พบผลลัพธ์ทั้งหมด 181 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 284/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อพิพาทสิทธิซื้อขายที่ดินและโรงงานระหว่างหุ้นส่วน สิทธิเรียกร้องและค่าขึ้นศาล
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์กับจำเลยทำสัญญาเข้าหุ้นส่วนกันซื้อที่ดินพร้อมโรงงานและสิ่งปลูกสร้าง โดยตกลงออกเงินกันคนละครึ่งจำเลยผิดสัญญาไม่ออกเงินส่วนของตน. โจทก์จึงบอกเลิกสัญญาเข้าหุ้นส่วนต่อจำเลยโดยถือว่าโจทก์มีสิทธิตามสัญญาซื้อขายแต่ผู้เดียว คำขอท้ายฟ้องของโจทก์มีอยู่ข้อหนึ่งว่า โจทก์เป็นผู้ซื้อและทำหนังสือสัญญาจะซื้อขายที่ดินและโรงงานกับผู้ขายแต่ผู้เดียว ห้ามจำเลยเกี่ยวข้อง เช่นนี้ฟังได้ว่าจำเลยได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์ตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินและโรงงานดังกล่าวแล้ว คำให้การจำเลยก็โต้แย้งว่าจำเลยไม่ได้ขอให้โจทก์จ่ายเงินทดรองและโจทก์ก็ไม่ได้จ่ายเงินทดรองแทนจำเลย เงินที่ชำระครั้งแรกกับที่ผ่อนชำระจำเลยได้ชำระครึ่งหนึ่งตามสัญญาตลอดมา จึงเป็นกรณีที่มีข้อโต้แย้งระหว่างโจทก์กับจำเลย หากพิจารณาได้ตามความที่โจทก์ฟ้อง ศาลก็บังคับตามคำขอของโจทก์ดังกล่าวได้ส่วนคำขออื่นซึ่งศาลบังคับให้ไม่ได้ หรือโจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้อง ศาลก็ชอบที่จะยกคำขอนั้น การงดสืบพยานจึงไม่ชอบ
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์มีสิทธิแต่ผู้เดียวตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินและโรงงานในราคา 3,400,000 บาท จำเลยให้การว่าจำเลยมีสิทธิตามสัญญาดังกล่าวครึ่งหนึ่งและจำเลยได้ชำระเงินตามสัญญาครึ่งหนึ่งตลอดมา ดังนี้ เป็นคดีมีทุนทรัพย์ โจทก์ต้องเสียค่าขึ้นศาลในจำนวนทุนทรัพย์ 1,700,000 บาท
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์มีสิทธิแต่ผู้เดียวตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินและโรงงานในราคา 3,400,000 บาท จำเลยให้การว่าจำเลยมีสิทธิตามสัญญาดังกล่าวครึ่งหนึ่งและจำเลยได้ชำระเงินตามสัญญาครึ่งหนึ่งตลอดมา ดังนี้ เป็นคดีมีทุนทรัพย์ โจทก์ต้องเสียค่าขึ้นศาลในจำนวนทุนทรัพย์ 1,700,000 บาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 284/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อพิพาทสัญญาหุ้นส่วนซื้อที่ดิน/โรงงาน: การโต้แย้งสิทธิซื้อขายและผลการบังคับใช้คำขอ
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์กับจำเลยทำสัญญาเข้าหุ้นส่วนกันซื้อที่ดินพร้อมโรงงานและสิ่งปลูกสร้าง โดยตกลงออกเงินกันคนละครึ่งจำเลยผิดสัญญาไม่ออกเงินส่วนของตน. โจทก์จึงบอกเลิกสัญญาเข้าหุ้นส่วนต่อจำเลยโดยถือว่าโจทก์มีสิทธิตามสัญญาซื้อขายแต่ผู้เดียว คำขอท้ายฟ้องของโจทก์มีอยู่ข้อหนึ่งว่า โจทก์เป็นผู้ซื้อและทำหนังสือสัญญาจะซื้อขายที่ดินและโรงงานกับผู้ขายแต่ผู้เดียว ห้ามจำเลยเกี่ยวข้อง เช่นนี้ฟังได้ว่าจำเลยได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์ตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินและโรงงานดังกล่าวแล้ว คำให้การจำเลยก็โต้แย้งว่า จำเลยไม่ได้ขอให้โจทก์จ่ายเงินทดรองและโจทก์ก็ไม่ได้จ่ายเงินทดรองแทนจำเลย เงินที่ชำระครั้งแรกกับที่ผ่อนชำระจำเลยได้ชำระครึ่งหนึ่งตามสัญญาตลอดมา จึงเป็นกรณีที่มีข้อโต้แย้งระหว่างโจทก์กับจำเลย หากพิจารณาได้ตามความที่โจทก์ฟ้อง ศาลก็บังคับตามคำขอของโจทก์ดังกล่าวได้ส่วนคำขออื่นซึ่งศาลบังคับให้ไม่ได้ หรือโจทก์ไม่มีสิทธิเรียกร้องศาลก็ชอบที่จะยกคำขอนั้น การงดสืบพยานจึงไม่ชอบ
