พบผลลัพธ์ทั้งหมด 599 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 257-258/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายทอดตลาดโดยนายอำเภอเพื่อชำระภาษีอากรชอบด้วยกฎหมาย แม้มีคำสั่งห้ามชั่วคราวคุ้มครองสิทธิเจ้าหนี้ก่อน
คำสั่งห้ามชั่วคราวของศาลมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลยนั้นเป็นวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาเพื่อคุ้มครองป้องกันผลประโยชน์ของเจ้าหนี้ให้ได้รับผลตามคำพิพากษาโดยบริบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะทำได้ มิใช่เป็นส่วนหนึ่งของการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
คำสั่งห้ามชั่วคราวดังกล่าวแล้วมีผลเพียงห้ามจำเลยมิให้ทำนิติกรรมใด ๆเกี่ยวกับตึกของจำเลย การที่ศาลแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบก็เพื่อมิให้รับจดทะเบียนนิติกรรมใด ๆ ที่จำเลยจะลักลอบกระทำโดยไม่สุจริต มิได้หมายความว่า เป็นการห้ามยึดหรืออายัดตามบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือกฎหมายอื่นเสียเลย
ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 12 นายอำเภอมีอำนาจยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรเพื่อชำระค่าภาษีอากรค้างได้โดยไม่จำเป็นต้องฟ้องร้อง แม้ศาลจะมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย และแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบแล้ว แต่เมื่อจำเลยค้างชำระค่าภาษีอากร นายอำเภอก็มีอำนาจยึดตึกของจำเลยมาขายทอดตลาดชำระค่าภาษีอากรค้างนั้นได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ร้องเป็นผู้ซื้อตึกของจำเลยได้จากการขายทอดตลาดของนายอำเภอและได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว การขายทอดตลาดบริบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายแล้วนายอำเภอจะสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดมิได้ แม้อำเภอจะยังมิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตึกให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องก็อยู่ในฐานะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1300 เมื่อการขายทอดตลาดตึกได้กระทำก่อนโจทก์จะบังคับคดี โจทก์จะบังคับคดีเอาแก่ตึกดังกล่าวให้เป็นการกระทบถึงสิทธิของผู้ร้องซึ่งอาจบังคับเหนือตึกนั้นหาได้ไม่
ผู้ร้องคนเดียวยื่นคำร้องขัดทรัพย์แยกกันเป็น 2 คดี คดีแรกร้องขัดทรัพย์เฉพาะตึก ส่วนคดีหลังร้องขัดทรัพย์เฉพาะเตียงโต๊ะเก้าอี้และเครื่องที่นอนแม้ศาลจะร่วมพิจารณาพิพากษาและผู้ร้องฎีการวมกันมา ก็ต้องถือทุนทรัพย์แต่ละคดีเป็นเกณฑ์พิจารณาในการใช้สิทธิฎีกา เมื่อคดีหลังเป็นคดีมีทุนทรัพย์ไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ย่อมต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่วินิจฉัยให้
คำสั่งห้ามชั่วคราวดังกล่าวแล้วมีผลเพียงห้ามจำเลยมิให้ทำนิติกรรมใด ๆเกี่ยวกับตึกของจำเลย การที่ศาลแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบก็เพื่อมิให้รับจดทะเบียนนิติกรรมใด ๆ ที่จำเลยจะลักลอบกระทำโดยไม่สุจริต มิได้หมายความว่า เป็นการห้ามยึดหรืออายัดตามบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือกฎหมายอื่นเสียเลย
ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 12 นายอำเภอมีอำนาจยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรเพื่อชำระค่าภาษีอากรค้างได้โดยไม่จำเป็นต้องฟ้องร้อง แม้ศาลจะมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย และแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบแล้ว แต่เมื่อจำเลยค้างชำระค่าภาษีอากร นายอำเภอก็มีอำนาจยึดตึกของจำเลยมาขายทอดตลาดชำระค่าภาษีอากรค้างนั้นได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ร้องเป็นผู้ซื้อตึกของจำเลยได้จากการขายทอดตลาดของนายอำเภอและได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว การขายทอดตลาดบริบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายแล้วนายอำเภอจะสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดมิได้ แม้อำเภอจะยังมิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตึกให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องก็อยู่ในฐานะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1300 เมื่อการขายทอดตลาดตึกได้กระทำก่อนโจทก์จะบังคับคดี โจทก์จะบังคับคดีเอาแก่ตึกดังกล่าวให้เป็นการกระทบถึงสิทธิของผู้ร้องซึ่งอาจบังคับเหนือตึกนั้นหาได้ไม่
ผู้ร้องคนเดียวยื่นคำร้องขัดทรัพย์แยกกันเป็น 2 คดี คดีแรกร้องขัดทรัพย์เฉพาะตึก ส่วนคดีหลังร้องขัดทรัพย์เฉพาะเตียงโต๊ะเก้าอี้และเครื่องที่นอนแม้ศาลจะร่วมพิจารณาพิพากษาและผู้ร้องฎีการวมกันมา ก็ต้องถือทุนทรัพย์แต่ละคดีเป็นเกณฑ์พิจารณาในการใช้สิทธิฎีกา เมื่อคดีหลังเป็นคดีมีทุนทรัพย์ไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ย่อมต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่วินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 257-258/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งห้ามชั่วคราวไม่ใช่การบังคับคดี นายอำเภอมีอำนาจยึดทรัพย์เพื่อภาษีอากรได้ แม้มีคำสั่งห้ามชั่วคราว
คำสั่งห้ามชั่วคราวของศาลมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลยนั้น เป็นวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาเพื่อคุ้มครองป้องกันผลประโยชน์ของเจ้าหนี้ให้ได้รับผลตามคำพิพากษา โดยบริบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะทำได้ มิใช่เป็นส่วนหนึ่งของการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
คำสั่งห้ามชั่วคราวดังกล่าวแล้วมีผลเพียงห้ามจำเลยมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย การที่ศาลแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบก็เพื่อมิให้รับจดทะเบียนนิติกรรมใด ๆ ที่จำเลยจะลักลอบกระทำโดยไม่สุจริต มิได้หมายความว่า เป็นการห้ามยึดหรืออายัดตามบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือกฎหมายอื่นเสียเลย
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 นายอำเภอมีอำนาจยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรเพื่อชำระค่าภาษีอากรค้างได้โดยไม่จำเป็นต้องฟ้องร้องแม้ศาลจะมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย และแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบแล้ว แต่เมื่อจำเลยค้างชำระค่าภาษีอากร นายอำเภอก็มีอำนาจยึดตึกของจำเลยมาขายทอดตลาดชำระค่าภาษีอากรค้างนั้นได้ โดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ร้องเป็นผู้ซื้อตึกของจำเลยได้จากการขายทอดตลาดของนายอำเภอ และได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว การขายทอดตลาดบริบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายแล้ว นายอำเภอจะสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดมิได้ แม้อำเภอจะยังมิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตึกให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องก็อยู่ในฐานะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1300 เมื่อการขายทอดตลาดตึกได้กระทำก่อนโจทก์บังคับคดี โจทก์บังคับคดีเอาแก่ตึกดังกล่าวให้เป็นการกระทบถึงสิทธิของผู้ร้อง ซึ่งอาจบังคับเหนือตึกนั้น หาได้ไม่
