พบผลลัพธ์ทั้งหมด 8 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1105/2504
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีอาญา: ใช้กฎหมายที่ใช้ ณ เวลาทำผิด และมาตรา 80 อยู่ในบังคับมาตรา 78
ถ้าอายุความฟ้องคดีอาญาขณะกระทำผิดแตกต่างกับขณะฟ้องต้องใช้อายุความที่เป็นคุณแก่ผู้กระทำผิดบังคับ
ความผิดอันยอมความได้ ต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำผิด มิฉะนั้นจะขาดอายุความ ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 80 แต่ก็ต้องฟ้องคดีภายในกำหนดอายุความตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 78 เพราะอายุความร้องทุกข์ต้องอยู่ในบังคับอายุความฟ้องคดี
ความผิดอันยอมความได้ ต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำผิด มิฉะนั้นจะขาดอายุความ ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 80 แต่ก็ต้องฟ้องคดีภายในกำหนดอายุความตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 78 เพราะอายุความร้องทุกข์ต้องอยู่ในบังคับอายุความฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1105/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีอาญา: ใช้กฎหมายที่ใช้ขณะกระทำผิด และอายุความร้องทุกข์ต้องอยู่ในบังคับอายุความฟ้อง
ถ้าอายุความฟ้องคดีอาญาขณะกระทำผิดแตกต่างกับขณะฟ้อง ต้องใช้อายุความที่เป็นคุณแก่ผู้กระทำผิดบังคับ
ความผิดอันยอมความได้ ต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำผิด มิฉะนั้น ขาดอายุความตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 80 แต่ก็ต้องฟ้องคดีภายในกำหนดอายุความตามกฏหมายลักษณะอาญา มาตรา 78 เพราะอายุความร้องทุกข์ต้องอยู่ในบังคับอายุความฟ้องคดี
ความผิดอันยอมความได้ ต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำผิด มิฉะนั้น ขาดอายุความตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 80 แต่ก็ต้องฟ้องคดีภายในกำหนดอายุความตามกฏหมายลักษณะอาญา มาตรา 78 เพราะอายุความร้องทุกข์ต้องอยู่ในบังคับอายุความฟ้องคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1106/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฉ้อโกง: การสะดุดหยุดของอายุความเมื่อมีการอุทธรณ์ และการนับอายุความใหม่เมื่อถอนอุทธรณ์
จำเลยทำผิดฐานฉ้อโกงตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 304เหตุเกิดเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2492 และถูกฟ้องที่ศาลแขวงพระนครใต้ ศาลแขวงพระนครใต้พิพากษาเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2492 ให้ยกฟ้อง อ้างว่าคดีเกินอำนาจศาลแขวง จำเลยอุทธรณ์ว่า ศาลแขวงมีอำนาจพิจารณาพิพากษาได้ระหว่างอุทธรณ์ จำเลยขอถอนอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์สั่งอนุญาตให้ถอนอุทธรณ์ได้ โจทก์และจำเลยได้ฟังคำสั่งศาลอุทธรณ์เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2493 โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยต่อศาลอาญาเมื่อวันที่13 พฤษภาคม 2498 จากวันที่ 16 ตุลาคม 2493 ถึงวันที่ 13 พฤษภาคม 2498 ยังไม่ล่วงพ้นกำหนด5 ปี คดีโจทก์ไม่ขาดอายุความ เพราะระหว่างที่จำเลยยังอุทธรณ์คำพิพากษาของศาลแขวงพระนครใต้อยู่นั้น ต้องถือว่าคดีที่จำเลยถูกฟ้องนี้ ยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ ซึ่งตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 79 ถือว่าอายุความยังสะดุดหยุดอยู่ตลอดมาจนถึงวันที่จำเลยได้ฟังคำสั่งของศาลอุทธรณ์ คือ วันที่ 16 ตุลาคม 2493 ที่อนุญาตให้จำเลยถอนอุทธรณ์ได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่17/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1106/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฉ้อโกง: การอุทธรณ์คดีทำให้ระยะเวลาอายุความสะดุดหยุดลงจนกว่าจะมีคำสั่งศาลอุทธรณ์