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์มีสิทธิแต่ผู้เดียวตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินและโรงงานในราคา 3,400,000 บาท จำเลยให้การว่าจำเลยมีสิทธิตามสัญญาดังกล่าวครึ่งหนึ่งและจำเลยได้ชำระเงินตามสัญญาครึ่งหนึ่งตลอดมา ดังนี้ เป็นคดีมีทุนทรัพย์ โจทก์ต้องเสียค่าขึ้นศาลในจำนวนทุนทรัพย์ 1,700,000 บาท
โจทก์ฟ้องว่าโจทก์มีสิทธิแต่ผู้เดียวตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินและโรงงานในราคา 3,400,000 บาท จำเลยให้การว่าจำเลยมีสิทธิตามสัญญาดังกล่าวครึ่งหนึ่งและจำเลยได้ชำระเงินตามสัญญาครึ่งหนึ่งตลอดมา ดังนี้ เป็นคดีมีทุนทรัพย์ โจทก์ต้องเสียค่าขึ้นศาลในจำนวนทุนทรัพย์ 1,700,000 บาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 279/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยทบต้นสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี, ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน, การประนอมหนี้ที่ไม่สมบูรณ์
สัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีมีข้อตกลงให้โจทก์คิดดอกเบี้ยทบต้นได้ตามประเพณีการค้าของธนาคารพาณิชย์ ประเพณีการค้าขายที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดเช่นนี้ชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 655 วรรคสอง และดอกเบี้ยที่ทบเข้ากับเงินต้นย่อมกลายเป็นต้นเงิน มิใช่ดอกเบี้ยค้างชำระ ทั้งนี้จนกว่าจะมีการบอกเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัด เมื่อบอกเลิกแล้วโจทก์ไม่มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้น คงเรียกได้แต่ดอกเบี้ยธรรมดาหากไม่ชำระก็เป็นดอกเบี้ยค้างชำระหรือค้างส่ง ตามคำฟ้องของโจทก์เรียกดอกเบี้ยค้างชำระนับถึงวันฟ้องยังไม่เกินห้าปีสิทธิเรียกร้องเอาดอกเบี้ยค้างส่งของโจทก์ยังไม่ขาดอายุความหรือขัดต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 166 จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันจำเลยที่ 1 ซึ่งกู้เงินจากโจทก์ตามสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีภายในวงเงิน 25,000 บาทรวมทั้งดอกเบี้ยตลอดจนค่าเสียหายและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ โดยยอมรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 ปรากฏว่าก่อนทำสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีและสัญญาค้ำประกันในวันที่ 12 มกราคม 2513 จำเลยที่ 1 เป็นหนี้โจทก์อยู่แล้ว 25,514.53 บาทต่อมาวันที่ 26 มิถุนายน 2513 ซึ่งเป็นวันครบกำหนดชำระหนี้ตามสัญญา จำเลยที่ 1 เป็นหนี้โจทก์ 48,939.41 บาท เห็นได้ว่ามีทั้งหนี้เก่าและหนี้ใหม่ระคนปนกันอยู่ความรับผิดของจำเลยที่ 2 ย่อมจำกัดเพียงจำนวนเงิน 25,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม 2513 ไปจนกว่าจะชำระเสร็จ การที่ ส. อดีตผู้จัดการสาขาของธนาคารโจทก์ซึ่งยอมรับผิดต่อโจทก์แทนลูกหนี้ของโจทก์รวมทั้งจำเลยทั้งสองได้ทำบันทึกขึ้นฝ่ายเดียวมีข้อความว่าโจทก์ลดหย่อนความรับผิดชอบในส่วนตัวของ ส. โดยให้ ส. ชำระเงินจำนวนหนึ่งและยอมปลดจำนองที่ดินให้ ไม่มีข้อความตอนใดแสดงว่าโจทก์ยอมปลดหนี้ให้จำเลยทั้งสอง แต่ปรากฏชัดแจ้งว่าเป็นการลดหย่อนความรับผิดชอบส่วนตัวของ ส. ซึ่งจะต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะตัวแทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 812 หาใช่ปลดหนี้ให้จำเลยทั้งสองไม่ จึงไม่มีทางที่จำเลยที่ 2จะอ้างว่าหนี้รายนี้ระงับไปแล้วโดยการประนอมหนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 279/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยทบต้นในสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชี, ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน, การประนอมหนี้ที่ไม่ผูกมัดจำเลย
สัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีมีข้อตกลงให้โจทก์คิดดอกเบี้ยทบต้นได้ตามประเพณีการค้าของธนาคารพาณิชย์ ประเพณีการค้าขายที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดเช่นนี้ชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 655 วรรคสอง และดอกเบี้ยที่ทบเข้ากับเงินต้นย่อมกลายเป็นต้นเงิน มิใช่ดอกเบี้ยค้างชำระ ทั้งนี้จนกว่าจะมีการบอกเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัด เมื่อบอกเลิกแล้วโจทก์ไม่มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้น คงเรียกได้แต่ดอกเบี้ยธรรมดาหากไม่ชำระก็เป็นดอกเบี้ยค้างชำระหรือค้างส่ง ตามคำฟ้องของโจทก์เรียกดอกเบี้ยค้างชำระนับถึงวันฟ้องยังไม่เกินห้าปี สิทธิเรียกร้องเอาดอกเบี้ยค้างส่งของโจทก์ยังไม่ขาดอายุความหรือขัดต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 166
จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันจำเลยที่ 1 ซึ่งกู้เงินจากโจทก์ตามสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีภายในวงเงิน 25,000 บาท รวมทั้งดอกเบี้ยตลอดจนค่าเสียหายและค่าใช้จ่ายต่าง ๆโดยยอมรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 ปรากฏว่าก่อนทำสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีและสัญญาค้ำประกันในวันที่ 12 มกราคม 2513จำเลยที่ 1 เป็นหนี้โจทก์อยู่แล้ว 25,514.53 บาทต่อมาวันที่ 26มิถุนายน 2513 ซึ่งเป็นวันครบกำหนดชำระหนี้ตามสัญญา จำเลยที่ 1 เป็นหนี้โจทก์ 48,939.41 บาท เห็นได้ว่ามีทั้งหนี้เก่าและหนี้ใหม่ระคนปนกันอยู่ ความรับผิดของจำเลยที่ 2ย่อมจำกัดเพียงจำนวนเงิน 25,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม 2513 ไปจนกว่าจะชำระเสร็จ
การที่ ส. อดีตผู้จัดการสาขาของธนาคารโจทก์ซึ่งยอมรับผิดต่อโจทก์แทนลูกหนี้ของโจทก์รวมทั้งจำเลยทั้งสองได้ทำบันทึกขึ้นฝ่ายเดียวมีข้อความว่าโจทก์ลดหย่อนความรับผิดชอบในส่วนตัวของ ส. โดยให้ ส. ชำระเงินจำนวนหนึ่งและยอมปลดจำนองที่ดินให้ ไม่มีข้อความตอนใดแสดงว่าโจทก์ยอมปลดหนี้ให้จำเลยทั้งสอง แต่ปรากฏชัดแจ้งว่าเป็นการลดหย่อนความรับผิดชอบส่วนตัวของ ส.ซึ่งจะต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะตัวแทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 812 หาใช่ปลดหนี้ให้จำเลยทั้งสองไม่ จึงไม่มีทางที่จำเลยที่ 2จะอ้างว่าหนี้รายนี้ระงับไปแล้วโดยการประนอมหนี้
จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันจำเลยที่ 1 ซึ่งกู้เงินจากโจทก์ตามสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีภายในวงเงิน 25,000 บาท รวมทั้งดอกเบี้ยตลอดจนค่าเสียหายและค่าใช้จ่ายต่าง ๆโดยยอมรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 ปรากฏว่าก่อนทำสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีและสัญญาค้ำประกันในวันที่ 12 มกราคม 2513จำเลยที่ 1 เป็นหนี้โจทก์อยู่แล้ว 25,514.53 บาทต่อมาวันที่ 26มิถุนายน 2513 ซึ่งเป็นวันครบกำหนดชำระหนี้ตามสัญญา จำเลยที่ 1 เป็นหนี้โจทก์ 48,939.41 บาท เห็นได้ว่ามีทั้งหนี้เก่าและหนี้ใหม่ระคนปนกันอยู่ ความรับผิดของจำเลยที่ 2ย่อมจำกัดเพียงจำนวนเงิน 25,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม 2513 ไปจนกว่าจะชำระเสร็จ