ผู้ร้องคนเดียวยื่นคำร้องขัดทรัพย์แยกกันเป็น 2 คดี คดีแรกร้องขัดทรัพย์เฉพาะตึก ส่วนคดีหลังร้องขัดทรัพย์เฉพาะเตียงโต๊ะเก้าอี้ และเครื่องที่นอน แม้ศาลจะร่วมพิจารณาพิพากษาและผู้ร้องฎีการวมกันมา ก็ต้องถือทุนทรัพย์แต่ละคดีเป็นเกณฑ์พิจารณาในการใช้สิทธิฎีกา เมื่อคดีหลังเป็นคดีมีทุนทรัพย์ไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ย่อมต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่วินิจฉัยให้
คำสั่งห้ามชั่วคราวดังกล่าวแล้วมีผลเพียงห้ามจำเลยมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย การที่ศาลแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบก็เพื่อมิให้รับจดทะเบียนนิติกรรมใด ๆ ที่จำเลยจะลักลอบกระทำโดยไม่สุจริต มิได้หมายความว่า เป็นการห้ามยึดหรืออายัดตามบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือกฎหมายอื่นเสียเลย
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 นายอำเภอมีอำนาจยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรเพื่อชำระค่าภาษีอากรค้างได้โดยไม่จำเป็นต้องฟ้องร้องแม้ศาลจะมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย และแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบแล้ว แต่เมื่อจำเลยค้างชำระค่าภาษีอากร นายอำเภอก็มีอำนาจยึดตึกของจำเลยมาขายทอดตลาดชำระค่าภาษีอากรค้างนั้นได้ โดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ร้องเป็นผู้ซื้อตึกของจำเลยได้จากการขายทอดตลาดของนายอำเภอ และได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว การขายทอดตลาดบริบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายแล้ว นายอำเภอจะสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดมิได้ แม้อำเภอจะยังมิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตึกให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องก็อยู่ในฐานะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1300 เมื่อการขายทอดตลาดตึกได้กระทำก่อนโจทก์บังคับคดี โจทก์บังคับคดีเอาแก่ตึกดังกล่าวให้เป็นการกระทบถึงสิทธิของผู้ร้อง ซึ่งอาจบังคับเหนือตึกนั้น หาได้ไม่
ผู้ร้องคนเดียวยื่นคำร้องขัดทรัพย์แยกกันเป็น 2 คดี คดีแรกร้องขัดทรัพย์เฉพาะตึก ส่วนคดีหลังร้องขัดทรัพย์เฉพาะเตียงโต๊ะเก้าอี้ และเครื่องที่นอน แม้ศาลจะร่วมพิจารณาพิพากษาและผู้ร้องฎีการวมกันมา ก็ต้องถือทุนทรัพย์แต่ละคดีเป็นเกณฑ์พิจารณาในการใช้สิทธิฎีกา เมื่อคดีหลังเป็นคดีมีทุนทรัพย์ไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ย่อมต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่วินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 158/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มเติมคำให้การของผู้ค้ำประกันหลังเกิดเหตุใหม่ และการหลุดพ้นจากความรับผิดเมื่อลูกหนี้ชำระหนี้ครบถ้วน
จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันจำเลยที่ 1 ขอเพิ่มเติมคำให้การครั้งแรก ยกข้อต่อสู้ขึ้นใหม่ว่า ที่โจทก์ถอนการอายัดทรัพย์จำเลยที่ 1 เท่ากับยอมให้เปลี่ยนแปลงสภาพหนี้ตามฟ้อง การค้ำประกันจึงเป็นโมฆะ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิด และจำเลยที่ 2 ที่ 3 ขอเพิ่มเติมคำให้การครั้งหลังยกข้อต่อสู้เพิ่มขึ้นใหม่อีกว่า โจทก์ผ่อนเวลา และหลังจากฟ้องแล้วโจทก์ได้รับชำระหนี้จากเงินประกันภัยของจำเลยที่ 1 กับหักหนี้จากเงินขายฝากที่ดินที่โจทก์หรือผู้แทนรับซื้อฝากไว้จากจำเลยที่ 1 หนี้ของจำเลยที่ 1 เป็นอันระงับ จำเลยที่ 2 ที่ 3 ในฐานะผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิด ข้อที่ขอเพิ่มเติมคำให้การนี้เพราะเมื่อจำเลยที่ 2 ที่ 3 ยื่นคำให้การแก้ฟ้องแล้ว โรงงานทอผ้าของจำเลยที่ 1 ถูกเพลิงไหม้ และในวันชี้สองสถานศาลมีคำสั่งอายัดเงินค่าประกันภัยจากบริษัทประกันภัย ส่วนการซื้อฝากที่ดินได้กระทำกันภายหลังวันชี้สองสถานแล้ว จึงเป็นที่เห็นได้ว่าเป็นเหตุที่เกิดขึ้นภายหลังทั้งสิ้น ซึ่งจำเลยไม่อาจยื่นคำร้องได้ก่อนวันชี้สองสถาน จำเลยที่ 2 ที่ 3 จึงมีสิทธิขอเพิ่มเติมคำให้การได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 180 แม้ศาลชั้นต้นจะอนุญาตให้แก้ไขเพิ่มเติมคำให้การได้เฉพาะเรื่องจำเลยได้ชำระหนี้แล้วก็เป็นการชอบ
