ถูกควบคุมนั้นควรให้ควบคุมไว้หรือให้ปล่อยตัวไป. ถ้าคณะกรรมการฯ มิได้พิจารณาและมีคำสั่งประการใด. การควบคุมบุคคลดังกล่าวไว้เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือน. เป็นการควบคุมที่ไม่ชอบตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่105/2506).
เมื่อบุคคลดังกล่าวเข้าไปอยู่ในสถานอบรมและฝึกอาชีพแล้ว.จึงตกเป็นอำนาจของคณะกรรมการฯ ที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43 ข้อ 2. ที่จะต้องพิจารณาและมีคำสั่งทุกๆ 3 เดือนว่า. บุคคลที่ถูกควบคุมนั้นควรให้ควบคุมไว้หรือให้ปล่อยตัวไป. ถ้าคณะกรรมการฯ มิได้พิจารณาและมีคำสั่งประการใด. การควบคุมบุคคลดังกล่าวไว้เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือน. เป็นการควบคุมที่ไม่ชอบตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่105/2506).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 423/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การควบคุมตัวบุคคลอันธพาลตามประกาศคณะปฏิวัติ การควบคุมเกิน 3 เดือนโดยไม่พิจารณาคำสั่งเป็นโมฆะ
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43 ข้อ 1 ให้อำนาจผู้ว่าราชการจังหวัดส่งบุคคลที่ประพฤติตนเป็นอันธพาลตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 21ไปยังสถานอบรมและฝึกอาชีพได้
เมื่อบุคคลดังกล่าวเข้าไปอยู่ในสถานอบรมและฝึกอาชีพแล้วจึงตกเป็นอำนาจของคณะกรรมการฯ ที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43ข้อ 2 ที่จะต้องพิจารณาและมีคำสั่งทุกๆ 3 เดือนว่า บุคคลที่ถูกควบคุมนั้นควรให้ควบคุมไว้หรือให้ปล่อยตัวไป ถ้าคณะกรรมการฯ มิได้พิจารณาและมีคำสั่งประการใด การควบคุมบุคคลดังกล่าวไว้เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือนเป็นการควบคุมที่ไม่ชอบตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่105/2506)
เมื่อบุคคลดังกล่าวเข้าไปอยู่ในสถานอบรมและฝึกอาชีพแล้วจึงตกเป็นอำนาจของคณะกรรมการฯ ที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43ข้อ 2 ที่จะต้องพิจารณาและมีคำสั่งทุกๆ 3 เดือนว่า บุคคลที่ถูกควบคุมนั้นควรให้ควบคุมไว้หรือให้ปล่อยตัวไป ถ้าคณะกรรมการฯ มิได้พิจารณาและมีคำสั่งประการใด การควบคุมบุคคลดังกล่าวไว้เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือนเป็นการควบคุมที่ไม่ชอบตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่105/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 423/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การควบคุมตัวบุคคลอันธพาลตามประกาศคณะปฏิวัติ การพิจารณาปล่อยตัวต้องทำภายใน 3 เดือน หากไม่พิจารณา การควบคุมต่อไปถือว่าไม่ชอบ
