พบผลลัพธ์ทั้งหมด 16 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1202/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงสัญชาติ: ผลของกฎหมายสัญชาติฉบับต่างๆ ต่อผู้เกิดในไทยแต่มีบิดาเป็นต่างด้าว
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักร แต่บิดาเป็นคนต่างด้าวซึ่งขาดจากสัญชาติไทย.หากได้รับใบสำคัญคนต่างด้าวตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2495 มาตรา 16 ทวิ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2496 มาตรา 4. แต่เมื่อภายหลังมีพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2499 มาตรา 3 ซึ่งบัญญัติให้บุคคลซึ่งเกิดในราชอาณาจักรไทยได้สัญชาติไทยโดยการเกิด. ย่อมมีผลให้บุคคลผู้ขาดจากสัญชาติไทยตามมาตรา 16 ทวิ ดังกล่าว ได้สัญชาติไทยกลับคืนมาตามเดิมโดยอาศัยพระราชบัญญัติฉบับหลังนี้.(เทียบฎีกาที่ 558/2506).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1202/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกลับคืนสัญชาติไทยหลังเสียสัญชาติเนื่องจากบิดาเป็นต่างด้าวและมีกฎหมายแก้ไขภายหลัง
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักร แต่บิดาเป็นคนต่างด้าวซึ่งขาดจากสัญชาติไทย หากได้รับใบสำคัญคนต่างด้าวตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2495 มาตรา 16 ทวิ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2496 มาตรา 4 แต่เมื่อภายหลังมีพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2499 มาตรา 3 ซึ่งบัญญัติให้บุคคลซึ่งเกิดในราชอาณาจักรไทยได้สัญชาติไทยโดยการเกิด ย่อมมีผลให้บุคคลผู้ขาดจากสัญชาติไทยตามมาตรา 16 ทวิ ดังกล่าว ได้สัญชาติไทยกลับคืนมาตามเดิมโดยอาศัยพระราชบัญญัติฉบับหลังนี้ (เทียบฎีกาที่ 558/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1202/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกลับคืนสัญชาติไทยของบุคคลที่เกิดในไทยแต่บิดาเป็นต่างด้าวและเคยได้รับใบสำคัญคนต่างด้าว ตามกฎหมายสัญชาติที่เปลี่ยนแปลง
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักร แต่บิดาเป็นคนต่างด้าวซึ่งขาดจากสัญชาติไทย.หากได้รับใบสำคัญคนต่างด้าวตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2495 มาตรา 16 ทวิ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2496 มาตรา 5 แต่เมื่อภายหลังมีพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2499 มาตรา 3 ซึ่งบัญญัติให้บุคคลซึ่งเกิดในราชอาณาจักรไทยได้สัญชาติไทยโดยการเกิด ย่อมมีผลให้บุคคลผู้ขาดจากสัญชาติไทยตามมาตรา 16 ทวิ ดังกล่าว ได้สัญชาติไทยกลับคืนมาตามเดิมโดยอาศัยพระราชบัญญัติฉบับหลังนี้ (เทียบฎีกาที่ 558/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1859/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับชำระค่าธรรมเนียมต่ออายุใบสำคัญคนต่างด้าว แม้เป็นคนไทย สิทธิจึงไม่ถูกโต้แย้ง ไม่มีอำนาจฟ้อง
ฟ้องผู้บังคับกองตำรวจภูธร ในฐานะนายทะเบียนคนต่างด้าว อ้างว่าจำเลยบังคับให้โจทก์ชำระค่าธรรมเนียมต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว ขอให้แสดงว่าโจทก์เป็นคนสัญชาติไทย ใบสำคัญเป็นโมฆะ ให้ห้ามจำเลยอย่าให้บังคับให้ต่ออายุเช่นนี้ แม้โจทก์จะเป็นคนไทย แต่เมื่อทางพิจารณาข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าจำเลยได้บังคับโจทก์ให้ชำระค่าธรรมเนียมต่อายุหรือโต้แย้งสิทธิของโจทก์แต่ประการใด โจทก์ก็ยังไม่มีอำนาจฟ้องร้องขอให้บังคับจำเลยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1487-1489/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญชาติไทยโดยการเกิดในประเทศไทย: การจดทะเบียนกับสถานทูตต่างประเทศไม่ทำให้เสียสัญชาติ