จำเลยทำผิดฐานฉ้อโกงตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 304 เหตุเกิดเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2492 และถูกฟ้องที่ศาลแขวง พระนครใต้ ศาลแขวงพระนครใต้พิพากษาเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2492 ให้ยกฟ้อง อ้างว่าคดีเกินอำนาจศาลแขวง จำเลยอุทธรณ์ว่า ศาลแขวงมีอำนาจพิจารณาพิพากษาได้ ระหว่างอุทธรณ์ จำเลยขอถอนอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์สั่งอนุญาตให้ถอนอุทธรณ์ได้ โจทก์ และจำเลยได้ฟังคำสั่งศาลอุทธรณ์ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2493 โจทก์ยืนฟ้องจำเลย ต่อศาลอาญา เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2498 จากวันที่ 16 ตุลาคม 2493 ถึงวันที่ 13 พฤษภาคม 2498 ยังไม่ล่วงพ้น กำหนด 5 ปี คดีโจทก์ไม่ขาดอายุความ เพราะระหว่างก็ที่จำเลย ยังอุทธรณ์ คำพิพากษาของศาลแขวงพระนครใต้อยู่นั้น ต้องถือว่าคดีมีจำเลยถูกฟ้องนี้ ยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ ซึ่งตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 79 ถือว่าอายุความยังสดุดหยุดอยู่ตลอดมาจนถึงวันที่ จำเลยได้ฟังคำสั่ง ของศาลอุทธรณ์ คือวันที่ 16 ตุลาคม 2493 ที่อนุญาตให้จำเลยถอนอุทธรณ์ได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 17/2503)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 773/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีอาญา: การแจ้งความถือเป็นการร้องทุกข์ คดีไม่ขาดอายุความหากฟ้องภายใน 5 ปี
การแจ้งให้ตำรวจจับผู้ต้องหาถือว่าเป็นการร้องทุกข์ตามกฎหมายแล้ว
โจทก์ได้ร้องทุกข์ในคดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวต่อพนักงานสอบสวนภายในกำหนดอายุความ 3 เดือน โจทก์นำคดีมาฟ้องศาลเกินกว่า 3 เดือนแต่ยังไม่พ้นอายุความฟ้องคดีอาญาตามกฎหมายลักษณะอาญาคดีของโจทก์หาขาดอายุความไม่
โจทก์ได้ร้องทุกข์ในคดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวต่อพนักงานสอบสวนภายในกำหนดอายุความ 3 เดือน โจทก์นำคดีมาฟ้องศาลเกินกว่า 3 เดือนแต่ยังไม่พ้นอายุความฟ้องคดีอาญาตามกฎหมายลักษณะอาญาคดีของโจทก์หาขาดอายุความไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 773/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีอาญา: การร้องทุกข์ต่อตำรวจถือเป็นการเริ่มนับอายุความ แม้ฟ้องเกิน 3 เดือน แต่ยังไม่ขาดอายุความ 5 ปี
การให้ตำรวจจับผู้ต้องหาถือว่าเป็นการร้องทุกข์ตามกฎหมายแล้ว
โจทก์ได้ร้องทุกข์ในคดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวต่อพนักงานสอบสวน ภายในกำหนดอายุความ 3 เดือน โจทก์นำคดีมาฟ้องศาลเกินกว่า 3 เดือน แต่ยังไม่พ้นอายุความฟ้องคดีอาญาตามกฎหมายลักษณะอาญา คดีของโจทก์หาขาดอายุความไม่
โจทก์ได้ร้องทุกข์ในคดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวต่อพนักงานสอบสวน ภายในกำหนดอายุความ 3 เดือน โจทก์นำคดีมาฟ้องศาลเกินกว่า 3 เดือน แต่ยังไม่พ้นอายุความฟ้องคดีอาญาตามกฎหมายลักษณะอาญา คดีของโจทก์หาขาดอายุความไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1013/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองไม้หวงห้ามโดยไม่ได้รับอนุญาต และอายุความในการฟ้องร้อง
มีไว้ในครอบครองซึ่งไม้หวงห้ามอันยังมิได้แปรรูปทั้งมิได้มีรอยตราค่าภาคหลวงประทับไว้ เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ 2484 มาตรา 69 ข้างท้าย อันมีโทษปรับไม่เกิน 500 บาท จำคุกไม่เกิน 6 เดือนฯลฯนั้น การฟ้องคดีอยู่ในอายุความ 5 ปีตาม กฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 78(3) มิใช่มาตรา 78(4)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1013/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีไม้หวงห้าม: ความผิดตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ มาตรา 69 ต้องระวางโทษปรับหรือจำคุก มีอายุความ 5 ปี
มีไว้ในครอบครองซึ่งไม่หวงห้ามอันยังมิได้แปรรูปทั้งมิได้มีรอยตราค่าภาคหลวงประทับไว้ เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ 2484 มาตรา 69 ข้างท้าย อันมีโทษปรับไม่เกิน 500 บาท จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ฯลฯ นั้น การฟ้องคดีอยู่ในอายุความ 5 ปีตาม ก.ม.ลักษณะอาญามาตรา 78 (3) มิใช่มาตรา 78 (4)