พบผลลัพธ์ทั้งหมด 355 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1085/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประกันภัยค้ำจุน: ผู้รับประกันภัยต้องรับผิดต่อผู้เสียหายโดยตรงจากละเมิดของผู้รับประกัน
ค่าพาหนะไปมาโรงพยาบาลเพื่อรักษาพยาบาลบาดแผลที่ถูกทำละเมิดเป็นค่าเสียหายที่เกิดโดยตรงสืบเนื่องจากการละเมิด
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1 เพื่อความวินาศภัยอันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน ดังนั้นเมื่อจำเลย ที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1 เพื่อความวินาศภัยอันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน ดังนั้นเมื่อจำเลย ที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1085/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประกันภัยค้ำจุน: ผู้รับประกันภัยต้องรับผิดต่อค่าเสียหายจากการละเมิดของผู้อื่นโดยตรง
ค่าพาหนะไปมาโรงพยาบาลเพื่อรักษาพยาบาลบาดแผลที่ถูกทำละเมิดเป็นค่าเสียหายที่เกิดโดยตรงสืบเนื่องจากการละเมิด
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1 เพื่อความวินาศภัยกันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน ดังนั้นเมื่อจำเลยที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1 เพื่อความวินาศภัยกันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน ดังนั้นเมื่อจำเลยที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์ โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1085/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประกันภัยค้ำจุน: ผู้รับประกันภัยต้องรับผิดชอบค่าเสียหายจากการละเมิดของผู้อื่น
ค่าพาหนะไปมาโรงพยาบาลเพื่อรักษาพยาบาลบาดแผลที่ถูกทำละเมิดเป็นค่าเสียหายที่เกิดโดยตรงสืบเนื่องจากการละเมิด.
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต. มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้.
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่1 ว่า. จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1. เพื่อความวินาศภัยอันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ. มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน. ดังนั้นเมื่อจำเลย ที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์. โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้.
โจทก์ถูกทำละเมิดแขนซ้ายพิการตลอดชีวิต. มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพราะเหตุทุพพลภาพได้.
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยทำสัญญากับจำเลยที่1 ว่า. จำเลยที่ 2 ยอมใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของจำเลยที่ 1. เพื่อความวินาศภัยอันเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งและซึ่งจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดชอบ. มีลักษณะเป็นสัญญาประกันภัยค้ำจุน. ดังนั้นเมื่อจำเลย ที่ 1 ทำละเมิดต่อโจทก์. โจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายจึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยโดยตรงและมีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 2 ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1074/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำนองและผลกระทบต่อเจ้าหนี้เมื่อมีการโอนทรัพย์สิน การโอนทรัพย์สินที่จำนองไม่ทำให้เจ้าหนี้ไม่ได้รับชำระหนี้
