พบผลลัพธ์ทั้งหมด 4 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2167/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสละมรดกต้องทำหลังเจ้ามรดกเสียชีวิต สัญญาทำก่อนจึงไม่ใช่การสละมรดก
การสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จะกระทำได้ต่อเมื่อหลังจากที่เจ้ามรดกตายแล้ว และผู้สละเป็นผู้มีสิทธิรับมรดกนั้นด้วย หากเจ้ามรดกยังไม่ตาย ก็ย่อมจะไม่มีมรดกตกทอดเพื่อให้ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกสละได้ ดังจะเห็นได้จากการที่มาตรา 1615 บัญญัติให้การสละมรดกมีผลย้อนหลังไปถึงเวลาที่เจ้ามรดกตาย
เจ้ามรดกทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้แก่ผู้ร้องแต่เพียงผู้เดียวเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2501 ต่อมาวันที่ 1 ธันวาคม 2504 ผู้ร้องและเจ้ามรดกได้ทำสัญญากันมีใจความว่า ผู้ร้องไม่ขอเกี่ยวข้องในทรัพย์สินของเจ้ามรดก นอกจากนา 10 ไร่ และยุ้งข้าวครึ่งหนึ่งแล้ว ผู้ร้องยอมสละสิทธิหมดทุกอย่างเท่าที่มีสิทธิจะพึงได้ ต่อมาเจ้ามรดกถึงแก่กรรม ดังนี้สัญญาดังกล่าวมิใช่เป็นการสละมรดก เพราะได้ทำไว้ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรม ไม่มีผลกระทบกระเทือนพินัยกรรมของเจ้ามรดกที่ทำไว้ข้างต้น และเมื่อผู้ร้องเป็นผู้เหมาะสม ไม่มีคุณสมบัติต้องห้ามตามกฎหมาย จึงชอบที่จะตั้งให้เป็นผู้จัดการมรดกรายนี้ได้
เจ้ามรดกทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้แก่ผู้ร้องแต่เพียงผู้เดียวเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2501 ต่อมาวันที่ 1 ธันวาคม 2504 ผู้ร้องและเจ้ามรดกได้ทำสัญญากันมีใจความว่า ผู้ร้องไม่ขอเกี่ยวข้องในทรัพย์สินของเจ้ามรดก นอกจากนา 10 ไร่ และยุ้งข้าวครึ่งหนึ่งแล้ว ผู้ร้องยอมสละสิทธิหมดทุกอย่างเท่าที่มีสิทธิจะพึงได้ ต่อมาเจ้ามรดกถึงแก่กรรม ดังนี้สัญญาดังกล่าวมิใช่เป็นการสละมรดก เพราะได้ทำไว้ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรม ไม่มีผลกระทบกระเทือนพินัยกรรมของเจ้ามรดกที่ทำไว้ข้างต้น และเมื่อผู้ร้องเป็นผู้เหมาะสม ไม่มีคุณสมบัติต้องห้ามตามกฎหมาย จึงชอบที่จะตั้งให้เป็นผู้จัดการมรดกรายนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2167/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสละมรดกต้องกระทำหลังเจ้ามรดกเสียชีวิต สัญญาทำก่อนถือเป็นสัญญาระหว่างบุคคลมีชีวิต
การสละมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จะกระทำได้ต่อเมื่อหลังจากที่เจ้ามรดกตายแล้ว และผู้สละเป็นผู้มีสิทธิรับมรดกนั้นด้วย หากเจ้ามรดกยังไม่ตายก็ย่อมตะไม่มีมรดกตกทอดเพื่อให้ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกสละได้ ดังจะเห็นได้จากการที่มาตรา 1615 บัญญัติให้การสละมรดกมีผลย้อนหลังไปถึงเวลาที่เจ้ามรดกตาย
เจ้ามรดกทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้แก่ผู้ร้องแต่เพียงผู้เดียวเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2501 ต่อมาวันที่ 1 ธันวาคม 2504 ผู้ร้องและเจ้ามรดกได้ทำสัญญากันมีใช้ความว่า ผู้ร้องไม่ขอเกี่ยวข้องในทรัพย์สินของเจ้ามรดก นอกจากนา 10 ไร่ และยุ้งข้าวครึ่งหนึ่งแล้ว ผู้ร้องยอมสละสิทธิหมดทุกอย่างเท่าที่มีสิทธิจะพึงได้ ต่อมาเจ้ามรดกถึงแก่กรรม ดังนี้สัญญาดังกล่าวมิใช่เป็นการสละมรดก เพราะได้ทำไว้ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรม ไม่มีผลกระทบกระเทือนพินัยกรรมของเจ้ามรดกที่ทำไว้ข้างต้น และเมื่อผู้ร้องเป็นผู้เหมาะสม ไม่มีคุณสมบัติต้องห้ามตามกฎหมาย จึงชอบที่จะต้องเป็นผู้จัดการมรดกรายนี้ได้