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43 ข้อ 1 ให้อำนาจผู้ว่าราชการจังหวัดส่งบุคคลที่ประพฤติตนเป็นอันธพาลตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 21 ไปยังสถานอบรมและฝึกอาชีพได้
เมื่อบุคคลดังกล่าวเข้าไปอยู่ในสถานอบรมและฝึกอาชีพแล้ว จึงตกเป็นอำนาจของคณะกรรมการ ฯ ที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43 ข้อ 2 ที่จะต้องพิจารณาและมีคำสั่งทุก ๆ 3 เดือนว่า บุคคลที่ถูกควบคุมนั้นควรให้ควบคุมไว้หรือให้ปล่อยตัวไป ถ้าคณะกรรมการ ฯ มิได้พิจารณาและมีคำสั่งประการใด การควบคุมบุคคลดังกล่าวไว้เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือน เป็นการควบคุมที่ไม่ชอบตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่105/2506)
เมื่อบุคคลดังกล่าวเข้าไปอยู่ในสถานอบรมและฝึกอาชีพแล้ว จึงตกเป็นอำนาจของคณะกรรมการ ฯ ที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43 ข้อ 2 ที่จะต้องพิจารณาและมีคำสั่งทุก ๆ 3 เดือนว่า บุคคลที่ถูกควบคุมนั้นควรให้ควบคุมไว้หรือให้ปล่อยตัวไป ถ้าคณะกรรมการ ฯ มิได้พิจารณาและมีคำสั่งประการใด การควบคุมบุคคลดังกล่าวไว้เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือน เป็นการควบคุมที่ไม่ชอบตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 43 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่105/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตัวการร่วมและผู้สนับสนุนการฆ่า: การกระทำที่แสดงเจตนาและส่งเสริมการกระทำผิด
จำเลยที่ 1 ทะเลาะกับผู้ตายอยู่ริมรั้ว. จำเลยที่2 ถือมีดพร้าวิ่งลงจากบ้านพร้อมกับร้องว่าฟันให้ตายๆ.การแสดงออกด้วยกิริยาและคำพูดของจำเลยที่ 2 ส่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยที่ 2 มีเจตนาจะฆ่าผู้ตาย. ฉะนั้น เมื่อจำเลยที่ 1 คว้ามีดพร้าจากมือจำเลยที่ 2 แหวกรั้วเข้าไปฟันผู้ตายถึงแก่ความตาย. จึงเป็นการกระทำที่สมเจตนาของจำเลยที่ 2. เมื่อจำเลยที่ 1 ฟันผู้ตายแล้ว.ได้โยนมีดพร้าข้ามรั้วมาให้จำเลยที่ 2. จำเลยที่ 2 ก็เป็นผู้พามีดพร้าวิ่งหนีไป. การกระทำของจำเลยที่ 2ดังกล่าวแล้วจึงถือได้ว่าเป็นการร่วมมือกับจำเลยที่ 1ฆ่าผู้ตาย. จำเลยที่ 2 จึงมีความผิดฐานเป็นตัวการร่วมกับจำเลยที่ 1 ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83.
จำเลยที่ 3 ได้วิ่งมาและพูดยุยงให้จำเลยที่ 1 ฟันผู้ตายให้ตาย.หลังจากจำเลยที่ 1 ลงมือทำร้ายผู้ตายได้1 แผล. จึงเห็นได้ว่าจำเลยที่ 3 มิได้เป็นผู้ก่อให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด. เพราะจำเลยที่ 1 ได้เริ่มลงมือกระทำผิดไปแล้ว. คำยุยงของจำเลยที่ 3 จึงเป็นเพียงสนับสนุนเร้าใจให้จำเลยที่ 1 มุ่งกระทำร้ายต่อผู้ตายให้ถึงตายหนักแน่นยิ่งขึ้นเท่านั้น. การกระทำของจำเลยที่3 จึงฟังได้เพียงว่าเป็นการสนับสนุนให้จำเลยที่ 1กระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 86.