การที่ ส. อดีตผู้จัดการสาขาของธนาคารโจทก์ซึ่งยอมรับผิดต่อโจทก์แทนลูกหนี้ของโจทก์รวมทั้งจำเลยทั้งสองได้ทำบันทึกขึ้นฝ่ายเดียวมีข้อความว่าโจทก์ลดหย่อนความรับผิดชอบในส่วนตัวของ ส. โดยให้ ส. ชำระเงินจำนวนหนึ่งและยอมปลดจำนองที่ดินให้ ไม่มีข้อความตอนใดแสดงว่าโจทก์ยอมปลดหนี้ให้จำเลยทั้งสอง แต่ปรากฏชัดแจ้งว่าเป็นการลดหย่อนความรับผิดชอบส่วนตัวของ ส.ซึ่งจะต้องรับผิดต่อโจทก์ในฐานะตัวแทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 812 หาใช่ปลดหนี้ให้จำเลยทั้งสองไม่ จึงไม่มีทางที่จำเลยที่ 2จะอ้างว่าหนี้รายนี้ระงับไปแล้วโดยการประนอมหนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4008/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหมิ่นประมาททางหนังสือพิมพ์ ผู้พิมพ์/โฆษณาต้องรับผิดชอบต่อข้อความที่เผยแพร่ แม้มิได้เป็นผู้เขียน
การที่หนังสือพิมพ์เสนอข่าวหมิ่นประมาทโจทก์ว่า .....โจทก์ประพฤติปฏิบัติตนอย่างคนไร้ศีลธรรม ......โจทก์มีส่วนพัวพันเป็นผู้จ้างวานฆ่าผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์มีนิสัยชอบใช้อำนาจบาตรใหญ่ ......ฯลฯ.....นั้น หาใช่เป็นการแสดงความคิดเห็นโดยสุจริตติชมด้วยความเป็นธรรมอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำไม่ เมื่อข้อความนั้นไม่เป็นความจริง ย่อมเป็นการละเมิดต่อโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 423 และการกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงนั้น กฎหมายมิได้บัญญัติว่าต้องทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ แม้ผู้กล่าวหรือไขข่าวมิได้รู้ว่าข้อความนั้นไม่จริงแต่หากควรรู้ได้ก็ต้องรับผิด
แม้มูลกรณีเดียวกันนี้ศาลในคดีส่วนอาญาจะได้พิพากษาให้จำเลยโฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์แล้วก็ตาม การที่ศาลในคดีส่วนแพ่งยังพิพากษาให้จำเลยโฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์อีกด้วยนั้น ก็เป็นทางแก้เพื่อให้ชื่อเสียงของโจทก์กลับคืนดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 447 หาใช่เป็นการลงโทษจำเลยสองครั้งในความผิดเดียวกันไม่แต่เมื่อจำเลยได้โฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์แล้ว ย่อมเป็นการเพียงพอที่จะแก้ไขให้ชื่อเสียงของโจทก์กลับคืนดี จึงไม่จำเป็นที่จะต้องโฆษณาต่อไปอีก
จำเลยเป็นบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา แม้จะมิใช่เจ้าของหนังสือพิมพ์และมิได้เป็นผู้เขียนหรือมีส่วนรู้เห็นในการเขียนข้อความอันเป็นละเมิดก็ตาม จำเลยก็ต้องรับผิดชอบในข้อความหรือสิ่งอื่นใดที่ตนคัดเลือกนำลงพิมพ์โฆษณาในหนังสือพิมพ์ทั้งหมดเพราะตนเป็นผู้จัดการไขข่าวให้แพร่หลาย
แม้มูลกรณีเดียวกันนี้ศาลในคดีส่วนอาญาจะได้พิพากษาให้จำเลยโฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์แล้วก็ตาม การที่ศาลในคดีส่วนแพ่งยังพิพากษาให้จำเลยโฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์อีกด้วยนั้น ก็เป็นทางแก้เพื่อให้ชื่อเสียงของโจทก์กลับคืนดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 447 หาใช่เป็นการลงโทษจำเลยสองครั้งในความผิดเดียวกันไม่แต่เมื่อจำเลยได้โฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์แล้ว ย่อมเป็นการเพียงพอที่จะแก้ไขให้ชื่อเสียงของโจทก์กลับคืนดี จึงไม่จำเป็นที่จะต้องโฆษณาต่อไปอีก
จำเลยเป็นบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา แม้จะมิใช่เจ้าของหนังสือพิมพ์และมิได้เป็นผู้เขียนหรือมีส่วนรู้เห็นในการเขียนข้อความอันเป็นละเมิดก็ตาม จำเลยก็ต้องรับผิดชอบในข้อความหรือสิ่งอื่นใดที่ตนคัดเลือกนำลงพิมพ์โฆษณาในหนังสือพิมพ์ทั้งหมดเพราะตนเป็นผู้จัดการไขข่าวให้แพร่หลาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4008/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้พิมพ์ผู้โฆษณาต่อการหมิ่นประมาท แม้ไม่ได้มีส่วนรู้เห็นในการเขียน