จำเลยเกิดในประเทศไทยในขณะที่ พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. 2456 ใช้บังคับ บิดาและมารดาเป็นคนต่างด้าว แต่มารดาเกิดในประเทศไทย แม้เมื่อจำเลยเป็นผู้เยาว์ บิดาได้นำชื่อจำเลยไปจดทะเบียนไว้ต่อสถานเอกอัครราชฑูตอังกฤษก็ตาม ก็ต้องถือว่าจำเลยเป็นคนมีสัญชาติไทย ตาม พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. 2456 ม.3 ข้อ 3 การที่บิดานำเอาชื่อจำเลยไปจดทะเบียนไว้ต่อสถานเอกอัครราชฑูตอังกฤษ หาทำให้จำเลยเสียสัญชาติไทยไปไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1661/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสละสัญชาติไทยจากการสมรสกับชาวต่างชาติ: การตีความกฎหมายสัญชาติและสถานะบุคคล
เมื่อโจทก์อ้างว่าจำเลยเสียสัญชาติไทยโดยการสมรสกับคนต่างด้าว ดังนี้ปัญหาที่ว่าจำเลยยังเป็นคนไทยหรือต่างด้าวนั้นต้องพิจารณาตามพระราชบัญญัติสัญชาติซึ่งใช้อยู่ขณะจำเลยทำการสมรส กล่าวคือ พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2456 มาตรา 4 เมื่อโจทก์ไม่ได้สืบตาม พระราชบัญญัตินี้ให้ปรากฏว่ากฎหมายแห่งสัญชาติสามีบัญญัติให้หญิงไทยถือเอาสัญชาติของสามีได้ ดังนี้ถือว่าจำเลยสละสัญชาติไทยแล้วไม่ได้
พระราชบัญญัติการทะเบียนคนต่างด้าว พ.ศ.2479 มาตรา 7 ซึ่งบัญญัติว่า "หญิงซึ่งมีสัญชาติไทย ถ้าต้องสละสัญชาติไทยเพราะสมรสกับคนต่างด้าวให้ไปขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว"นั้นหาได้หมายความว่าหญิงไทยที่สมรสกับคนต่างด้าวและไปขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้วถือว่าสละสัญชาติไทยไม่
เมื่อถือว่าจำเลยไม่ได้สละสัญชาติไทยคือยังเป็นคนไทยอยู่ก็ไม่จำต้องให้จำเลยร้องฟ้องขอให้ได้มาซึ่งสัญชาติหรือฟ้องร้องผู้โต้แย้งตนว่าไม่ใช่คนไทย
พระราชบัญญัติการทะเบียนคนต่างด้าว พ.ศ.2479 มาตรา 7 ซึ่งบัญญัติว่า "หญิงซึ่งมีสัญชาติไทย ถ้าต้องสละสัญชาติไทยเพราะสมรสกับคนต่างด้าวให้ไปขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว"นั้นหาได้หมายความว่าหญิงไทยที่สมรสกับคนต่างด้าวและไปขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้วถือว่าสละสัญชาติไทยไม่
เมื่อถือว่าจำเลยไม่ได้สละสัญชาติไทยคือยังเป็นคนไทยอยู่ก็ไม่จำต้องให้จำเลยร้องฟ้องขอให้ได้มาซึ่งสัญชาติหรือฟ้องร้องผู้โต้แย้งตนว่าไม่ใช่คนไทย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1661/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญชาติไทยไม่สิ้นสุดจากการสมรสกับชาวต่างชาติและการรับใบสำคัญคนต่างด้าว
เมื่อโจทก์อ้างว่าจำเลยเสียสัญชาติไทยโดยการสมรสกับคนต่างด้าว ดังนี้ปัญหาที่ว่าจำเลยยังเป็นคนไทยหรือต่างด้าวนั้นต้องพิจารณาตามพระราชบัญญัติสัญชาติซึ่งใช้อยู่ขณะจำเลยทำการสมรส กล่าวคือ พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2456 มาตรา 4 เมื่อโจทก์ไม่ได้สืบตาม พระราชบัญญัตินี้ให้ปรากฏว่ากฎหมายแห่งสัญชาติสามีบัญญัติให้หญิงไทยถือเอาสัญชาติของสามีได้ ดังนี้ถือว่าจำเลยสละสัญชาติไทยแล้วไม่ได้