เจ้ามรดกทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้แก่ผู้ร้องแต่เพียงผู้เดียวเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2501 ต่อมาวันที่ 1 ธันวาคม 2504 ผู้ร้องและเจ้ามรดกได้ทำสัญญากันมีใช้ความว่า ผู้ร้องไม่ขอเกี่ยวข้องในทรัพย์สินของเจ้ามรดก นอกจากนา 10 ไร่ และยุ้งข้าวครึ่งหนึ่งแล้ว ผู้ร้องยอมสละสิทธิหมดทุกอย่างเท่าที่มีสิทธิจะพึงได้ ต่อมาเจ้ามรดกถึงแก่กรรม ดังนี้สัญญาดังกล่าวมิใช่เป็นการสละมรดก เพราะได้ทำไว้ก่อนเจ้ามรดกถึงแก่กรรม ไม่มีผลกระทบกระเทือนพินัยกรรมของเจ้ามรดกที่ทำไว้ข้างต้น และเมื่อผู้ร้องเป็นผู้เหมาะสม ไม่มีคุณสมบัติต้องห้ามตามกฎหมาย จึงชอบที่จะต้องเป็นผู้จัดการมรดกรายนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 288/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม และการโอนสิทธิในมรดก
ทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้แก่บุคคลหลายคนเป็นผู้รับเมื่อเจ้ามรดกตายสิทธิในทรัพย์ย่อมตกได้แก่ผู้รับพินัยกรรม
บรรดาผู้รับพินัยกรรมจึงได้ชื่อว่า เป็นเจ้าของร่วมในทรัพย์มรดกฉะนั้นการที่ผู้รับพินัยกรรมคนหนึ่งจัดการเรียกร้องทรัพย์มรดกได้มาจากบุคคลอื่นแล้วจะกีดกันเอาไว้แต่ผู้เดียวมิได้ จำต้องแบ่งกันระหว่างผู้รับพินัยกรรมตามส่วน
ผู้รับพินัยกรรมคนหนึ่งทำหนังสือยอมมอบสิทธิการรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมของตน ซึ่งตกอยู่กับผู้รับมรดกอีกคนหนึ่งให้แก่ผู้รับพินัยกรรมอีกคนหนึ่ง นั้น มิใช่เป็นการสละมรดก และการโอนเช่นนี้ถือว่าใช้ได้ ผู้รับโอนย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกมรดกส่วนที่โอนนั้นจากผู้ยึดถือทรัพย์มรดกนั้นอยู่ได้
บรรดาผู้รับพินัยกรรมจึงได้ชื่อว่า เป็นเจ้าของร่วมในทรัพย์มรดกฉะนั้นการที่ผู้รับพินัยกรรมคนหนึ่งจัดการเรียกร้องทรัพย์มรดกได้มาจากบุคคลอื่นแล้วจะกีดกันเอาไว้แต่ผู้เดียวมิได้ จำต้องแบ่งกันระหว่างผู้รับพินัยกรรมตามส่วน
ผู้รับพินัยกรรมคนหนึ่งทำหนังสือยอมมอบสิทธิการรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรมของตน ซึ่งตกอยู่กับผู้รับมรดกอีกคนหนึ่งให้แก่ผู้รับพินัยกรรมอีกคนหนึ่ง นั้น มิใช่เป็นการสละมรดก และการโอนเช่นนี้ถือว่าใช้ได้ ผู้รับโอนย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกมรดกส่วนที่โอนนั้นจากผู้ยึดถือทรัพย์มรดกนั้นอยู่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 288/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าของร่วมมรดกมีสิทธิเรียกร้องแบ่งทรัพย์จากผู้รับพินัยกรรมคนอื่นได้ การโอนสิทธิเรียกร้องมรดกทำได้
ทำพินัยกรรม์ยกทรัพย์สินให้แก่บุคคลหลายคนเป็นผู้รับ เมื่อเจ้ามรดกตายสิทธิในทรัพย์ย่อมตกได้แก่ผู้รับพินัยกรรม์ บรรดาผู้รับพินัยกรรม์จึงได้ชื่อว่า เป็นเจ้าของร่วมในทรัพย์มรดกฉะนั้นการที่ผู้รับพินัยกรรม์คนหนึ่งจัดการเรียกร้องทรัพย์มรดกได้มาจากบุคคลอื่นแล้วจะกีดกันเอาไว้แต่ผู้เดียวมิได้ จำต้องแบ่งกันระหว่างผู้รับพินัยกรรม์ตามส่วน
ผู้รับพินัยกรรมคนหนึ่งทำหนังสือยอมมอบสิทธิการรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม์ของตน ซึ่งตกอยู่กับผู้รับมรดกอีกคนหนึ่งให้แก่ผู้รับพินัยกรรมอีกคนหนึ่ง นั้นมิใช่เป็นการสละมรดก และการโอนเช่นนี้ถือว่าใช้ได้ ผู้รับโอนย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกมรดกส่วนที่โอนนั้นจากผู้ยึดถือทรัพย์มรดกนั้นอยู่ได้
ผู้รับพินัยกรรมคนหนึ่งทำหนังสือยอมมอบสิทธิการรับทรัพย์มรดกตามพินัยกรรม์ของตน ซึ่งตกอยู่กับผู้รับมรดกอีกคนหนึ่งให้แก่ผู้รับพินัยกรรมอีกคนหนึ่ง นั้นมิใช่เป็นการสละมรดก และการโอนเช่นนี้ถือว่าใช้ได้ ผู้รับโอนย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกมรดกส่วนที่โอนนั้นจากผู้ยึดถือทรัพย์มรดกนั้นอยู่ได้