การที่หนังสือพิมพ์เสนอข่าวหมิ่นประมาทโจทก์ว่า .....โจทก์ประพฤติปฏิบัติตนอย่างคนไร้ศีลธรรม ......โจทก์มีส่วนพัวพันเป็นผู้จ้างวานฆ่าผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์มีนิสัยชอบใช้อำนาจบาตรใหญ่ ......ฯลฯ.....นั้น หาใช่เป็นการแสดงความคิดเห็นโดยสุจริตติชมด้วยความเป็นธรรมอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำไม่ เมื่อข้อความนั้นไม่เป็นความจริง ย่อมเป็นการละเมิดต่อโจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 423 และการกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริงนั้นกฎหมายมิได้บัญญัติว่าต้องทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ แม้ผู้กล่าวหรือไขข่าวมิได้รู้ว่าข้อความนั้นไม่จริงแต่หากควรรู้ได้ก็ต้องรับผิด แม้มูลกรณีเดียวกันนี้ศาลในคดีส่วนอาญาจะได้พิพากษาให้จำเลยโฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์แล้วก็ตาม การที่ศาลในคดีส่วนแพ่งยังพิพากษาให้จำเลยโฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์อีกด้วยนั้น ก็เป็นทางแก้เพื่อให้ชื่อเสียงของโจทก์กลับคืนดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 447 หาใช่เป็นการลงโทษจำเลยสองครั้งในความผิดเดียวกันไม่แต่เมื่อจำเลยได้โฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์แล้ว ย่อมเป็นการเพียงพอที่จะแก้ไขให้ชื่อเสียงของโจทก์กลับคืนดี จึงไม่จำเป็นที่จะต้องโฆษณาต่อไปอีก จำเลยเป็นบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา แม้จะมิใช่เจ้าของหนังสือพิมพ์และมิได้เป็นผู้เขียนหรือมีส่วนรู้เห็นในการเขียนข้อความอันเป็นละเมิดก็ตาม จำเลยก็ต้องรับผิดชอบในข้อความหรือสิ่งอื่นใดที่ตนคัดเลือกนำลงพิมพ์โฆษณาในหนังสือพิมพ์ทั้งหมดเพราะตนเป็นผู้จัดการไขข่าวให้แพร่หลาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3973/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดวันสั่งจ่ายเช็คหลังผู้สั่งจ่ายเสียชีวิต และความรับผิดของผู้รับอาวัล
การจดวันสั่งจ่าย 'ตามที่ถูกต้องแท้จริง' ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 910 ประกอบด้วยมาตรา 989หมายถึงวันที่ผู้ทรงเช็คเห็นสมควรที่จะจดหรือกรอกลงในเช็คซึ่งผู้ทรงมีสิทธิกระทำได้โดยพลการ โดยไม่จำเป็นต้องรอให้ผู้สั่งจ่ายหรือผู้ใดแจ้งให้จด ส่วนคำว่า'ทำการโดยสุจริต' นั้น กฎหมายสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบุคคลทุกคนทำการโดยสุจริตตาม นัยมาตรา 6 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หากจำเลยหรือผู้ใดอ้างว่าการจดหรือกรอกวันสั่งจ่ายโดยไม่สุจริตผู้กล่าวอ้างต้องระบุให้ชัดแจ้งถึงเหตุที่ไม่สุจริต และมีหน้าที่นำสืบด้วย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงจดวันสั่งจ่ายลงในเช็คภายหลังจากทราบว่าผู้สั่งจ่ายถึงแก่ความตายถือได้ว่าโจทก์ทำการโดยสุจริต
ในกรณีที่ผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังถึงแก่ความตายบุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินหรือเช็คยังคงต้องรับผิดตามเนื้อความแห่งตั๋วเงินหรือเช็คนั้น
