พบผลลัพธ์ทั้งหมด 355 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 390/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องกรมสรรพากร และการเสียอากรแสตมป์ในเอกสารรับของที่ไม่ใช่ใบรับของตามกฎหมาย
หนังสือที่สั่งให้โจทก์นำเงินอากรและเงินเพิ่มอากรไปชำระ ลงสถานที่กรมสรรพากร. ผู้ลงนามเป็นเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร. คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีอธิบดีกรมสรรพากรเป็นประธานประกอบกับประมวลรัษฎากร มาตรา 5 บัญญัติว่า. ภาษีอากรฝ่ายสรรพากรอยู่ในอำนาจหน้าที่และควบคุมของกรมสรรพากร.เห็นได้ชัดว่าเจ้าหน้าที่เหล่านี้ได้กระทำไปในนามของกรมสรรพากร. เมื่อโจทก์เห็นว่าการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ดังกล่าวไม่ถูกต้อง. โจทก์ย่อมฟ้องกรมสรรพากรเป็นจำเลยด้วยได้.
ข้อความในเอกสาร 'ข้าพเจ้า(โจทก์)ขอรับผิดชอบในการที่จะจัดส่งสิ่งของที่ระบุไว้ข้างล่างนี้ไปยังจุดหมายปลายทางโดยมิให้มีการสูญหรือเสียหายเกิดขึ้นเลย'. เป็นเพียงข้อสัญญาที่โจทก์ให้ไว้ว่าจะจัดส่งสิ่งของไปยังจุดหมายปลายทางโดยความปลอดภัยมิให้สิ่งของเหล่านั้นสูญหรือเสียหาย. ซึ่งถ้าเกิดสูญหรือเสียหาย. โจทก์ยอมรับใช้ค่าเสียหายเอกสารดังกล่าวมิได้มีข้อความว่า. โจทก์ได้รับสินค้าไป และออกใบรับของให้. เอกสารดังกล่าวจึงถือไม่ได้ว่าเป็นใบรับของตามความหมายในข้อ 16 แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากร. โจทก์ไม่มีหน้าที่จะต้องเสียอากรแสตมป์.
ข้อความในเอกสาร 'ข้าพเจ้า(โจทก์)ขอรับผิดชอบในการที่จะจัดส่งสิ่งของที่ระบุไว้ข้างล่างนี้ไปยังจุดหมายปลายทางโดยมิให้มีการสูญหรือเสียหายเกิดขึ้นเลย'. เป็นเพียงข้อสัญญาที่โจทก์ให้ไว้ว่าจะจัดส่งสิ่งของไปยังจุดหมายปลายทางโดยความปลอดภัยมิให้สิ่งของเหล่านั้นสูญหรือเสียหาย. ซึ่งถ้าเกิดสูญหรือเสียหาย. โจทก์ยอมรับใช้ค่าเสียหายเอกสารดังกล่าวมิได้มีข้อความว่า. โจทก์ได้รับสินค้าไป และออกใบรับของให้. เอกสารดังกล่าวจึงถือไม่ได้ว่าเป็นใบรับของตามความหมายในข้อ 16 แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากร. โจทก์ไม่มีหน้าที่จะต้องเสียอากรแสตมป์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 390/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องกรมสรรพากร และการเสียอากรแสตมป์จากเอกสารรับรองการขนส่ง
หนังสือที่สั่งให้โจทก์นำเงินอากรและเงินเพิ่มอากรไปชำระลงสถานที่กรมสรรพากร ผู้ลงนามเป็นเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีอธิบดีกรมสรรพากรเป็นประธานประกอบกับประมวลรัษฎากร มาตรา 5 บัญญัติว่า ภาษีอากรฝ่ายสรรพากรอยู่ในอำนาจหน้าที่และควบคุมของกรมสรรพากรเห็นได้ชัดว่าเจ้าหน้าที่เหล่านี้ได้กระทำไปในนามของกรมสรรพากร เมื่อโจทก์เห็นว่าการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ดังกล่าวไม่ถูกต้อง โจทก์ย่อมฟ้องกรมสรรพากรเป็นจำเลยด้วยได้
ข้อความในเอกสาร 'ข้าพเจ้า(โจทก์)ขอรับผิดชอบในการที่จะจัดส่งสิ่งของที่ระบุไว้ข้างล่างนี้ไปยังจุดหมายปลายทางโดยมิให้มีการสูญหรือเสียหายเกิดขึ้นเลย' เป็นเพียงข้อสัญญาที่โจทก์ให้ไว้ว่าจะจัดส่งสิ่งของไปยังจุดหมายปลายทางโดยความปลอดภัยมิให้สิ่งของเหล่านั้นสูญหรือเสียหาย ซึ่งถ้าเกิดสูญหรือเสียหาย โจทก์ยอมรับใช้ค่าเสียหายเอกสารดังกล่าวมิได้มีข้อความว่า โจทก์ได้รับสินค้าไป และออกใบรับของให้เอกสารดังกล่าวจึงถือไม่ได้ว่าเป็นใบรับของตามความหมายในข้อ 16 แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากร โจทก์ไม่มีหน้าที่จะต้องเสียอากรแสตมป์