พระราชบัญญัติการทะเบียนคนต่างด้าว พ.ศ.2479 มาตรา 7 ซึ่งบัญญัติว่า "หญิงซึ่งมีสัญชาติไทย ถ้าต้องสละสัญชาติไทยเพราะสมรสกับคนต่างด้าวให้ไปขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว"นั้นหาได้หมายความว่าหญิงไทยที่สมรสกับคนต่างด้าวและไปขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้วถือว่าสละสัญชาติไทยไม่
เมื่อถือว่าจำเลยไม่ได้สละสัญชาติไทยคือยังเป็นคนไทยอยู่ก็ไม่จำต้องให้จำเลยร้องฟ้องขอให้ได้มาซึ่งสัญชาติหรือฟ้องร้องผู้โต้แย้งตนว่าไม่ใช่คนไทย
พระราชบัญญัติการทะเบียนคนต่างด้าว พ.ศ.2479 มาตรา 7 ซึ่งบัญญัติว่า "หญิงซึ่งมีสัญชาติไทย ถ้าต้องสละสัญชาติไทยเพราะสมรสกับคนต่างด้าวให้ไปขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว"นั้นหาได้หมายความว่าหญิงไทยที่สมรสกับคนต่างด้าวและไปขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้วถือว่าสละสัญชาติไทยไม่
เมื่อถือว่าจำเลยไม่ได้สละสัญชาติไทยคือยังเป็นคนไทยอยู่ก็ไม่จำต้องให้จำเลยร้องฟ้องขอให้ได้มาซึ่งสัญชาติหรือฟ้องร้องผู้โต้แย้งตนว่าไม่ใช่คนไทย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 977/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสูญเสียสัญชาติไทยหลังได้รับใบสำคัญคนต่างด้าว และอายุความฟ้องร้อง
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักรไทยแต่บิดาเป็นคนต่างด้าวนั้น เมื่อจำเลยรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้ว ย่อมขาดจากสัญชาติไทย ตาม พระราชบัญญัติสัญชาติ(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2496 มาตรา 5 ไม่ว่าจะได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวก่อนหรือหลังวัน พระราชบัญญัตินั้นใช้บังคับ
การที่จำเลยให้การว่าได้เอาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวไปคืนให้แก่อำเภอ 7-8 ปีแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานอะไร ดังนี้ ก็ย่อมไม่มีเหตุจำเป็นที่ศาลฎีกาจะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่
พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 2)2496 มาตรา 5 ใช้บังคับเมื่อ 4 ก.พ. 2496 จำเลยมีหน้าที่ต้องไปขอใบสำคัญประจำตัวภายใน 30 วันนับแต่วันรู้หรือควรจะรู้ว่าตนได้สูญเสียสัญชาติไทยโจทก์มาฟ้องเมื่อ 15 ก.พ. 2497 ดังนี้ยังหาขาดอายุความไม่ เพราะฟ้องภายในกำหนด 1 ปีนับแต่วันที่จำเลยไม่ไปขอใบสำคัญประจำตัวภายในกำหนดที่กฎหมายบังคับไว้
การที่จำเลยให้การว่าได้เอาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวไปคืนให้แก่อำเภอ 7-8 ปีแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานอะไร ดังนี้ ก็ย่อมไม่มีเหตุจำเป็นที่ศาลฎีกาจะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่
พระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 2)2496 มาตรา 5 ใช้บังคับเมื่อ 4 ก.พ. 2496 จำเลยมีหน้าที่ต้องไปขอใบสำคัญประจำตัวภายใน 30 วันนับแต่วันรู้หรือควรจะรู้ว่าตนได้สูญเสียสัญชาติไทยโจทก์มาฟ้องเมื่อ 15 ก.พ. 2497 ดังนี้ยังหาขาดอายุความไม่ เพราะฟ้องภายในกำหนด 1 ปีนับแต่วันที่จำเลยไม่ไปขอใบสำคัญประจำตัวภายในกำหนดที่กฎหมายบังคับไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 977/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสูญเสียสัญชาติไทยด้วยการรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและการฟ้องคดีไม่ขาดอายุความ