กรณีที่ผู้สั่งจ่ายเช็คถึงแก่ความตาย ผู้ทรงมีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาจากกองมรดกของผู้ตายได้ 2 วิธีคือ1. นำเช็คไปยื่นแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินตามเช็คถ้าธนาคารทราบว่าผู้สั่งจ่ายตายก็จะปฏิเสธการจ่ายเงินตามมาตรา 992(2) เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินด้วยเหตุใดก็ตาม ผู้ทรงเช็คมีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกตลอดจนมีสิทธิฟ้องผู้สลักหลังเช็คด้วย หรือ 2. ผู้ทรงมีสิทธิทวงถามให้ชำระเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกและผู้สลักหลังได้เลยถ้าผู้ถูกทวงถามไม่ชำระเงินตามเช็ค ผู้ทรงก็มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คได้โดยไม่จำเป็นต้องนำเช็คไปยื่นหรือเรียกเก็บเงินจากธนาคารตามมาตรา 990 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1003/2524)
แม้จำเลยจะได้ให้การต่อสู้ไว้ว่าคดีโจทก์ขาดอายุความแต่จำเลยมิได้ขอให้ศาลชั้นต้นยกขึ้นเป็นประเด็นเพื่อวินิจฉัยถือว่าจำเลยสละข้อต่อสู้ในประเด็นข้อนี้แล้วและศาลก็ไม่รับฎีกาข้อนี้ของจำเลย จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงจดวันสั่งจ่ายลงในเช็คภายหลังจากทราบว่าผู้สั่งจ่ายถึงแก่ความตายถือได้ว่าโจทก์ทำการโดยสุจริต
ในกรณีที่ผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังถึงแก่ความตายบุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินหรือเช็คยังคงต้องรับผิดตามเนื้อความแห่งตั๋วเงินหรือเช็คนั้น
กรณีที่ผู้สั่งจ่ายเช็คถึงแก่ความตาย ผู้ทรงมีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาจากกองมรดกของผู้ตายได้ 2 วิธีคือ1. นำเช็คไปยื่นแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินตามเช็คถ้าธนาคารทราบว่าผู้สั่งจ่ายตายก็จะปฏิเสธการจ่ายเงินตามมาตรา 992(2) เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินด้วยเหตุใดก็ตาม ผู้ทรงเช็คมีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกตลอดจนมีสิทธิฟ้องผู้สลักหลังเช็คด้วย หรือ 2. ผู้ทรงมีสิทธิทวงถามให้ชำระเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกและผู้สลักหลังได้เลยถ้าผู้ถูกทวงถามไม่ชำระเงินตามเช็ค ผู้ทรงก็มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คได้โดยไม่จำเป็นต้องนำเช็คไปยื่นหรือเรียกเก็บเงินจากธนาคารตามมาตรา 990 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1003/2524)
แม้จำเลยจะได้ให้การต่อสู้ไว้ว่าคดีโจทก์ขาดอายุความแต่จำเลยมิได้ขอให้ศาลชั้นต้นยกขึ้นเป็นประเด็นเพื่อวินิจฉัยถือว่าจำเลยสละข้อต่อสู้ในประเด็นข้อนี้แล้วและศาลก็ไม่รับฎีกาข้อนี้ของจำเลย จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3973/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจดวันสั่งจ่ายเช็คหลังผู้สั่งจ่ายเสียชีวิต และความรับผิดของผู้รับอาวัล
การจดวันสั่งจ่าย "ตามที่ถูกต้องแท้จริง" ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 910 ประกอบด้วยมาตรา 989 หมายถึงวันที่ผู้ทรงเช็คเห็นสมควรที่จะจดหรือกรอกลงในเช็คซึ่งผู้ทรงมีสิทธิกระทำได้โดยพลการ โดยไม่จำเป็นต้องรอให้ผู้สั่งจ่ายหรือผู้ใดแจ้งให้จด ส่วนคำว่า'ทำการโดยสุจริต' นั้นกฎหมายสันนิษฐานไว้ก่อนว่าบุคคลทุกคนทำการโดยสุจริตตามนัยมาตรา 6 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หากจำเลยหรือผู้ใดอ้างว่าการจดหรือกรอกวันสั่งจ่ายโดยไม่สุจริต ผู้กล่าวอ้างต้องระบุให้ชัดแจ้งถึงเหตุที่ไม่สุจริตและมีหน้าที่นำสืบด้วย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงจดวันสั่งจ่ายลงในเช็คภายหลังจากทราบว่าผู้สั่งจ่ายถึงแก่ความตาย ถือได้ว่าโจทก์ทำการโดยสุจริต
