พบผลลัพธ์ทั้งหมด 150 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2211/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ไม้สักแปรรูปบนเรือโป๊ะไม่เป็นสิ่งปลูกสร้างหรือเครื่องใช้ แต่เป็นไม้แปรรูปที่ผิดกฎหมายป่าไม้
ไม้ของกลางเป็นไม้สักแปรรูปเป็นแผ่นกระดานหนานำมาปูพื้นเรือโป๊ะ ขนาดใหญ่การปูปูเอาไว้หยาบๆเพียงให้หัวไม้และท้ายไม้ต่อชนกัน ไม่ได้ทำให้เข้ากันให้สนิทและยังมีช่องว่างระหว่างแผ่นไม้ห่างกันมาก ไม่ได้ไสกบตบแต่งให้เรียบร้อย ทั้งลักษณะของไม้ก็เป็นไม้ที่ใหม่สดใช้ตะปูตีตอกทุกแผ่น โดยไม่เปิดช่องไว้สำหรับวิดน้ำเลยแสดงว่าทำไว้เป็นการชั่วคราว เพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย ดังนี้ไม้ของกลางจึงไม่อยู่ในสภาพเป็นสิ่งปลูกสร้าง หรืออยู่ในสภาพเป็นเครื่องใช้ตามความหมายในมาตรา 4(4) แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ฯต้องถือว่าเป็นไม้แปรรูป
ศาลล่างพิพากษายกฟ้องด้วยข้อกฎหมาย โดยมิได้วินิจฉัยข้อเท็จจริงตามข้อต่อสู้ของจำเลยด้วย เมื่อศาลฎีกาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายตรงข้ามกับศาลล่าง และเห็นว่าโจทก์จำเลยได้นำสืบพยานมาจนสิ้นกระแสความแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงไปเลย โดยไม่ต้องย้อนสำนวน
ศาลล่างพิพากษายกฟ้องด้วยข้อกฎหมาย โดยมิได้วินิจฉัยข้อเท็จจริงตามข้อต่อสู้ของจำเลยด้วย เมื่อศาลฎีกาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายตรงข้ามกับศาลล่าง และเห็นว่าโจทก์จำเลยได้นำสืบพยานมาจนสิ้นกระแสความแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงไปเลย โดยไม่ต้องย้อนสำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2211/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ไม้สักแปรรูปบนเรือโป๊ะ ไม่เข้าข่ายสิ่งปลูกสร้างหรือเครื่องใช้ จึงเป็นไม้แปรรูปผิดกฎหมายป่าไม้
ไม้ของกลางเป็นไม้สักแปรรูปเป็นแผ่นกระดานหนา นำมาปูพื้นเรือโป๊ะ ขนาดใหญ่การปูปูเอาไว้หยาบๆ เพียงให้หัวไม้และท้ายไม้ต่อชนกัน ไม่ได้ทำให้เข้ากันให้สนิท และยังมีช่องว่างระหว่างแผ่นไม้ห่างกันมาก ไม่ได้ไสกบตบแต่งให้เรียบร้อย ทั้งลักษณะของไม้ก็เป็นไม้ที่ใหม่สด ใช้ตะปูตีตอกทุกแผ่น โดยไม่เปิดช่องไว้สำหรับวิดน้ำเลย แสดงว่าทำไว้เป็นการชั่วคราว เพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย ดังนี้ ไม้ของกลางจึงไม่อยู่ในสภาพเป็นสิ่งปลูกสร้าง หรืออยู่ในสภาพเป็นเครื่องใช้ตามความหมายในมาตรา 4(4) แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ฯ ต้องถือว่าเป็นไม้แปรรูป
ศาลล่างพิพากษายกฟ้องด้วยข้อกฎหมาย โดยมิได้วินิจฉัยข้อเท็จจริงตามข้อต่อสู้ของจำเลยด้วย เมื่อศาลฎีกาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายตรงข้ามกับศาลล่าง และเห็นว่าโจทก์จำเลยได้นำสืบพยานมาจนสิ้นกระแสความแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงไปเลย โดยไม่ต้องย้อนสำนวน
ศาลล่างพิพากษายกฟ้องด้วยข้อกฎหมาย โดยมิได้วินิจฉัยข้อเท็จจริงตามข้อต่อสู้ของจำเลยด้วย เมื่อศาลฎีกาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายตรงข้ามกับศาลล่าง และเห็นว่าโจทก์จำเลยได้นำสืบพยานมาจนสิ้นกระแสความแล้ว ศาลฎีกามีอำนาจวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงไปเลย โดยไม่ต้องย้อนสำนวน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1230/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำความผิดพ.ร.บ.ป่าไม้: การพรางเรือนแพเพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 1 ปี ปรับ 2,000 บาทแต่ให้รอการลงโทษไว้มีกำหนด 2 ปี ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ให้ลงโทษจำคุกจำเลยสถานเดียว แต่ไม่รอการลงโทษ จึงเป็นการแก้ไขมาก จำเลยฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้