ข้อความในเอกสาร 'ข้าพเจ้า(โจทก์)ขอรับผิดชอบในการที่จะจัดส่งสิ่งของที่ระบุไว้ข้างล่างนี้ไปยังจุดหมายปลายทางโดยมิให้มีการสูญหรือเสียหายเกิดขึ้นเลย' เป็นเพียงข้อสัญญาที่โจทก์ให้ไว้ว่าจะจัดส่งสิ่งของไปยังจุดหมายปลายทางโดยความปลอดภัยมิให้สิ่งของเหล่านั้นสูญหรือเสียหาย ซึ่งถ้าเกิดสูญหรือเสียหาย โจทก์ยอมรับใช้ค่าเสียหายเอกสารดังกล่าวมิได้มีข้อความว่า โจทก์ได้รับสินค้าไป และออกใบรับของให้เอกสารดังกล่าวจึงถือไม่ได้ว่าเป็นใบรับของตามความหมายในข้อ 16 แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ตามประมวลรัษฎากร โจทก์ไม่มีหน้าที่จะต้องเสียอากรแสตมป์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 388-389/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์สถานะการเป็นทายาทเพื่อการแต่งตั้งผู้จัดการมรดก และการตรวจสอบความถูกต้องของพินัยกรรม
จำเลยร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของ ล. ผู้ตาย โดยอ้างว่าจำเลยเป็นบุตรของ ล.โจทก์ค้านว่าจำเลยไม่ใช่บุตรของ ล. ปัญหาว่าจำเลยเป็นบุตรของ ล. หรือไม่จึงเป็นประเด็นโดยตรงและสำคัญแห่งคดีซึ่งศาลจำเป็นต้องวินิจฉัยชี้ขาด หาใช่เป็นเรื่องที่จะให้ไปฟ้องร้องกันอีกคดีหนึ่งไม่ เพราะถ้าคดีฟังได้ว่าจำเลยไม่ใช่บุตรของ ล. ก็ย่อมไม่ใช่ทายาทไม่มีอำนาจร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก คำร้องของจำเลยต้องยกเสียถ้าหากคดีฟังได้ในทางตรงข้าม คือฟังว่าจำเลยเป็นบุตร ล. จำเลยก็เป็นทายาทในลำดับผู้สืบสันดาน ส. ซึ่งเป็นโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะผู้รับมรดกแทนที่ บ. ซึ่งเป็นทายาทในลำดับน้องร่วมบิดาเดียวกับ ล. ผู้ตาย
ส. ซึ่งเป็นโจทก์เป็นผู้รับมรดกแทนที่ บ. ซึ่งเป็นทายาทในลำดับเดียวกับจำเลย ส. ย่อมมีสิทธิรับมรดกและร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้เท่าเทียมกับจำเลย
โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยอ้างว่าโจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรมทรัพย์บางอย่าง ฝ่ายจำเลยคัดค้านว่าพินัยกรรมปลอมจึงต้องวินิจฉัยปัญหาว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่ ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมไม่ปลอม โจทก์ก็เป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ระบุในพินัยกรรมย่อมมีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมปลอม คำร้องของโจทก์ก็ต้องยก เพราะโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมและในฐานะผู้รับพินัยกรรม
คดีของโจทก์เป็นเรื่องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยโจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นผู้รับพินัยกรรมเป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ซึ่งต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทเท่านั้น โจทก์หาได้เรียกร้องเอาทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมมาด้วยไม่จึงไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์ ไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลตามราคาทรัพย์ในพินัยกรรม
ส. ซึ่งเป็นโจทก์เป็นผู้รับมรดกแทนที่ บ. ซึ่งเป็นทายาทในลำดับเดียวกับจำเลย ส. ย่อมมีสิทธิรับมรดกและร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้เท่าเทียมกับจำเลย
โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยอ้างว่าโจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรมทรัพย์บางอย่าง ฝ่ายจำเลยคัดค้านว่าพินัยกรรมปลอมจึงต้องวินิจฉัยปัญหาว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่ ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมไม่ปลอม โจทก์ก็เป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ระบุในพินัยกรรมย่อมมีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมปลอม คำร้องของโจทก์ก็ต้องยก เพราะโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมและในฐานะผู้รับพินัยกรรม