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักรไทยแต่บิดาเป็นคนต่างด้าวนั้น เมื่อจำเลยรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวแล้ว ย่อมขาดจากสัญชาติไทย ตาม พ.ร.บ.สัญชาติ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2496 ม.5 ไม่ ว่าจะได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวก่อนหรือหลังวัน พ.ร.บ.นั้นใช้บังคับ
การที่จำเลยให้การว่าได้เอาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวไปคืนให้แก่อำเภอ 7-8 ปีแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานอะไร ดังนี้ ก็ย่อมไม่มีเหตุจำเป็นที่ศาลฎีกาจะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่
พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 2) 2496 ม.5 ใช้บังคับเมื่อ 4 ก.พ. 96 จำเลยมีหน้าที่ต้องไปขอใบสำคัญประจำตัวภายใน 30 วันนับแต่วันรู้หรือควรจะรู้ว่าตนได้สูญเสียสัญชาติไทยโจทก์มาฟ้องเมื่อ 15 ก.พ. 97 ดังนี้ยังหาขาดอายุความไม่ เพราะฟ้องภายในกำหนด 1 ปี นับแต่วันที่ จำเลยไม่ไปขอใบสำคัญประจำตัวภายในกำหนด ที่ ก.ม. บังคับไว้
การที่จำเลยให้การว่าได้เอาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวไปคืนให้แก่อำเภอ 7-8 ปีแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานอะไร ดังนี้ ก็ย่อมไม่มีเหตุจำเป็นที่ศาลฎีกาจะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นพิจารณาพิพากษาใหม่
พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 2) 2496 ม.5 ใช้บังคับเมื่อ 4 ก.พ. 96 จำเลยมีหน้าที่ต้องไปขอใบสำคัญประจำตัวภายใน 30 วันนับแต่วันรู้หรือควรจะรู้ว่าตนได้สูญเสียสัญชาติไทยโจทก์มาฟ้องเมื่อ 15 ก.พ. 97 ดังนี้ยังหาขาดอายุความไม่ เพราะฟ้องภายในกำหนด 1 ปี นับแต่วันที่ จำเลยไม่ไปขอใบสำคัญประจำตัวภายในกำหนด ที่ ก.ม. บังคับไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 942/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องคดีคนต่างด้าวขาดต่ออายุใบสำคัญประจำตัว ความผิดแยกรายปี
การขาดต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวปีใดถือว่าเป็นผิดสำหรับปีที่ขาดต่ออายุปีนั้น
จำเลยขาดต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว สำหรับ พ.ศ. 2495 จนถึงวันฟ้อง (1 ก.พ. 97) เป็นเวลาเกินกว่า 1 ปี ถือว่าขาดอายุความฟ้องร้องตาม ก.ม. อาญา ม. 78(4) ซึ่งกำหนดให้ฟ้องภายใน 1 ปี แล้ว จึงลงโทษจำเลยไม่ได้
แต่การที่จำเลยขาดต่ออายุใบสำคัญสำหรับ พ.ศ. 2496 นั้นนับแต่วันจำเลยจะต้องต่ออายุใบสำคัญสำหรับ พ.ศ. 2496 จนถึงวันฟ้องยังไม่เกิน 1 ปี ไม่ขาดอายุความจึงลงโทษได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2498)
จำเลยขาดต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว สำหรับ พ.ศ. 2495 จนถึงวันฟ้อง (1 ก.พ. 97) เป็นเวลาเกินกว่า 1 ปี ถือว่าขาดอายุความฟ้องร้องตาม ก.ม. อาญา ม. 78(4) ซึ่งกำหนดให้ฟ้องภายใน 1 ปี แล้ว จึงลงโทษจำเลยไม่ได้
แต่การที่จำเลยขาดต่ออายุใบสำคัญสำหรับ พ.ศ. 2496 นั้นนับแต่วันจำเลยจะต้องต่ออายุใบสำคัญสำหรับ พ.ศ. 2496 จนถึงวันฟ้องยังไม่เกิน 1 ปี ไม่ขาดอายุความจึงลงโทษได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 13/2498)