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 33 - 34/2512 และ 1/2513)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 33 - 34/2512 และ 1/2513)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 158/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มเติมคำให้การของผู้ค้ำประกันหลังเกิดเหตุการณ์ใหม่ และการหลุดพ้นจากความรับผิดเมื่อหนี้ถูกชำระ
จำเลยที่ 2 ที่ 3 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันจำเลยที่ 1 ขอเพิ่มเติมคำให้การครั้งแรกยกข้อต่อสู้ขึ้นใหม่ว่า ที่โจทก์ถอนการอายัดทรัพย์จำเลยที่ 1 เท่ากับยอมให้เปลี่ยนแปลงสภาพหนี้ตามฟ้อง การค้ำประกันจึงเป็นโมฆะผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิด และจำเลยที่ 2 ที่ 3 ขอเพิ่มเติมคำให้การครั้งหลังยกข้อต่อสู้เพิ่มขึ้นใหม่อีกว่า โจทก์ผ่อนเวลา และหลังจากฟ้องแล้วโจทก์ได้รับชำระหนี้จากเงินประกันภัยของจำเลยที่ 1 กับหักหนี้จากเงินขายฝากที่ดินที่โจทก์หรือผู้แทนรับซื้อฝากไว้จากจำเลยที่ 1 หนี้ของจำเลยที่ 1 เป็นอันระงับ จำเลยที่ 2ที่ 3 ในฐานะผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิด ข้อที่ขอเพิ่มเติมคำให้การนี้เพราะเมื่อจำเลยที่ 2 ที่ 3 ยื่นคำให้การแก้ฟ้องแล้ว โรงงานทอผ้าของจำเลยที่ 1 ถูกเพลิงไหม้ และในวันชี้สองสถานศาลมีคำสั่งอายัดเงินค่าประกันภัยจากบริษัทรับประกันภัย ส่วนการซื้อฝากที่ดินได้กระทำกันภายหลังวันชี้สองสถานแล้ว จึงเป็นที่เห็นได้ว่าเป็นเหตุที่เกิดขึ้นภายหลังทั้งสิ้นซึ่งจำเลยไม่อาจยื่นคำร้องได้ก่อนวันชี้สองสถาน จำเลยที่ 2 ที่ 3 จึงมีสิทธิขอเพิ่มเติมคำให้การได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 180แม้ศาลชั้นต้นจะอนุญาตให้แก้ไขเพิ่มเติมคำให้การได้เฉพาะเรื่องจำเลยได้ชำระหนี้แล้วก็เป็นการชอบ
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 33-34/2512 และ 1/2513)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 33-34/2512 และ 1/2513)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 156/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการทำสัญญาแทนสมาคม, การรับสภาพหนี้ และอายุความเบิกเงินเกินบัญชี
เมื่อข้อบังคับของสมาคมบัญญัติว่า ให้นายกสมาคมมีอำนาจสั่งจ่ายเงินเพื่อกิจการของสมาคมได้ และเหรัญญิกจะจ่ายเงินของสมาคมทุกครั้งจะต้องได้รับอนุมัติจากนายกสมาคมก่อน การลงชื่อในเช็คเพื่อจ่ายเงินของสมาคม ให้นายก เหรัญญิก และเลขาธิการลงชื่อร่วมกันโดยประทับตราของสมาคมไว้ เมื่อข้อบังคับบัญญัติไว้เช่นนี้ จำเลยที่ 2, 3, 4 จึงทำสัญญาแทนสมาคมได้ สมาคมจึงต้องรับผิดตามสัญญานั้น
สมาคมกู้เงินธนาคารโจทก์โดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชี ต่อมาภายในกำหนดอายุความ นายกสมาคมคนใหม่ได้มีหนังสือถึงธนาคารรับว่าเป็นหนี้ธนาคารโจทก์จริง และขอปิดบัญชีส่วนหนี้ซึ่งค้างชำระจะขอผ่อนชำระให้จนกว่าจะหมดสิ้น จึงเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ อายุความฟ้องร้องจึงสะดุดหยุดลง คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
ประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดหรือในการค้าอย่างอื่นในทำนองเดียวกัน แม้กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นพิเศษก็ดี แต่ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือ อันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856, 859 และลูกหนี้ผิดนัดแล้วซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีไม่ได้ ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อไป ทั้งตามกฎหมายก็ห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดด้วย