จำเลยที่ 3 ได้วิ่งมาและพูดยุยงให้จำเลยที่ 1 ฟันผู้ตายให้ตาย.หลังจากจำเลยที่ 1 ลงมือทำร้ายผู้ตายได้1 แผล. จึงเห็นได้ว่าจำเลยที่ 3 มิได้เป็นผู้ก่อให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด. เพราะจำเลยที่ 1 ได้เริ่มลงมือกระทำผิดไปแล้ว. คำยุยงของจำเลยที่ 3 จึงเป็นเพียงสนับสนุนเร้าใจให้จำเลยที่ 1 มุ่งกระทำร้ายต่อผู้ตายให้ถึงตายหนักแน่นยิ่งขึ้นเท่านั้น. การกระทำของจำเลยที่3 จึงฟังได้เพียงว่าเป็นการสนับสนุนให้จำเลยที่ 1กระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 86.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตัวการร่วม vs ผู้สนับสนุน: กรณีร่วมกันทำร้ายจนถึงแก่ความตาย
จำเลยที่ 1 ทะเลาะกับผู้ตายอยู่ริมรั้ว จำเลยที่ 2 ถือมีดพร้าวิ่งลงจากบ้านพร้อมกับร้องว่าฟันให้ตาย ๆ การแสดงออกด้วยกิริยาและคำพูดของจำเลยที่ 2 ส่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยที่ 2 มีเจตนาจะฆ่าผู้ตาย ฉะนั้น เมื่อจำเลยที่ 1 คว้ามีดพร้าจากมือจำเลยที่ 2 แหวกรั้วเข้าไปฟันผู้ตายถึงแก่ความตาย จึงเป็นการกระทำที่สมเจตนาของจำเลยที่ 2 เมื่อจำเลยที่ 1 ฟันผู้ตายแล้ว ได้โยนมีดพร้าข้ามรั้วมาให้จำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2 ก็เป็นผู้พามีดพร้าวิ่งหนีไป การกระทำของจำเลยที่ 2 ดังกล่าวแล้วจึงถือได้ว่าเป็นการร่วมมือกับจำเลยที่ 1ฆ่าผู้ตาย จำเลยที่ 2 จึงมีความผิดฐานเป็นตัวการร่วมกับจำเลยที่ 1 ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83
จำเลยที่ 3 ได้วิ่งมาและพูดยุยงให้จำเลยที่ 1 ฟันผู้ตายให้ตาย หลังจากจำเลยที่ 1 ลงมือทำร้ายผู้ตายได้1 แผล จึงเห็นได้ว่าจำเลยที่ 3 มิได้เป็นผู้ก่อให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด เพราะจำเลยที่ 1 ได้เริ่มลงมือกระทำผิดไปแล้ว คำยุยงของจำเลยที่ 3 จึงเป็นเพียงสนับสนุนเร้าใจให้จำเลยที่ 1 มุ่งกระทำร้ายต่อผู้ตายให้ถึงตายหนักแน่นยิ่งขึ้นเท่านั้น การกระทำของจำเลยที่ 3 จึงฟังได้เพียงว่าเป็นการสนับสนุนให้จำเลยที่ 1กระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 86
ประชุมใหญ่ครั้งที่ 6-7 /2512
จำเลยที่ 3 ได้วิ่งมาและพูดยุยงให้จำเลยที่ 1 ฟันผู้ตายให้ตาย หลังจากจำเลยที่ 1 ลงมือทำร้ายผู้ตายได้1 แผล จึงเห็นได้ว่าจำเลยที่ 3 มิได้เป็นผู้ก่อให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด เพราะจำเลยที่ 1 ได้เริ่มลงมือกระทำผิดไปแล้ว คำยุยงของจำเลยที่ 3 จึงเป็นเพียงสนับสนุนเร้าใจให้จำเลยที่ 1 มุ่งกระทำร้ายต่อผู้ตายให้ถึงตายหนักแน่นยิ่งขึ้นเท่านั้น การกระทำของจำเลยที่ 3 จึงฟังได้เพียงว่าเป็นการสนับสนุนให้จำเลยที่ 1กระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 86
ประชุมใหญ่ครั้งที่ 6-7 /2512
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตัวการร่วมและผู้สนับสนุนการฆ่า: การพิจารณาเจตนาและความร่วมมือในการกระทำผิด