คดีของโจทก์เป็นเรื่องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยโจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นผู้รับพินัยกรรมเป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ซึ่งต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทเท่านั้น โจทก์หาได้เรียกร้องเอาทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมมาด้วยไม่จึงไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์ ไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลตามราคาทรัพย์ในพินัยกรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 388-389/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์สถานะทายาทและผลกระทบต่อการเป็นผู้จัดการมรดก รวมถึงการตรวจสอบพินัยกรรม
จำเลยร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของ ล. ผู้ตาย. โดยอ้างว่าจำเลยเป็นบุตรของ ล.. โจทก์ค้านว่าจำเลยไม่ใช่บุตรของ ล.. ปัญหาว่าจำเลยเป็นบุตรของล.หรือไม่.จึงเป็นประเด็นโดยตรงและสำคัญแห่งคดี. ซึ่งศาลจำเป็นต้องวินิจฉัยชี้ขาด. หาใช่เป็นเรื่องที่จะให้ไปฟ้องร้องกันอีกคดีหนึ่งไม่. เพราะถ้าคดีฟังได้ว่าจำเลยไม่ใช่บุตรของ ล. ก็ย่อมไม่ใช่ทายาท. ไม่มีอำนาจร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก. คำร้องของจำเลยต้องยกเสีย.ถ้าหากคดีฟังได้ในทางตรงข้าม คือฟังว่าจำเลยเป็นบุตร ล. จำเลยก็เป็นทายาทในลำดับผู้สืบสันดาน. ส.ซึ่งเป็นโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะผู้รับมรดกแทนที่ บ. ซึ่งเป็นทายาทในลำดับน้องร่วมบิดาเดียวกับ ล. ผู้ตาย.
ส.ซึ่งเป็นโจทก์เป็นผู้รับมรดกแทนที่ บ.ซึ่งเป็นทายาทในลำดับเดียวกับจำเลย. ส.ย่อมมีสิทธิรับมรดกและร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้เท่าเทียมกับจำเลย.
โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยอ้างว่าโจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรมทรัพย์บางอย่าง. ฝ่ายจำเลยคัดค้านว่าพินัยกรรมปลอม. จึงต้องวินิจฉัยปัญหาว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่. ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมไม่ปลอม. โจทก์ก็เป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ระบุในพินัยกรรมย่อมมีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้. ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมปลอม. คำร้องของโจทก์ก็ต้องยก. เพราะโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมและในฐานะผู้รับพินัยกรรม.
คดีของโจทก์เป็นเรื่องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก. โดยโจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นผู้รับพินัยกรรม. เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ซึ่งต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทเท่านั้น. โจทก์หาได้เรียกร้องเอาทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมมาด้วยไม่.จึงไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์. ไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลตามราคาทรัพย์ในพินัยกรรม.
ส.ซึ่งเป็นโจทก์เป็นผู้รับมรดกแทนที่ บ.ซึ่งเป็นทายาทในลำดับเดียวกับจำเลย. ส.ย่อมมีสิทธิรับมรดกและร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้เท่าเทียมกับจำเลย.
โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยอ้างว่าโจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรมทรัพย์บางอย่าง. ฝ่ายจำเลยคัดค้านว่าพินัยกรรมปลอม. จึงต้องวินิจฉัยปัญหาว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่. ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมไม่ปลอม. โจทก์ก็เป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ระบุในพินัยกรรมย่อมมีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้. ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมปลอม. คำร้องของโจทก์ก็ต้องยก. เพราะโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมและในฐานะผู้รับพินัยกรรม.