จำเลยจำนองที่ดินไว้กับโจทก์ ต่อมาจำเลยนำที่ดินนั้นไปขายฝากผู้อื่นแล้วปล่อยให้ที่ดินหลุดเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้อื่นไป การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 350 เพราะการโอนทรัพย์ของลูกหนี้ไปให้ผู้อื่นซึ่งจะเป็นความผิดตามบทกฎหมายมาตรานี้ จะต้องเป็นการโอนไปเพื่อมิให้เจ้าหนี้ได้รับชำระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน แต่ที่ดินที่จำเลยโอนให้ผู้อื่นไปด้วยการขายฝากนั้นเป็นที่ดินที่จำเลยจำนองไว้กับโจทก์ การจำนองย่อมผูกพันทรัพย์สินที่จำนอง ถึงแม้จะมีการโอนไปผู้รับโอนก็ต้องรับภารจำนองไปด้วย โจทก์ในฐานะผู้รับจำนองย่อมมีสิทธิได้รับชำระหนี้จากทรัพย์สินที่จำนอง มิพักต้องพิเคราะห์ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอนไปยังผู้อื่นแล้วหรือหาไม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 702วรรคสอง การโอนที่ดินที่จำนองให้แก่ผู้อื่นไม่ทำให้โจทก์ไม่ได้รับชำระหนี้จำนอง โจทก์ไม่ได้รับความเสียหายแต่ประการใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1074/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำนองและผลกระทบต่อเจ้าหนี้เมื่อมีการโอนทรัพย์สิน การโอนทรัพย์จำนองไม่ทำให้เจ้าหนี้เสียสิทธิ
จำเลยจำนองที่ดินไว้กับโจทก์ ต่อมาจำเลยนำที่ดินนั้นไปขายฝากผู้อื่นแล้วปล่อยให้ที่ดินหลุดเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้อื่นไป การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 350 เพราะการโอนทรัพย์ของลูกหนี้ไปให้ผู้อื่นซึ่งจะเป็นความผิดตามบทกฎหมายมาตรานี้ จะต้องเป็นการโอนไปเพื่อมิให้เจ้าหนี้ได้รับชำระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน แต่ที่ดินที่จำเลยโอนให้ผู้อื่นไปด้วยการขายฝากนั้นเป็นที่ดินที่จำเลยจำนองไว้กับโจทก์ การจำนองย่อมผูกพันทรัพย์สินที่จำนอง ถึงแม้จะมีการโอนไปผู้รับโอนก็ต้องรับการจำนองไปด้วย โจทก์ในฐานะผู้รับจำนองย่อมมีสิทธิได้รับชำระหนี้จากทรัพย์สินที่จำนอง มิพักต้องพิเคราะห์ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอนไปยังผู้อื่นแล้วหรือหาไม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 702 วรรค 2 การโอนที่ดินที่จำนองให้แก่ผู้อื่นไม่ทำให้โจทก์ไม่ได้รับชำระหนี้จำนอง โจทก์ไม่ได้รับความเสียหายแต่ประการใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1074/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำนองและผลกระทบต่อเจ้าหนี้เมื่อมีการโอนทรัพย์สิน – แม้โอนทรัพย์สิน เจ้าหนี้ยังรับชำระหนี้ได้
จำเลยจำนองที่ดินไว้กับโจทก์. ต่อมาจำเลยนำที่ดินนั้นไปขายฝากผู้อื่นแล้วปล่อยให้ที่ดินหลุดเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้อื่นไป. การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 350. เพราะการโอนทรัพย์ของลูกหนี้ไปให้ผู้อื่นซึ่งจะเป็นความผิดตามบทกฎหมายมาตรานี้. จะต้องเป็นการโอนไปเพื่อมิให้เจ้าหนี้ได้รับชำระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน. แต่ที่ดินที่จำเลยโอนให้ผู้อื่นไปด้วยการขายฝากนั้นเป็นที่ดินที่จำเลยจำนองไว้กับโจทก์. การจำนองย่อมผูกพันทรัพย์สินที่จำนอง. ถึงแม้จะมีการโอนไปผู้รับโอนก็ต้องรับภารจำนองไปด้วย. โจทก์ในฐานะผู้รับจำนองย่อมมีสิทธิได้รับชำระหนี้จากทรัพย์สินที่จำนอง. มิพักต้องพิเคราะห์ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอนไปยังผู้อื่นแล้วหรือหาไม่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 702วรรคสอง. การโอนที่ดินที่จำนองให้แก่ผู้อื่นไม่ทำให้โจทก์ไม่ได้รับชำระหนี้จำนอง. โจทก์ไม่ได้รับความเสียหายแต่ประการใด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1004/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องแบ่งมรดกและการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเรื่องการมีอยู่จริงของนิติบุคคลผู้รับมรดก