จำเลยที่ 1 ทะเลาะกับผู้ตายอยู่ริมรั้วจำเลยที่2 ถือมีดพร้าวิ่งลงจากบ้านพร้อมกับร้องว่าฟันให้ตายๆการแสดงออกด้วยกิริยาและคำพูดของจำเลยที่ 2 ส่อแสดงให้เห็นว่าจำเลยที่ 2 มีเจตนาจะฆ่าผู้ตาย ฉะนั้น เมื่อจำเลยที่ 1 คว้ามีดพร้าจากมือจำเลยที่ 2 แหวกรั้วเข้าไปฟันผู้ตายถึงแก่ความตาย จึงเป็นการกระทำที่สมเจตนาของจำเลยที่ 2 เมื่อจำเลยที่ 1 ฟันผู้ตายแล้วได้โยนมีดพร้าข้ามรั้วมาให้จำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2 ก็เป็นผู้พามีดพร้าวิ่งหนีไปการกระทำของจำเลยที่ 2ดังกล่าวแล้วจึงถือได้ว่าเป็นการร่วมมือกับจำเลยที่ 1 ฆ่าผู้ตายจำเลยที่ 2 จึงมีความผิดฐานเป็นตัวการร่วมกับจำเลยที่ 1 ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83
จำเลยที่ 3 ได้วิ่งมาและพูดยุยงให้จำเลยที่ 1 ฟันผู้ตายให้ตายหลังจากจำเลยที่ 1 ลงมือทำร้ายผู้ตายได้ 1 แผล จึงเห็นได้ว่าจำเลยที่ 3 มิได้เป็นผู้ก่อให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด เพราะจำเลยที่ 1 ได้เริ่มลงมือกระทำผิดไปแล้ว คำยุยงของจำเลยที่ 3 จึงเป็นเพียงสนับสนุนเร้าใจให้จำเลยที่ 1 มุ่งกระทำร้ายต่อผู้ตายให้ถึงตายหนักแน่นยิ่งขึ้นเท่านั้นการกระทำของจำเลยที่3 จึงฟังได้เพียงว่าเป็นการสนับสนุนให้จำเลยที่ 1 กระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 86
จำเลยที่ 3 ได้วิ่งมาและพูดยุยงให้จำเลยที่ 1 ฟันผู้ตายให้ตายหลังจากจำเลยที่ 1 ลงมือทำร้ายผู้ตายได้ 1 แผล จึงเห็นได้ว่าจำเลยที่ 3 มิได้เป็นผู้ก่อให้จำเลยที่ 1 กระทำผิด เพราะจำเลยที่ 1 ได้เริ่มลงมือกระทำผิดไปแล้ว คำยุยงของจำเลยที่ 3 จึงเป็นเพียงสนับสนุนเร้าใจให้จำเลยที่ 1 มุ่งกระทำร้ายต่อผู้ตายให้ถึงตายหนักแน่นยิ่งขึ้นเท่านั้นการกระทำของจำเลยที่3 จึงฟังได้เพียงว่าเป็นการสนับสนุนให้จำเลยที่ 1 กระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 86
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 315/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดรถเพื่อสอบสวนคดี ไม่เป็นละเมิด หากสุจริตและอยู่ในอำนาจหน้าที่
จำเลยที่ 2 ในฐานะพนักงานสอบสวนยึดรถยนต์ของโจทก์ซึ่งชนกับรถของกรมตำรวจไว้เพื่อประกอบการสอบสวนดำเนินคดีซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย เมื่อได้กระทำไปโดยสุจริตมิได้เจตนากลั่นแกล้งให้โจทก์เสียหาย ไม่เป็นการทำละเมิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 315/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดรถเพื่อสอบสวนคดีโดยสุจริต ไม่เป็นละเมิด
จำเลยที่ 2 ในฐานะพนักงานสอบสวน.ยึดรถยนต์ของโจทก์ซึ่งชนกับรถของกรมตำรวจไว้.เพื่อประกอบการสอบสวนดำเนินคดี.ซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย. เมื่อได้กระทำไปโดยสุจริตมิได้เจตนากลั่นแกล้งให้โจทก์เสียหาย. ไม่เป็นการทำละเมิดต่อโจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 315/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดรถเพื่อสอบสวนคดี ไม่เป็นละเมิดหากสุจริตและอยู่ในอำนาจหน้าที่
จำเลยที่ 2 ในฐานะพนักงานสอบสวน ยึดรถยนต์ของโจทก์ซึ่งชนกับรถของกรมตำรวจไว้ เพื่อประกอบการสอบสวนดำเนินคดี ซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย เมื่อได้กระทำไปโดยสุจริตมิได้เจตนากลั่นแกล้งให้โจทก์เสียหาย ไม่เป็นการทำละเมิดต่อโจทก์