พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1784/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปลอมตัวเป็นผู้อื่นตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 306(1) คือการแสดงตนเท็จ
คำว่า "ปลอมตัวเป็นคนอื่น" ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา306(1) นั้น มุ่งหมายถึงการแสดงตัวให้เขาหลงเชื่อว่าเป็นคนอื่น ซึ่งไม่ใช่ตัวของตัวเอง
จำเลยใช้ถ้อยคำหลอกลวงให้เขาหลงเชื่อว่า จำเลยเป็นนายร้อยตำรวจโทประจำกองสอบสวนกลางปทุมวัน(ระบุชื่อ) เมื่อความจริงจำเลยมิใช่เป็นนายร้อยตำรวจประจำกองสอบสวนกลางแล้ว แม้จะไม่ปรากฏว่ามีนายร้อยตำรวจโทชื่อนั้นในกองสอบสวนกลางหรือไม่ ก็ถือว่าเป็นการปลอมตัวตามความหมายในมาตรา306(1) แล้ว (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2493)
จำเลยใช้ถ้อยคำหลอกลวงให้เขาหลงเชื่อว่า จำเลยเป็นนายร้อยตำรวจโทประจำกองสอบสวนกลางปทุมวัน(ระบุชื่อ) เมื่อความจริงจำเลยมิใช่เป็นนายร้อยตำรวจประจำกองสอบสวนกลางแล้ว แม้จะไม่ปรากฏว่ามีนายร้อยตำรวจโทชื่อนั้นในกองสอบสวนกลางหรือไม่ ก็ถือว่าเป็นการปลอมตัวตามความหมายในมาตรา306(1) แล้ว (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2493)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1784/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปลอมตัวเป็นผู้อื่นตามประมวลกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 306(1) แม้ไม่มีตัวตนจริง ก็ถือว่าผิด
คำว่า "ปลอมตัวเป็นคนอื่น" ตาม ก.ม.ลักษณะอาญามาตรา 306(1) นั้น มุ่งหมายถึงการแสดงตัวให้เขาหลงเชื่อว่าเป็นคนอื่น ซึ่งไม่ใช่ตัวของตัวเอง
จำเลยใช้ถ้อยคำหลอกลวงให้เขาหลงเชื่อว่าจำเลยเป็นนายร้อยตำรวจโทประจำกองสอบสวนกลางปทุมวัน (ระบุชื่อ) เมื่อความจริงจำเลยมิใช่เป็นนายร้อยตำรวจประจำกองสอบสวนกลางแล้ว แม้จะไม่ปรากฎว่ามีนายร้อยตำรวจโทชื่อนั้นในกองสอบสวนกลางหรือไม่, ก็ถือว่าเป็นการปลอมตัวตามความหมายในมาตรา 306(1) แล้ว
จำเลยใช้ถ้อยคำหลอกลวงให้เขาหลงเชื่อว่าจำเลยเป็นนายร้อยตำรวจโทประจำกองสอบสวนกลางปทุมวัน (ระบุชื่อ) เมื่อความจริงจำเลยมิใช่เป็นนายร้อยตำรวจประจำกองสอบสวนกลางแล้ว แม้จะไม่ปรากฎว่ามีนายร้อยตำรวจโทชื่อนั้นในกองสอบสวนกลางหรือไม่, ก็ถือว่าเป็นการปลอมตัวตามความหมายในมาตรา 306(1) แล้ว