สมาคมกู้เงินธนาคารโจทก์โดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชี ต่อมาภายในกำหนดอายุความ นายกสมาคมคนใหม่ได้มีหนังสือถึงธนาคารรับว่าเป็นหนี้ธนาคารโจทก์จริง และขอปิดบัญชีส่วนหนี้ซึ่งค้างชำระจะขอผ่อนชำระให้จนกว่าจะหมดสิ้น จึงเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ อายุความฟ้องร้องจึงสะดุดหยุดลง คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
ประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดหรือในการค้าอย่างอื่นในทำนองเดียวกัน แม้กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นพิเศษก็ดี แต่ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือ อันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856, 859 และลูกหนี้ผิดนัดแล้วซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีไม่ได้ ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อไป ทั้งตามกฎหมายก็ห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 156/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของสมาคมจากสัญญาค้ำประกันและการรับสภาพหนี้ ทำให้คดีไม่ขาดอายุความ
เมื่อข้อบังคับของสมาคมบัญญัติว่า ให้นายกสมาคมมีอำนาจสั่งจ่ายเงินเพื่อกิจการของสมาคมได้ และเหรัญญิกจะจ่ายเงินของสมาคมทุกครั้งจะต้องได้รับอนุมัติจากนายกสมาคมก่อน การลงชื่อในเช็คเพื่อจ่ายเงินของสมาคม ให้นายก เหรัญญิกและเลขาธิการลงชื่อร่วมกัน โดยประทับตราของสมาคมไว้ เมื่อข้อบังคับบัญญัติไว้เช่นนี้ จำเลยที่ 2,3,4 จึงทำสัญญาแทนสมาคมได้ สมาคมจึงต้องรับผิดตามสัญญานั้น
สมาคมกู้เงินธนาคารโจทก์โดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชี ต่อมาภายในกำหนดอายุความ นายกสมาคมคนใหม่ได้มีหนังสือถึงธนาคารรับว่าเป็นหนี้ธนาคารโจทก์จริง และขอปิดบัญชี ส่วนหนี้ซึ่งค้างชำระจะขอผ่อนชำระให้จนกว่าจะหมดสิ้น จึงเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ อายุความฟ้องร้องจึงสะดุดหยุดลง คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
ประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดหรือในการค้าอย่างอื่นในทำนองเดียวกัน แม้กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นพิเศษก็ดี แต่ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือ อันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856, 859 และลูกหนี้ผิดนัดแล้ว ซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีไม่ได้ ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อไป ทั้งตามกฎหมายก็ห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดด้วย
สมาคมกู้เงินธนาคารโจทก์โดยวิธีเบิกเงินเกินบัญชี ต่อมาภายในกำหนดอายุความ นายกสมาคมคนใหม่ได้มีหนังสือถึงธนาคารรับว่าเป็นหนี้ธนาคารโจทก์จริง และขอปิดบัญชี ส่วนหนี้ซึ่งค้างชำระจะขอผ่อนชำระให้จนกว่าจะหมดสิ้น จึงเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ อายุความฟ้องร้องจึงสะดุดหยุดลง คดีของโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
ประเพณีการค้าที่คำนวณดอกเบี้ยทบต้นในบัญชีเดินสะพัดหรือในการค้าอย่างอื่นในทำนองเดียวกัน แม้กฎหมายยอมให้คิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นพิเศษก็ดี แต่ถ้าบัญชีเดินสะพัดนั้นมีการหักทอนหนี้และเรียกร้องให้ชำระเงินคงเหลือ อันเป็นการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 856, 859 และลูกหนี้ผิดนัดแล้ว ซึ่งลูกหนี้จะเบิกเงินเกินบัญชีไม่ได้ ย่อมไม่มีเหตุที่ธนาคารจะอ้างมาคิดดอกเบี้ยทบต้นต่อไป ทั้งตามกฎหมายก็ห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 41-44/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีกรรมสิทธิ์ที่ดินที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 5,000 บาท ศาลฎีกาห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