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์จำเลยไม่อาจตกลงแบ่งที่ดินมรดกตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำกันไว้ในศาลได้ที่ดินที่โจทก์จำเลยตกลงอุทิศให้มัสยิดหัวหมากตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้น ไม่มีมัสยิดหัวหมากที่จะได้รับประโยชน์ข้อตกลงข้อนี้เป็นโมฆะ ต้องนำที่ดินส่วนที่ยกให้มัสยิดหัวหมากมาแบ่งให้โจทก์จำเลยคนละเท่าๆกันโจทก์จำเลยได้จดทะเบียนรับโอนมรดกที่ดินแปลงนี้ร่วมกันต่อเจ้าพนักงานที่ดินแล้วดังนี้ เห็นได้ว่าเป็นกรณีที่โจทก์ใช้สิทธิฟ้องจำเลยขอแบ่งที่ดินโดยอ้างว่ามัสยิดหัวหมากไม่มีตัวตนอยู่ ต้องนำที่ดินส่วนนั้นมาแบ่งระหว่างโจทก์จำเลย แต่ไม่อาจตกลงกันได้ ประการหนึ่งอีกประการหนึ่งโจทก์จำเลยมีสิทธิร่วมกันในที่ดินมรดกแปลงนี้ไม่อาจตกลงแบ่งกันได้โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของร่วมย่อมมีสิทธิฟ้องขอแบ่งจากจำเลยได้เสมอตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1363,1364 ฟ้องของโจทก์ได้แสดงชัดแจ้งแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาจึงเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55,172
เมื่อโจทก์กล่าวอ้างข้อเท็จจริงว่า มัสยิดหัวหมากไม่มีตัวตนดังที่ปรากฏตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่โจทก์จำเลยทำไว้ต่อกันในศาล แต่จำเลยให้การว่ามัสยิดหัวหมากมีตัวตนอยู่ ประเด็นหน้าที่นำสืบจึงตกแก่โจทก์ต้องนำสืบก่อนให้สมตามฟ้อง
เมื่อโจทก์กล่าวอ้างข้อเท็จจริงว่า มัสยิดหัวหมากไม่มีตัวตนดังที่ปรากฏตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่โจทก์จำเลยทำไว้ต่อกันในศาล แต่จำเลยให้การว่ามัสยิดหัวหมากมีตัวตนอยู่ ประเด็นหน้าที่นำสืบจึงตกแก่โจทก์ต้องนำสืบก่อนให้สมตามฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1004/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งมรดกและผลของสัญญาประนีประนอมยอมความที่อ้างถึงมัสยิดที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์จำเลยไม่อาจตกลงแบ่งที่ดินมรดกตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำกันไว้ในศาลได้ ที่ดินที่โจทก์จำเลยตกลงอุทิศให้มัสยิดหัวหมากตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้น ไม่มีมัสยิดหัวหมากที่จะได้รับประโยชน์ ข้อตกลงข้อนี้เป็นโมฆะต้องนำที่ดินส่วนที่ยกให้มัสยิดหัวหมากมาแบ่งให้โจทก์จำเลยคนละเท่าๆ กัน โจทก์จำเลยได้จดทะเบียนรับโอนมรดกที่ดินแปลงนี้ร่วมกันต่อเจ้าพนักงานที่ดินแล้ว ดังนี้ เห็นได้ว่าเป็นกรณีที่โจทก์ใช้สิทธิฟ้องจำเลยขอแบ่งที่ดินโดยอ้างว่ามัสยิดหัวหมากไม่มีตัวตนอยู่ ต้องนำที่ดินส่วนนั้นมาแบ่งระหว่างโจทก์จำเลย แต่ไม่อาจตกลงกันได้ ประการหนึ่ง อีกประการหนึ่งโจทก์จำเลยมีสิทธิร่วมกันในที่ดินมรดกแปลงนี้ ไม่อาจตกลงแบ่งกันได้ โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของร่วมย่อมมีสิทธิฟ้องขอแบ่งจากจำเลยได้เสมอตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1363, 1364 ฟ้องของโจทก์ได้แสดงชัดแจ้งแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งขออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหา จึงเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55, 172