ไม้ทุกชิ้นที่สร้างเรือนแพของจำเลยไม่ได้ไสกบเลย พื้นเรือนตีตะปูยึดกับตงไว้ที่หัวและท้ายเพียงบางแผ่นตงก็ใช้ไม้ขนาดเดียวกับไม้พื้น ชานเรือนใช้ไม้ปูซ้อนล้ำกันถึง 1 วา ฝากั้นห้องไม่เสมอกันและปล่อยยื่นออกมานอกเสา การตั้งวงกบประตูหน้าต่างก็เพียงแต่ตีชนกันไว้ ไม่ได้เข้าไม้ให้แน่นหนา หัวเสาที่รับอะเสไม่ได้บากหรือหยักหัวเสาให้รับกัน มีแต่ตะปูตีไว้ไม่มั่นคงแข็งแรง ลูกบวบที่รองรับเรือนแพก็ผูกไว้ไม่แน่นหนาสมกับจะเป็นที่อยู่อาศัย ดังนี้ ถือได้ว่าเป็น ไม้แปรรูปที่ทำขึ้นเพียงให้เป็นรูปเรือนแพเพื่อพรางหรือลวงโดยเจตนาหลีกเลี่ยงกฎหมาย และเพื่อสะดวกแก่การขนย้ายหาใช่เป็นไม้ที่อยู่ในสภาพของสิ่งปลูกสร้างตาม ความหมายแห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2503 มาตรา 4 ไม่
ไม้ทุกชิ้นที่สร้างเรือนแพของจำเลยไม่ได้ไสกบเลย พื้นเรือนตีตะปูยึดกับตงไว้ที่หัวและท้ายเพียงบางแผ่นตงก็ใช้ไม้ขนาดเดียวกับไม้พื้น ชานเรือนใช้ไม้ปูซ้อนล้ำกันถึง 1 วา ฝากั้นห้องไม่เสมอกันและปล่อยยื่นออกมานอกเสา การตั้งวงกบประตูหน้าต่างก็เพียงแต่ตีชนกันไว้ ไม่ได้เข้าไม้ให้แน่นหนา หัวเสาที่รับอะเสไม่ได้บากหรือหยักหัวเสาให้รับกัน มีแต่ตะปูตีไว้ไม่มั่นคงแข็งแรง ลูกบวบที่รองรับเรือนแพก็ผูกไว้ไม่แน่นหนาสมกับจะเป็นที่อยู่อาศัย ดังนี้ ถือได้ว่าเป็น ไม้แปรรูปที่ทำขึ้นเพียงให้เป็นรูปเรือนแพเพื่อพรางหรือลวงโดยเจตนาหลีกเลี่ยงกฎหมาย และเพื่อสะดวกแก่การขนย้ายหาใช่เป็นไม้ที่อยู่ในสภาพของสิ่งปลูกสร้างตาม ความหมายแห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2503 มาตรา 4 ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1862-1863/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองที่ดินสาธารณประโยชน์โดยสุจริตและต่อเนื่อง ย่อมไม่มีความผิดอาญา
จำเลยได้ครอบครองที่พิพาทถึง 30 ปี ได้เสียภาษีบำรุงท้องที่และได้รับ น.ส.3 ต่อมาทางราชการได้รังวัดปักหลักเขตทำเลเลี้ยงสัตว์สาธารณะ จำเลยได้ฟ้องเจ้าพนักงานเป็นคดีแพ่ง เมื่อทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน จำเลยยอมรับว่าที่พิพาทเป็นที่สาธารณประโยชน์ และฝ่ายเจ้าพนักงานยินยอมให้จำเลยครอบครองที่พิพาทไปก่อน โดยจะดำเนินการให้ทางราชการถอนสภาพที่พิพาทนั้น เปิดโอกาสให้จำเลยจับจองครอบครองที่พิพาท แม้จะยังมิได้มีพระราชกฤษฎีกาให้เพิกถอนที่ดินดังกล่าวก็ตาม ก็เป็นพฤติการณ์ที่ทำให้จำเลยเข้าใจโดยสุจริตว่าจำเลยเข้าครอบครองโดยชอบ หาได้จงใจฝ่าฝืนกฎหมายไม่ จึงขาดเจตนาอันเป็นองค์ประกอบความผิดทางอาญา จำเลยไม่มีความผิด (อ้างฎีกาที่ 1462/2507)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1862-1863/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาในการกระทำความผิดทางอาญา: การครอบครองที่ดินโดยสุจริตและพฤติการณ์ที่ทำให้เข้าใจผิด
จำเลยได้ครอบครองที่พิพาทถึง 30 ปี ได้เสียภาษีบำรุงท้องที่และได้รับ น.ส.3. ต่อมาทางราชการได้รังวัดปักหลักเขตทำเลเลี้ยงสัตว์สาธารณะ จำเลยได้ฟ้องเจ้าพนักงานเป็นคดีแพ่ง เมื่อทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน จำเลยยอมรับว่าที่พิพาทเป็นที่สาธารณประโยชน์ และฝ่ายเจ้าพนักงานยินยอมให้จำเลยครอบครองที่พิพาทไปก่อน โดยจะดำเนินการให้ทางราชการถอนสภาพที่พิพาทนั้น เปิดโอกาสให้จำเลยจับจองครอบครองที่พิพาท แม้จะยังมิได้มีพระราชกฤษฎีกาให้เพิกถอนที่ดินดังกล่าวก็ตาม ก็เป็นพฤติการณ์ที่ทำให้จำเลยเข้าใจโดยสุจริตว่าจำเลยเข้าครอบครองโดยชอบ หาได้จงใจฝ่าฝืนกฎหมายไม่ จึงขาดเจตนาอันเป็นองค์ประกอบความผิดทางอาญา จำเลยไม่มีความผิด (อ้างฎีกาที่ 1462/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1862-1863/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาในการครอบครองที่ดินสาธารณประโยชน์ หากเข้าใจโดยสุจริต ย่อมไม่มีความผิดทางอาญา
