พบผลลัพธ์ทั้งหมด 112 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1812/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนมรดกตามพินัยกรรม และอำนาจฟ้องคดีครอบครองที่ดิน
(1) เมื่อผู้ทำพินัยกรรมตาย ที่ดินซึ่งระบุไว้ในพินัยกรรมย่อมตกได้แก่ผู้รับพินัยกรรมทันทีตาม
ป.พ.พ. มาตรา 1673 โดยมิพักต้องทำพิธีรับมรดก และหรือเข้าครอบครองที่ดินนั้น โดยเหตุนี้ เจ้าของที่ดินเช่นว่านี้ย่อมมีอำนาจฟ้องให้ศาลสั่งแสดงกรรมสิทธิ์และขับไล่ผู้อาศัย
(2) ใบนำเพื่อจะไปเสียเงินบำรุงท้องที่นั้น ไม่ใช่เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน
(3) เนื่องจากคำให้การต่อสู้ของจำเลยจึงเป็นเหตุให้โจทก์ขอให้ศาลเรียกจำเลยเข้ามาในคดี อันเป็นอำนาจที่โจทก์และศาลจะกระทำได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 57 ดังนั้น ฎีกาจำเลยที่ว่าก่อนฟ้องโจทก์มิได้บอกกล่าวจำเลยร่วมและโจทก์มิได้โต้แย้งสิทธิของจำเลย จึงฟังไม่ขึ้น
ป.พ.พ. มาตรา 1673 โดยมิพักต้องทำพิธีรับมรดก และหรือเข้าครอบครองที่ดินนั้น โดยเหตุนี้ เจ้าของที่ดินเช่นว่านี้ย่อมมีอำนาจฟ้องให้ศาลสั่งแสดงกรรมสิทธิ์และขับไล่ผู้อาศัย
(2) ใบนำเพื่อจะไปเสียเงินบำรุงท้องที่นั้น ไม่ใช่เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน
(3) เนื่องจากคำให้การต่อสู้ของจำเลยจึงเป็นเหตุให้โจทก์ขอให้ศาลเรียกจำเลยเข้ามาในคดี อันเป็นอำนาจที่โจทก์และศาลจะกระทำได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 57 ดังนั้น ฎีกาจำเลยที่ว่าก่อนฟ้องโจทก์มิได้บอกกล่าวจำเลยร่วมและโจทก์มิได้โต้แย้งสิทธิของจำเลย จึงฟังไม่ขึ้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1812/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การได้มาซึ่งที่ดินตามพินัยกรรม, อำนาจฟ้อง, และการดำเนินกระบวนพิจารณาคดี
(1) เมื่อผู้ทำพินัยกรรมตาย ที่ดินซึ่งระบุไว้ในพินัยกรรมย่อมตกได้แก่ผู้รับพินัยกรรมทันทีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1673 โดยมิพักต้องทำพิธีรับมรดก และหรือเข้าครอบครองที่ดินนั้น โดยเหตุนี้ เจ้าของที่ดินเช่นว่านี้ย่อมมีอำนาจฟ้องให้ศาลสั่งแสดงกรรมสิทธิ์และขับไล่ผู้อาศัย (2) ใบนำเพื่อจะไปเสียเงินบำรุงท้องที่นั้น ไม่ใช่เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน (3) เนื่องจากคำให้การต่อสู้ของจำเลยจึงเป็นเหตุให้โจทก์ขอให้ศาลเรียกจำเลยร่วมเข้ามาในคดี อันเป็นอำนาจที่โจทก์และศาลจะกระทำได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 ดังนั้นฎีกาจำเลยที่ว่าก่อนฟ้องโจทก์มิได้บอกกล่าวจำเลยร่วมและโจทก์มิได้โต้แย้งสิทธิของจำเลย จึงฟังไม่ขึ้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1798/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิ่งปลูกสร้างเพิ่มเติมในสัญญาเช่า ย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์ผู้ให้เช่าเมื่อครบกำหนด
สัญญาที่ผู้เช่าได้ทำไว้ต่อผู้ให้เช่าว่าทรัพย์ที่เช่าที่ได้สร้างขึ้นก่อนและต่อเติมปลูกใหม่ ต้องตกเป็นสิทธิแก่ผู้ให้เช่าทั้งสิ้นนั้น เมื่อครบกำหนดการเช่าแล้ว สถานที่ซึ่งผู้เช่าสร้างเพิ่มเติมติดต่อเชื่อมเป็นอันเดียวกับทรัพย์ที่เช่าจึงย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ให้เช่าไปในตัวโดยมิพักต้องทำพิธีโอนหรือให้ผู้เช่ายินยอมยกให้แก่ผู้ให้เช่าอีกไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1798/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์สิ่งปลูกสร้างเพิ่มเติมบนพื้นที่เช่า ย่อมตกเป็นของเจ้าของที่ดินตามสัญญา
สัญญาที่ผู้เช่าได้ทำไว้ต่อผู้ให้เช่าว่า ทรัพย์ที่เช่าที่ได้สร้างขึ้นก่อนและต่อเติมปลูกใหม่ ต้องตกเป็นสิทธิแก่ผู้ให้เช่าทั้งสิ้นนั้น เมื่อครบกำหนดการเช่าแล้ว สถานที่ซึ่งผู้เช่าสร้างเพิ่มเติมติดต่อเชื่อมเป็นอันเดียวกับทรัพย์ที่เช่าจึงย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้ให้เช่าไปในตัวโดยมิพักต้องทำพิธีโอนหรือให้ผู้เช่ายินยอมยกให้แก่ผู้ให้เช่าอีกไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1775-1776/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ดินชลประทานเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ห้ามยกอายุความได้ การครอบครองก่อนการกันเขตไม่เป็นอุปสรรค