ในกรณีที่ผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังถึงแก่ความตาย บุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินหรือเช็คยังคงต้องรับผิดตามเนื้อความแห่งตั๋วเงินหรือเช็คนั้น
กรณีที่ผู้สั่งจ่ายเช็คถึงแก่ความตาย ผู้ทรงมีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาจากกองมรดกของผู้ตายได้ 2 วิธีคือ 1. นำเช็คไปยื่นแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินตามเช็คถ้าธนาคารทราบว่าผู้สั่งจ่ายตายก็จะปฏิเสธการจ่ายเงินตามมาตรา 992(2) เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินด้วยเหตุใดก็ตาม ผู้ทรงเช็คมีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกตลอดจนมีสิทธิฟ้องผู้สลักหลังเช็คด้วย หรือ 2. ผู้ทรงมีสิทธิทวงถามให้ชำระเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกและผู้สลักหลังได้เลย ถ้าผู้ถูกทวงถามไม่ชำระเงินตามเช็ค ผู้ทรงก็มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คได้โดยไม่จำเป็นต้องนำเช็คไปยื่นหรือเรียกเก็บเงินจากธนาคารตามมาตรา 990(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1003/2524)
แม้จำเลยจะได้ให้การต่อสู้ไว้ว่าคดีโจทก์ขาดอายุความ แต่จำเลยมิได้ขอให้ศาลชั้นต้นยกขึ้นเป็นประเด็นเพื่อวินิจฉัย ถือว่าจำเลยสละข้อต่อสู้ในประเด็นข้อนี้แล้ว และศาลก็ไม่รับฎีกาข้อนี้ของจำเลย จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย
การที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงจดวันสั่งจ่ายลงในเช็คภายหลังจากทราบว่าผู้สั่งจ่ายถึงแก่ความตาย ถือได้ว่าโจทก์ทำการโดยสุจริต
ในกรณีที่ผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังถึงแก่ความตาย บุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตั๋วเงินหรือเช็คยังคงต้องรับผิดตามเนื้อความแห่งตั๋วเงินหรือเช็คนั้น
กรณีที่ผู้สั่งจ่ายเช็คถึงแก่ความตาย ผู้ทรงมีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาจากกองมรดกของผู้ตายได้ 2 วิธีคือ 1. นำเช็คไปยื่นแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินตามเช็คถ้าธนาคารทราบว่าผู้สั่งจ่ายตายก็จะปฏิเสธการจ่ายเงินตามมาตรา 992(2) เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินด้วยเหตุใดก็ตาม ผู้ทรงเช็คมีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกตลอดจนมีสิทธิฟ้องผู้สลักหลังเช็คด้วย หรือ 2. ผู้ทรงมีสิทธิทวงถามให้ชำระเงินตามเช็คจากทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดกและผู้สลักหลังได้เลย ถ้าผู้ถูกทวงถามไม่ชำระเงินตามเช็ค ผู้ทรงก็มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คได้โดยไม่จำเป็นต้องนำเช็คไปยื่นหรือเรียกเก็บเงินจากธนาคารตามมาตรา 990(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1003/2524)
แม้จำเลยจะได้ให้การต่อสู้ไว้ว่าคดีโจทก์ขาดอายุความ แต่จำเลยมิได้ขอให้ศาลชั้นต้นยกขึ้นเป็นประเด็นเพื่อวินิจฉัย ถือว่าจำเลยสละข้อต่อสู้ในประเด็นข้อนี้แล้ว และศาลก็ไม่รับฎีกาข้อนี้ของจำเลย จึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3905/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประวิงคดีโดยทนายจำเลยและการรับผิดชอบของจำเลยต่อการกระทำของทนาย
จำเลยขอเลื่อนการสืบพยานจำเลยมาแล้ว 4 ครั้ง จนศาลมีคำสั่งกำชับว่านัดหน้าจะไม่ยอมให้เลื่อนคดีอีกไม่ว่าด้วยกรณีใด ๆครั้นถึงวันนัดตามที่เลื่อนมาทนายจำเลยกลับยื่นคำร้องขอถอนตัวจากการเป็นทนายจำเลยและจำเลยก็ไม่มาศาลตามพฤติการณ์เห็นได้ว่าจำเลยมีเจตนาประวิงคดีให้ชักช้า ศาลชั้นต้นสั่งงดสืบพยานจำเลยโดยถือว่าจำเลยไม่มีพยานมาสืบชอบแล้ว