จำเลยได้ครอบครองที่พิพาทถึง 30 ปี ได้เสียภาษีบำรุงท้องที่และได้รับ น.ส.3. ต่อมาทางราชการได้รังวัดปักหลักเขตทำเลเลี้ยงสัตว์สาธารณะ. จำเลยได้ฟ้องเจ้าพนักงานเป็นคดีแพ่ง. เมื่อทำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน จำเลยยอมรับว่าที่พิพาทเป็นที่สาธารณประโยชน์ และฝ่ายเจ้าพนักงานยินยอมให้จำเลยครอบครองที่พิพาทไปก่อน. โดยจะดำเนินการให้ทางราชการถอนสภาพที่พิพาทนั้น เปิดโอกาสให้จำเลยจับจองครอบครองที่พิพาท. แม้จะยังมิได้มีพระราชกฤษฎีกาให้เพิกถอนที่ดินดังกล่าวก็ตาม.ก็เป็นพฤติการณ์ที่ทำให้จำเลยเข้าใจโดยสุจริตว่าจำเลยเข้าครอบครองโดยชอบ หาได้จงใจฝ่าฝืนกฎหมายไม่. จึงขาดเจตนาอันเป็นองค์ประกอบความผิดทางอาญา. จำเลยไม่มีความผิด.(อ้างฎีกาที่ 1462/2509).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1207/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีป่าไม้และการไม่เคลือบคลุมของฟ้อง: การพิจารณาอัตราโทษและรายละเอียดการกระทำ
ความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 มาตรา 73พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2503 มาตรา 17 มีอัตราโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000บาท ฉะนั้นจึงต้องถืออายุความฟ้องร้อง 10 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 95(3)
ฟ้องโจทก์ซึ่งบรรยายว่า 'ฯลฯ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม2506 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2507 ฯลฯ' ประกอบข้อความว่า'ฯลฯได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ป่าบางน้ำจืดบางส่วนในท้องที่ตำบลบางสน อำเภอปทิว จังหวัดชุมพร เป็นป่าคุ้มครอง และจำเลยได้ทำลายป่า และตัดฟันไม้หวงห้ามในเขตป่าสงวนแห่งชาติรวมเนื้อที่ 3 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา โดยมิได้รับอนุญาต ฯลฯ' ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
ฟ้องโจทก์ซึ่งบรรยายว่า 'ฯลฯ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม2506 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2507 ฯลฯ' ประกอบข้อความว่า'ฯลฯได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ป่าบางน้ำจืดบางส่วนในท้องที่ตำบลบางสน อำเภอปทิว จังหวัดชุมพร เป็นป่าคุ้มครอง และจำเลยได้ทำลายป่า และตัดฟันไม้หวงห้ามในเขตป่าสงวนแห่งชาติรวมเนื้อที่ 3 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา โดยมิได้รับอนุญาต ฯลฯ' ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1207/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีป่าไม้และการไม่เคลือบคลุมของฟ้อง: การพิจารณาโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี
ความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 มาตรา 73พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2503 มาตรา 17 มีอัตราโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี. หรือปรับไม่เกิน 20,000บาท. ฉะนั้นจึงต้องถืออายุความฟ้องร้อง 10 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 95(3).