เมื่อปรากฏว่ากรณีพิพาทเป็นเรื่องเถียงกรรมสิทธิ์ที่ดินว่าเป็นของโจทก์หรือจำเลย แม้โจทก์จะมีกำขอให้ห้ามจำเลยกับบริวาร เข้าเกี่ยวข้องในที่พิพาท และขอให้สั่งเพิกถอนโฉนดของจำเลยเสียด้วย ก็เป็นเพียงผลต่อเนื่องในเรื่องกรรมสิทธิ์ในที่พิพาทอันเป็นเพียงส่วนของคำขอให้แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินนั่นเอง จึงเป็นคดีมีทุนทรัพย์ ดังนั้น เมื่อทุนทรัพย์ไม่เกิน 5,000 บาท ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน และกรณีไม่เข้าข้อยกเว้นแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 248 ก็ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกา ศาลฎีกาก็ไม่วินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 41-44/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีกรรมสิทธิ์ที่ดินที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 5,000 บาท ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
เมื่อปรากฏว่ากรณีพิพาทเป็นเรื่องเถียงกรรมสิทธิ์ที่ดินว่า เป็นของโจทก์หรือจำเลย แม้โจทก์จะมีคำขอให้ห้ามจำเลยกับบริวารเข้าเกี่ยวข้องในที่พิพาทและขอให้สั่งเพิกถอนโฉนดของจำเลยเสียด้วย ก็เป็นเพียงผลต่อเนื่องในเรื่องกรรมสิทธิ์ในที่พิพาทอันเป็นเพียงส่วนของคำขอให้แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินนั่นเองจึงเป็นคดีมีทุนทรัพย์ ดังนั้น เมื่อทุนทรัพย์ไม่เกิน 5,000 บาท ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน และกรณีไม่เข้าข้อยกเว้นแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 248 ก็ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกาศาลฎีกาก็ไม่วินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 35/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ประกันวินาศภัย: สิทธิผู้รับประโยชน์เกิดมีขึ้นเมื่อแสดงเจตนา แม้มีข้อตกลงเสนออนุญาโตตุลาการก่อนฟ้องก็ไม่เป็นอุปสรรค
แม้ตามกรมธรรม์ประกันภัยจะระบุไว้ว่า ในกรณีทรัพย์ที่เอาประกันภัยต้องวินาศภัย ถ้าเกิดความเห็นแตกต่างกันในจำนวนวินาศภัยหรือเสียหายให้ตั้งอนุญาโตตุลาการชี้ขาดเสียก่อน แต่เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น ก็หาจำต้องมีการเสนอตั้งอนุญาโตตุลาการเพื่อชี้ขาดจำนวนวินาศภัยหรือเสียหายไม่
เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้และผู้รับประโยชน์มีหนังสือแจ้งให้ผู้รับประกันภัยทราบผู้รับประกันภัยกลับเพิกเฉย ไม่ยอมทำความตกลงหรือเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการแต่อย่างใด ดังนี้ เท่ากับผู้รับประกันภัยปฏิเสธความรับผิดของตนโดยสิ้นเชิง ผู้รับประโยชน์ย่อมมีสิทธิฟ้องผู้รับประกันภัยได้โดยไม่จำต้องเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการเสียก่อน
ในกรมธรรม์ประกันภัยซึ่งผู้เอาประกันภัยทำไว้กับจำเลยผู้รับประกันภัยระบุให้โจทก์เป็นผู้รับประโยชน์ เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น และโจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกได้แสดงเจตนาแก่จำเลย โดยมีหนังสือบอกกล่าวให้จำเลยทราบแล้วว่าจะถือเอาประโยชน์จากสัญญาตามกรมธรรม์นั้น สิทธิของโจทก์ย่อมเกิดมีขึ้นตั้งแต่เวลาที่แสดงเจตนาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 ผู้เอาประกันภัยและจำเลยหาอาจจะเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 375
เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้และผู้รับประโยชน์มีหนังสือแจ้งให้ผู้รับประกันภัยทราบผู้รับประกันภัยกลับเพิกเฉย ไม่ยอมทำความตกลงหรือเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการแต่อย่างใด ดังนี้ เท่ากับผู้รับประกันภัยปฏิเสธความรับผิดของตนโดยสิ้นเชิง ผู้รับประโยชน์ย่อมมีสิทธิฟ้องผู้รับประกันภัยได้โดยไม่จำต้องเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการเสียก่อน
ในกรมธรรม์ประกันภัยซึ่งผู้เอาประกันภัยทำไว้กับจำเลยผู้รับประกันภัยระบุให้โจทก์เป็นผู้รับประโยชน์ เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น และโจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกได้แสดงเจตนาแก่จำเลย โดยมีหนังสือบอกกล่าวให้จำเลยทราบแล้วว่าจะถือเอาประโยชน์จากสัญญาตามกรมธรรม์นั้น สิทธิของโจทก์ย่อมเกิดมีขึ้นตั้งแต่เวลาที่แสดงเจตนาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 ผู้เอาประกันภัยและจำเลยหาอาจจะเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 375
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 35/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจ่ายค่าสินไหมทดแทนประกันวินาศภัยเมื่อทรัพย์สินเสียหายหมดสิ้น และสิทธิของบุคคลภายนอกผู้รับประโยชน์
แม้ตามกรมธรรม์ประกันภัยจะระบุไว้ว่า ในกรณีทรัพย์ที่เอาประกันภัยต้องวินาศภัย ถ้าเกิดความเห็นแตกต่างกันในจำนวนวินาศภัยหรือเสียหาย ให้ตั้งอนุญาโตตุลาการขี้ขาดเสียก่อน แต่เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น ก็หาจำต้องมีการเสนอตั้งอนุญาโตตุลาการเพื่อชี้ขาดจำนวนวินาศภัยหรือเสียหายไม่
เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้และผู้รับประโยชน์มีหนังสือแจ้งให้ผู้รับประกันภัยทราบผู้รับประกันภัยกลับเพิกเฉย ไม่ยอมทำความตกลงหรือเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการแต่อย่างใด ดังนี้ เท่ากับผู้รับประกันภัยปฏิเสธความรับผิดของตนโดยสิ้นเชิง ผู้รับประโยชน์ย่อมมีสิทธิฟ้องผู้รับประกันภัยได้โดยไม่จำต้องเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการเสียก่อน
ในกรมธรรม์ประกันภัยซึ่งผู้เอาประกันภัยทำไว้กับจำเลยผู้รับประกันภัย ระบุให้โจทก์เป็นผู้รับประโยชน์ เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น และโจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกได้แสดงเจตนาแก่จำเลย โดยมีหนังสือบอกกล่าวให้จำเลยทราบแล้วว่าจะถือเอาประโยชน์จากสัญญาตามกรมธรรม์นั้น สิทธิของโจทก์ย่อมเกิดมีขึ้นตั้งแต่เวลาที่แสดงเจตนาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 ผู้เอาประกันภัยและจำเลยหาอาจจะเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374
เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้และผู้รับประโยชน์มีหนังสือแจ้งให้ผู้รับประกันภัยทราบผู้รับประกันภัยกลับเพิกเฉย ไม่ยอมทำความตกลงหรือเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการแต่อย่างใด ดังนี้ เท่ากับผู้รับประกันภัยปฏิเสธความรับผิดของตนโดยสิ้นเชิง ผู้รับประโยชน์ย่อมมีสิทธิฟ้องผู้รับประกันภัยได้โดยไม่จำต้องเสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการเสียก่อน
ในกรมธรรม์ประกันภัยซึ่งผู้เอาประกันภัยทำไว้กับจำเลยผู้รับประกันภัย ระบุให้โจทก์เป็นผู้รับประโยชน์ เมื่อทรัพย์ที่เอาประกันภัยถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น และโจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกได้แสดงเจตนาแก่จำเลย โดยมีหนังสือบอกกล่าวให้จำเลยทราบแล้วว่าจะถือเอาประโยชน์จากสัญญาตามกรมธรรม์นั้น สิทธิของโจทก์ย่อมเกิดมีขึ้นตั้งแต่เวลาที่แสดงเจตนาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 ผู้เอาประกันภัยและจำเลยหาอาจจะเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374