เมื่อโจทก์กล่าวอ้างข้อเท็จจริงว่า มัสยิดหัวหมากไม่มีตัวตนดังที่ปรากฏตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่โจทก์จำเลยทำไว้ต่อกันในศาล แต่จำเลยให้การว่ามัสยิดหัวหมากมีตัวตนอยู่ ประเด็นหน้าที่นำสืบจึงตกแก่โจทก์ต้องนำสืบก่อนให้สมตามฟ้อง
เมื่อโจทก์กล่าวอ้างข้อเท็จจริงว่า มัสยิดหัวหมากไม่มีตัวตนดังที่ปรากฏตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่โจทก์จำเลยทำไว้ต่อกันในศาล แต่จำเลยให้การว่ามัสยิดหัวหมากมีตัวตนอยู่ ประเด็นหน้าที่นำสืบจึงตกแก่โจทก์ต้องนำสืบก่อนให้สมตามฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1004/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งมรดกและผลของสัญญาประนีประนอมยอมความที่เป็นโมฆะเนื่องจากผู้รับผลประโยชน์ไม่มีอยู่จริง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์จำเลยไม่อาจตกลงแบ่งที่ดินมรดกตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำกันไว้ในศาลได้. ที่ดินที่โจทก์จำเลยตกลงอุทิศให้มัสยิดหัวหมากตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้น ไม่มีมัสยิดหัวหมากที่จะได้รับประโยชน์. ข้อตกลงข้อนี้เป็นโมฆะ ต้องนำที่ดินส่วนที่ยกให้มัสยิดหัวหมากมาแบ่งให้โจทก์จำเลยคนละเท่าๆกัน.โจทก์จำเลยได้จดทะเบียนรับโอนมรดกที่ดินแปลงนี้ร่วมกันต่อเจ้าพนักงานที่ดินแล้ว. ดังนี้ เห็นได้ว่าเป็นกรณีที่โจทก์ใช้สิทธิฟ้องจำเลยขอแบ่งที่ดินโดยอ้างว่ามัสยิดหัวหมากไม่มีตัวตนอยู่. ต้องนำที่ดินส่วนนั้นมาแบ่งระหว่างโจทก์จำเลย แต่ไม่อาจตกลงกันได้ ประการหนึ่ง.อีกประการหนึ่งโจทก์จำเลยมีสิทธิร่วมกันในที่ดินมรดกแปลงนี้ไม่อาจตกลงแบ่งกันได้. โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของร่วมย่อมมีสิทธิฟ้องขอแบ่งจากจำเลยได้เสมอตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1363,1364. ฟ้องของโจทก์ได้แสดงชัดแจ้งแห่งข้อหาและคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาจึงเป็นฟ้องที่สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55,172.
เมื่อโจทก์กล่าวอ้างข้อเท็จจริงว่า มัสยิดหัวหมากไม่มีตัวตนดังที่ปรากฏตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่โจทก์จำเลยทำไว้ต่อกันในศาล. แต่จำเลยให้การว่ามัสยิดหัวหมากมีตัวตนอยู่ ประเด็นหน้าที่นำสืบจึงตกแก่โจทก์ต้องนำสืบก่อนให้สมตามฟ้อง.
เมื่อโจทก์กล่าวอ้างข้อเท็จจริงว่า มัสยิดหัวหมากไม่มีตัวตนดังที่ปรากฏตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่โจทก์จำเลยทำไว้ต่อกันในศาล. แต่จำเลยให้การว่ามัสยิดหัวหมากมีตัวตนอยู่ ประเด็นหน้าที่นำสืบจึงตกแก่โจทก์ต้องนำสืบก่อนให้สมตามฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 871/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับค่าทดแทนเวนคืน: เจ้าของที่ดินที่ให้เช่าพื้นที่แก่บริษัท ไม่มีสิทธิรับค่าทดแทนโดยตรง
โจทก์เป็นเจ้าของตึกแถวซึ่งได้ใช้ประกอบการค้าโดยบริษัทชาญสิริเทรดดิ้งจำกัด ซึ่งจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลต่างหากจากผู้ถือหุ้นทั้งหลายของบริษัท โจทก์เป็นเพียงผู้ถือหุ้นและเป็นกรรมการผู้หนึ่งอยู่ในบริษัทฯ จึงเรียกไม่ได้ว่าโจทก์ประกอบการค้าในตึกแถวดังกล่าว แต่บริษัทดังกล่าวเป็นผู้ประกอบการค้าภายในตึกแถวนั้น เมื่อมีพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฯ ให้เวนคืนตึกแถวของโจทก์ดังกล่าว บริษัท ฯ จึงได้รับความเสียหายเนื่องจากการที่ประกอบการค้าภายในตึกแถวนั้นและต้องออกไปจากตึก จึงเป็นผู้เสียหายมิใช่โจทก์ ฉะนั้น โจทก์จึงไม่มีสิทธิขอรับค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ.2497 มาตรา 14 วรรคสาม โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้อง