1. กรมชลประทานเป็นกรมในรัฐบาล ขึ้นกับกระทรวงเกษตราธิการ และเป็นนิติบุคคล เป็นเจ้าหน้าที่โดยตรงในการทดน้ำ ไขน้ำ เมื่อมีผู้ละเมิด กรมชลประทานย่อมมีอำนาจฟ้องขับไล่ได้
2. คำฟ้องที่กล่าวถึงเขตที่ดินที่กันไว้เพื่อการชลประทานโดยอาศัยอำนาจตามประกาศกระแสพระบรมราชโองการ ฯ และประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดหวงห้ามที่ดินชายทะเลโดยมีแผนที่ประกอบไว้ท้ายฟ้องด้วย นับว่าเป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
3. ที่พิพาทซึ่งอยู่ในเขตที่ดินของชลประทานจึงเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินซึ่งสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน จึงเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1304 ห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นต่อสู้กับแผ่นดินในเรื่องทรัพย์สืบอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามมาตรา 1306
4. ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามที่ดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ.2478 ให้หวงห้ามโดยวิธีการออกพระราชกฤษฎีกาและประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ก่อนหน้านี้ไม่มีกฎหมายบังคับไว้อย่างไร ผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรัฐย่อมออกประกาศหวงห้ามที่รกร้างว่างเปล่าไม่ให้ผู้ใดรับจองหรือเข้าถือเอาโดยพลการ ไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายในที่ใดให้สิทธิราษฎรจับจองที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินเอาตามชอบใจ
5. ส.ค.1 ไม่เป็นเอกสารแสดงสิทธิอย่างใดตามกฎหมาย
(ซ้ำฎีกาที่ 1218/2504)
2. คำฟ้องที่กล่าวถึงเขตที่ดินที่กันไว้เพื่อการชลประทานโดยอาศัยอำนาจตามประกาศกระแสพระบรมราชโองการ ฯ และประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดหวงห้ามที่ดินชายทะเลโดยมีแผนที่ประกอบไว้ท้ายฟ้องด้วย นับว่าเป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
3. ที่พิพาทซึ่งอยู่ในเขตที่ดินของชลประทานจึงเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินซึ่งสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน จึงเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1304 ห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นต่อสู้กับแผ่นดินในเรื่องทรัพย์สืบอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามมาตรา 1306
4. ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามที่ดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ.2478 ให้หวงห้ามโดยวิธีการออกพระราชกฤษฎีกาและประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ก่อนหน้านี้ไม่มีกฎหมายบังคับไว้อย่างไร ผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรัฐย่อมออกประกาศหวงห้ามที่รกร้างว่างเปล่าไม่ให้ผู้ใดรับจองหรือเข้าถือเอาโดยพลการ ไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายในที่ใดให้สิทธิราษฎรจับจองที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินเอาตามชอบใจ
5. ส.ค.1 ไม่เป็นเอกสารแสดงสิทธิอย่างใดตามกฎหมาย
(ซ้ำฎีกาที่ 1218/2504)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1775-1776/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ดินสาธารณประโยชน์ชลประทาน: การกันเขตที่ดินเพื่อประโยชน์สาธารณะและการครอบครองก่อนหน้า
กรมชลประทานเป็นกรมในรัฐบาล ขึ้นกับกระทรวงเกษตราธิการและเป็นนิติบุคคล เป็นเจ้าหน้าที่โดยตรงในการทดน้ำไขน้ำ เมื่อมีผู้ละเมิด กรมชลประทานย่อมมีอำนาจฟ้องขับไล่ได้ 2. คำฟ้องที่กล่าวถึงเขตที่ดินที่กันไว้เพื่อการชลประทานโดยอาศัยอำนาจตามประกาศกระแสพระบรมราชโองการฯ และประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดหวงห้ามที่ดินชายทะเลโดยมีแผนที่ประกอบไว้ท้ายฟ้องด้วย นับว่าเป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม 3. ที่พิพาทซึ่งอยู่ในเขตที่ดินของชลประทานจึงเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินซึ่งสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน จึงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 ห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นต่อสู้กับแผ่นดินในเรื่องทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามมาตรา 1306 4. ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามที่ดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ.2478 ให้หวงห้ามโดยวิธีการออกพระราชกฤษฎีกาและประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ก่อนหน้านี้ไม่มีกฎหมายบังคับไว้อย่างไร ผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรัฐย่อมออกประกาศหวงห้ามที่รกร้างว่างเปล่าไม่ให้ผู้ใดจับจองหรือเข้าถือเอาโดยพลการ ไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายในที่ใดให้สิทธิราษฎรจับจองที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินเอาตามชอบใจ 5. ส.ค.1 ไม่เป็นเอกสารแสดงสิทธิอย่างใดตามกฎหมาย (ซ้ำฎีกาที่ 1218/2504)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1667/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาทุจริตในการซื้อขายรถยนต์ที่มีคำสั่งห้ามโอน การกระทำไม่ถึงขั้นฉ้อโกง
การที่จำเลยนำรถยนต์ของจำเลยซึ่งศาลได้มีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้โอนขายหรือจำหน่ายในคดีหนึ่งอยู่แล้วไปทำสัญญาซื้อขายกับโจทก์โดยรับรองกับโจทก์ว่ารถยนต์ดังกล่าวเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยผู้เดียวไม่ โดยนำไปขายหรือจำนำหรือทำสัญญาใดผูกพันรถยนต์ดังกล่าวเลย แล้วจำเลยไม่ส่งมอบรถยนต์ดังกล่าวให้โจทก์นั้น การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานฉ้อโกง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1667/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายรถยนต์ที่มีคำสั่งห้ามโอน ไม่เข้าข่ายฉ้อโกงหากไม่ส่งมอบ
การที่จำเลยนำรถยนต์ของจำเลย ซึ่งศาลได้มีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้โอนขาย หรือจำหน่ายในคดีหนึ่งอยู่แล้ว ไปทำสัญญาซื้อขายกับโจทก์โดยรับรองกับโจทก์ว่า รถยนต์ดังกล่าวเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยผู้เดียวไม่เคยนำไปขายหรือจำนำ หรือทำสัญญาใดผูกพันรถยนต์ดังกล่าวเลยแล้วจำเลยไม่ส่งมอบรถยนต์ดังกล่าวให้โจทก์นั้น การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานฉ้อโกง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1626/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของฟ้องอาญา: การระบุเวลาที่เกิดเหตุไม่จำเป็นต้องชัดเจนหากจำเลยเข้าใจข้อหา
โจทก์กล่าวในฟ้องเกี่ยวกับเวลาว่า เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2505 เวลากลางนั้น เป็นที่ประจักษ์ว่าเป็นข้อผิดพลาดในการเรียงความโดยเขียนตกคำว่า วัน หรือคืน ไปคำหนึ่ง ทั้งความผิดฐานเล่นพนันสลากกินรวบนี้ จะกระทำในเวลากลางวันหรือกลางคืน ก็หาเป็นสาระสำคัญแห่งการกระทำผิดไม่ จำเลยมิได้หลงต่อสู้ คงเข้าใจตลอดมาว่าโจทก์กล่าวหาว่ากระทำผิดในเวลากลางวัน จึงจะชี้ขาดว่าฟ้องโจทก์บกพร่อง โดยไม่ระบุเวลาถึงขนาดที่จะเป็นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158 หาได้ไม่ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 21/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1626/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความบกพร่องของฟ้องอาญา: การระบุเวลาเกิดเหตุไม่ชัดเจนไม่ถึงขนาดทำให้ฟ้องไม่สมบูรณ์หากจำเลยเข้าใจข้อหาได้
โจทก์กล่าวในฟ้องเกี่ยวกับเวลาว่า เมื่อ วันที่ 10 มกราคม 2505 เวลากลาง นั้น เป็นที่ประจักษ์ว่าเป็นข้อผิดพลาดในการเรียงความโดยเขียนตกคำว่า วัน หรือ คืน ไปคำหนึ่งทั้งความผิดฐานเล่นพนันสลากกินรวบนี้ จะกระทำในเวลากลางวันหรือกลางคืนก็หาเป็นสาระสำคัญแห่งการกระทำผิดไม่ จำเลยมิได้หลงต่อสู้ คงเข้าใจตลอดมาว่าโจทก์กล่าวหาว่ากระทำผิดในเวลากลางวัน จึงจะชี้ขาดว่าฟ้องโจทก์บกพร่องโดยไม่ระบุเวลาถึงขนาดที่จะเป็นฟ้องที่ไม่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158 หาได้ไม่
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 21/2506)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 21/2506)