ฟ้องโจทก์ซึ่งบรรยายว่า 'ฯลฯระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม2506 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2507 ฯลฯ' ประกอบข้อความว่า'ฯลฯได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ป่าบางน้ำจืดบางส่วนในท้องที่ตำบลบางสนอำเภอปทิว จังหวัดชุมพร เป็นป่าคุ้มครอง. และจำเลยได้ทำลายป่า และตัดฟันไม้หวงห้ามในเขตป่าสงวนแห่งชาติรวมเนื้อที่ 3 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา. โดยมิได้รับอนุญาต ฯลฯ'. ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม.
ฟ้องโจทก์ซึ่งบรรยายว่า 'ฯลฯระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม2506 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2507 ฯลฯ' ประกอบข้อความว่า'ฯลฯได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ป่าบางน้ำจืดบางส่วนในท้องที่ตำบลบางสนอำเภอปทิว จังหวัดชุมพร เป็นป่าคุ้มครอง. และจำเลยได้ทำลายป่า และตัดฟันไม้หวงห้ามในเขตป่าสงวนแห่งชาติรวมเนื้อที่ 3 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา. โดยมิได้รับอนุญาต ฯลฯ'. ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1207/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีป่าไม้ และการวินิจฉัยฟ้องเคลือบคลุม: ป่าไม้, อายุความ 10 ปี, ฟ้องชัดเจน
ความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 มาตรา 73พระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2503 มาตรา 17 มีอัตราโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท ฉะนั้นจึงต้องถืออายุความฟ้องร้อง 10 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 95(3)
ฟ้องโจทก์ซึ่งบรรยายว่า "ฯลฯระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2506 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2507 ฯลฯ" ประกอบข้อความว่า"ฯลฯได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ป่าบางน้ำจืดบางส่วนในท้องที่ตำบลบางสนอำเภอปทิว จังหวัดชุมพร เป็นป่าคุ้มครอง และจำเลยได้ทำลายป่า และตัดฟันไม้หวงห้ามในเขตป่าสงวนแห่งชาติรวมเนื้อที่ 3 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา โดยมิได้รับอนุญาต ฯลฯ" ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
ฟ้องโจทก์ซึ่งบรรยายว่า "ฯลฯระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2506 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2507 ฯลฯ" ประกอบข้อความว่า"ฯลฯได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ป่าบางน้ำจืดบางส่วนในท้องที่ตำบลบางสนอำเภอปทิว จังหวัดชุมพร เป็นป่าคุ้มครอง และจำเลยได้ทำลายป่า และตัดฟันไม้หวงห้ามในเขตป่าสงวนแห่งชาติรวมเนื้อที่ 3 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา โดยมิได้รับอนุญาต ฯลฯ" ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1176/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องผิดหลายกระทงจากไม้หวงห้าม: ศาลฎีกาชี้การกระทำผิดวันเดียวกันอาจเป็นหลายกรรมได้
ฟ้องว่ามีไม้หวงห้ามยังมิได้แปรรูปโดยมิได้รับอนุญาตอันเป็นความผิดตามมาตรา 69 กับมีไม้หวงห้ามที่แปรรูปแล้วโดยมิได้รับอนุญาต อันเป็นผิดตามมาตรา 48, 73 เป็นฟ้องบรรยายการกระทำสองกรรมเป็นความผิดสองกระทง มิใช่กรรมเดียวเป็นผิดหลายบท