พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 258/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าของร่วม vs. หุ้นส่วน: ความแตกต่างและการฟ้องแบ่งทรัพย์สิน
'เจ้าของร่วม' กับ 'หุ้นส่วน'ต่างกันในข้อสำคัญที่ว่าการเข้าร่วมกันเพื่อกระทำกิจการด้วยประสงค์จะแบ่งปันกำไรอันจะพึงได้แก่กิจการที่ทำนั้นหรือไม่ถ้าไม่ประสงค์เช่นนั้นก็ไม่ใช่หุ้นส่วน เป็นแต่เจ้าของร่วมแต่ถ้าประสงค์จะแบ่งปันกำไรเช่นว่านั้น ก็เป็นหุ้นส่วนและเป็นเจ้าของร่วมด้วยในตัว
โจทก์ฟ้องขอแบ่งทรัพย์สินและกิจการของ'แม่น้ำมอเตอร์โบ๊ต'โดยอ้างว่าเป็นเจ้าของร่วมกันกับจำเลย แต่บรรยายฟ้องมาในรูปว่า โจทก์จำเลยเป็นหุ้นส่วนร่วมกัน จึงเท่ากับเป็นการฟ้องขอแบ่งทรัพย์สินในหุ้นส่วนซึ่งจะทำได้ก็ต่อเมื่อเลิกหุ้นส่วนเสียก่อนโจทก์ไม่ได้ฟ้องขอให้เลิกหุ้นส่วนศาลจึงต้องพิพากษายกฟ้อง
โจทก์ฟ้องขอแบ่งทรัพย์สินและกิจการของ'แม่น้ำมอเตอร์โบ๊ต'โดยอ้างว่าเป็นเจ้าของร่วมกันกับจำเลย แต่บรรยายฟ้องมาในรูปว่า โจทก์จำเลยเป็นหุ้นส่วนร่วมกัน จึงเท่ากับเป็นการฟ้องขอแบ่งทรัพย์สินในหุ้นส่วนซึ่งจะทำได้ก็ต่อเมื่อเลิกหุ้นส่วนเสียก่อนโจทก์ไม่ได้ฟ้องขอให้เลิกหุ้นส่วนศาลจึงต้องพิพากษายกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 258/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความแตกต่างระหว่างเจ้าของร่วมกับหุ้นส่วน และผลกระทบต่อการฟ้องแบ่งทรัพย์สิน
"เจ้าของร่วม" กับ "หุ้นส่วน" ต่างกันในข้อสำคัญที่ว่าการเข้าร่วมกันเพื่อกระทำกิจการด้วยประสงค์จะแบ่งปันกำไรอันจะพึงได้แก่กิจการที่ทำนั้นหรือไม่ ถ้าไม่ประสงค์เช่นนั้นก็ไม่ใช้หุ้นส่วน เป็นแต่เจ้าของร่วมแต่ถ้าประสงค์จะแบ่งปันกำไรเช่นว่านั้น ก็เป็นหุ้นส่วนและเป็นเจ้าของร่วมด้วยในตัว
โจทก์ฟ้องขอแบ่งทรัพย์สินและกิจการของ "แม่น้ำมอเตอร์โบ๊ต" โดยอ้างว่าเป็นเจ้าของร่วมกันกับจำเลย แต่บรรยายฟ้องมาในในรูปว่า โจทก์จำเลยเป็นหุ้นส่วนร่วมกัน จึงเท่ากับเป็นการฟ้องขอแบ่งทรัพย์สินในหุ้นส่วน ซึ่งจะทำได้ก็ต่อเมื่อเลิกหุ้นส่วนเสียก่อนโจทก์ไม่ได้ฟ้องขอให้เลิกหุ้นส่วนศาลจึงต้องพิพากษายกฟ้อง
โจทก์ฟ้องขอแบ่งทรัพย์สินและกิจการของ "แม่น้ำมอเตอร์โบ๊ต" โดยอ้างว่าเป็นเจ้าของร่วมกันกับจำเลย แต่บรรยายฟ้องมาในในรูปว่า โจทก์จำเลยเป็นหุ้นส่วนร่วมกัน จึงเท่ากับเป็นการฟ้องขอแบ่งทรัพย์สินในหุ้นส่วน ซึ่งจะทำได้ก็ต่อเมื่อเลิกหุ้นส่วนเสียก่อนโจทก์ไม่ได้ฟ้องขอให้เลิกหุ้นส่วนศาลจึงต้องพิพากษายกฟ้อง