ในวันนัดสืบพยานจำเลย. จำเลยและทนายจำเลยมิได้มาศาลเพียงแต่ทนายจำเลยมอบฉันทะ ให้เสมียนทนายนำคำร้องขอถอนตัวจากการเป็นทนายจำเลยมายื่นโดยมิได้ยื่นคำร้องขอเลื่อนคดีแต่ประการใด แม้คำร้องของทนายจำเลยที่ขอถอนตัวนั้นเท่ากับขอเลื่อนคดีอยู่ในตัว. แต่ตราบใดที่ศาลยังมิได้สั่งอนุญาตให้ถอนตัว ทนายจำเลยก็ยังมีฐานะเป็นคู่ความอยู่ ศาลย่อมมีอำนาจที่จะพิเคราะห์สั่งเกี่ยวกับการพิจารณาคดีได้ว่าสมควรจะให้เลื่อนไปหรือไม่
เมื่อจำเลยแต่งตั้งทนายความให้ว่าต่างและดำเนินกระบวนพิจารณาแทนตน ก็จะต้องรับผิดชอบในการกระทำของทนายความที่ตนแต่งตั้งจำเลยจะอ้างว่าการที่ทนายจำเลยขอถอนตัวมิใช่ความผิดของจำเลยและจำเลยไม่ทราบล่วงหน้า ชอบที่ศาลจะให้สืบพยานจำเลยต่อไป หาได้ไม่
ในวันนัดสืบพยานจำเลย. จำเลยและทนายจำเลยมิได้มาศาลเพียงแต่ทนายจำเลยมอบฉันทะ ให้เสมียนทนายนำคำร้องขอถอนตัวจากการเป็นทนายจำเลยมายื่นโดยมิได้ยื่นคำร้องขอเลื่อนคดีแต่ประการใด แม้คำร้องของทนายจำเลยที่ขอถอนตัวนั้นเท่ากับขอเลื่อนคดีอยู่ในตัว. แต่ตราบใดที่ศาลยังมิได้สั่งอนุญาตให้ถอนตัว ทนายจำเลยก็ยังมีฐานะเป็นคู่ความอยู่ ศาลย่อมมีอำนาจที่จะพิเคราะห์สั่งเกี่ยวกับการพิจารณาคดีได้ว่าสมควรจะให้เลื่อนไปหรือไม่
เมื่อจำเลยแต่งตั้งทนายความให้ว่าต่างและดำเนินกระบวนพิจารณาแทนตน ก็จะต้องรับผิดชอบในการกระทำของทนายความที่ตนแต่งตั้งจำเลยจะอ้างว่าการที่ทนายจำเลยขอถอนตัวมิใช่ความผิดของจำเลยและจำเลยไม่ทราบล่วงหน้า ชอบที่ศาลจะให้สืบพยานจำเลยต่อไป หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3905/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประวิงคดีและการรับผิดชอบต่อการกระทำของทนายความที่จำเลยแต่งตั้ง
จำเลยขอเลื่อนการสืบพยานจำเลยมาแล้ว 4 ครั้ง จนศาลมีคำสั่งกำชับว่านัดหน้าจะไม่ยอมให้เลื่อนคดีอีกไม่ว่าด้วยกรณีใด ๆ ครั้นถึงวันนัดตามที่เลื่อนมาทนายจำเลยกลับยื่นคำร้องขอถอนตัวจากการเป็นทนายจำเลยและจำเลยก็ไม่มาศาลตามพฤติการณ์เห็นได้ว่าจำเลยมีเจตนาประวิงคดีให้ชักช้า ศาลชั้นต้นสั่งงดสืบพยานจำเลยโดยถือว่าจำเลยไม่มีพยานมาสืบชอบแล้ว
ในวันนัดสืบพยานจำเลย. จำเลยและทนายจำเลยมิได้มาศาล เพียงแต่ทนายจำเลยมอบฉันทะให้เสมียนทนายนำคำร้องขอถอนตัวจากการเป็นทนายจำเลยมายื่นโดยมิได้ยื่นคำร้องขอเลื่อนคดีแต่ประการใด แม้คำร้องของทนายจำเลยที่ขอถอนตัวนั้นเท่ากับขอเลื่อนคดีอยู่ในตัว. แต่ตราบใดที่ศาลยังมิได้สั่งอนุญาตให้ถอนตัว ทนายจำเลยก็ยังมีฐานะเป็นคู่ความอยู่ ศาลย่อมมีอำนาจที่จะพิเคราะห์สั่งเกี่ยวกับการพิจารณาคดีได้ว่าสมควรจะให้เลื่อนไปหรือไม่
เมื่อจำเลยแต่งตั้งทนายความให้ว่าต่างและดำเนินกระบวนพิจารณาแทนตน ก็จะต้องรับผิดชอบในการกระทำของทนายความที่ตนแต่งตั้ง จำเลยจะอ้างว่าการที่ทนายจำเลยขอถอนตัวมิใช่ความผิดของจำเลยและจำเลยไม่ทราบล่วงหน้า ชอบที่ศาลจะให้สืบพยานจำเลยต่อไป หาได้ไม่
ในวันนัดสืบพยานจำเลย. จำเลยและทนายจำเลยมิได้มาศาล เพียงแต่ทนายจำเลยมอบฉันทะให้เสมียนทนายนำคำร้องขอถอนตัวจากการเป็นทนายจำเลยมายื่นโดยมิได้ยื่นคำร้องขอเลื่อนคดีแต่ประการใด แม้คำร้องของทนายจำเลยที่ขอถอนตัวนั้นเท่ากับขอเลื่อนคดีอยู่ในตัว. แต่ตราบใดที่ศาลยังมิได้สั่งอนุญาตให้ถอนตัว ทนายจำเลยก็ยังมีฐานะเป็นคู่ความอยู่ ศาลย่อมมีอำนาจที่จะพิเคราะห์สั่งเกี่ยวกับการพิจารณาคดีได้ว่าสมควรจะให้เลื่อนไปหรือไม่
เมื่อจำเลยแต่งตั้งทนายความให้ว่าต่างและดำเนินกระบวนพิจารณาแทนตน ก็จะต้องรับผิดชอบในการกระทำของทนายความที่ตนแต่งตั้ง จำเลยจะอ้างว่าการที่ทนายจำเลยขอถอนตัวมิใช่ความผิดของจำเลยและจำเลยไม่ทราบล่วงหน้า ชอบที่ศาลจะให้สืบพยานจำเลยต่อไป หาได้ไม่