คดีของโจทก์เป็นเรื่องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก. โดยโจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นผู้รับพินัยกรรม. เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ซึ่งต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทเท่านั้น. โจทก์หาได้เรียกร้องเอาทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมมาด้วยไม่.จึงไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์. ไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลตามราคาทรัพย์ในพินัยกรรม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 388-389/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิสูจน์ความเป็นทายาทเพื่อขอเป็นผู้จัดการมรดก และการวินิจฉัยความถูกต้องของพินัยกรรม
จำเลยร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของ ล. ผู้ตาย โดยอ้างว่าจำเลยเป็นบุตรของ ล. โจทก์ค้านว่าจำเลยไม่ใช่บุตรของ ล. ปัญหาว่าจำเลยเป็นบุตรของล.หรือไม่จึงเป็นประเด็นโดยตรงและสำคัญแห่งคดี ซึ่งศาลจำเป็นต้องวินิจฉัยชี้ขาด หาใช่เป็นเรื่องที่จะให้ไปฟ้องร้องกันอีกคดีหนึ่งไม่ เพราะถ้าคดีฟังได้ว่าจำเลยไม่ใช่บุตรของ ล. ก็ย่อมไม่ใช่ทายาท ไม่มีอำนาจร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก คำร้องของจำเลยต้องยกเสียถ้าหากคดีฟังได้ในทางตรงข้าม คือฟังว่าจำเลยเป็นบุตร ล. จำเลยก็เป็นทายาทในลำดับผู้สืบสันดาน ส.ซึ่งเป็นโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะผู้รับมรดกแทนที่ บ. ซึ่งเป็นทายาทในลำดับน้องร่วมบิดาเดียวกับ ล. ผู้ตาย
ส.ซึ่งเป็นโจทก์เป็นผู้รับมรดกแทนที่ บ.ซึ่งเป็นทายาทในลำดับเดียวกับจำเลย ส.ย่อมมีสิทธิรับมรดกและร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้เท่าเทียมกับจำเลย
โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยอ้างว่าโจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรมทรัพย์บางอย่าง ฝ่ายจำเลยคัดค้านว่าพินัยกรรมปลอม. จึงต้องวินิจฉัยปัญหาว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่ ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมไม่ปลอม โจทก์ก็เป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ระบุในพินัยกรรมย่อมมีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้ ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมปลอม คำร้องของโจทก์ก็ต้องยก เพราะโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมและในฐานะผู้รับพินัยกรรม
คดีของโจทก์เป็นเรื่องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก โดยโจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นผู้รับพินัยกรรม เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ซึ่งต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทเท่านั้น โจทก์หาได้เรียกร้องเอาทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมมาด้วยไม่จึงไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์ ไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลตามราคาทรัพย์ในพินัยกรรม
ส.ซึ่งเป็นโจทก์เป็นผู้รับมรดกแทนที่ บ.ซึ่งเป็นทายาทในลำดับเดียวกับจำเลย ส.ย่อมมีสิทธิรับมรดกและร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้เท่าเทียมกับจำเลย
โจทก์ร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกโดยอ้างว่าโจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรมทรัพย์บางอย่าง ฝ่ายจำเลยคัดค้านว่าพินัยกรรมปลอม. จึงต้องวินิจฉัยปัญหาว่าพินัยกรรมปลอมหรือไม่ ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมไม่ปลอม โจทก์ก็เป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่ระบุในพินัยกรรมย่อมมีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้ ถ้าฟังได้ว่าพินัยกรรมปลอม คำร้องของโจทก์ก็ต้องยก เพราะโจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยชอบธรรมและในฐานะผู้รับพินัยกรรม
คดีของโจทก์เป็นเรื่องขอให้ตั้งผู้จัดการมรดก โดยโจทก์กล่าวอ้างว่าเป็นผู้รับพินัยกรรม เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ซึ่งต้องเสียค่าขึ้นศาล 50 บาทเท่านั้น โจทก์หาได้เรียกร้องเอาทรัพย์ตามที่ระบุไว้ในพินัยกรรมมาด้วยไม่จึงไม่ใช่คดีมีทุนทรัพย์ ไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลตามราคาทรัพย์ในพินัยกรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 374/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มูลหนี้เช็คหลังวันพิทักษ์ทรัพย์ คำขอรับชำระหนี้ต้องห้ามตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย
เอาเช็คของลูกหนี้มาขอรับชำระหนี้ เช็คนั้นลงวันที่หลังวันพิทักษ์ทรัพย์. เมื่อผู้ร้องขอรับชำระหนี้สืบไม่ได้.ตามที่อ้างว่าลูกหนี้ออกเช็คให้เป็นการชำระราคาผ้าซึ่งลูกหนี้ซื้อจากผู้ร้องก่อนวันพิทักษ์ทรัพย์. ต้องถือว่ามูลหนี้เกิดในวันที่ลงในเช็ค คำขอรับชำระหนี้ต้องห้ามตามมาตรา94 นี้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 374/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้เช็คหลังพิทักษ์ทรัพย์: คำขอรับชำระหนี้เป็นไปตามกฎหมายล้มละลาย
เอาเช็คของลูกหนี้มาขอรับชำระหนี้ เช็คนั้นลงวันที่หลังวันพิทักษ์ทรัพย์ เมื่อผู้ร้องขอรับชำระหนี้สืบไม่ได้ตามที่อ้างว่าลูกหนี้ออกเช็คให้เป็นการชำระราคาผ้าซึ่งลูกหนี้ซื้อจากผู้ร้องก่อนวันพิทักษ์ทรัพย์ ต้องถือว่ามูลหนี้เกิดในวันที่ลงเช็ค คำขอรับชำระหนี้ต้องห้ามตามมาตรา 94 นี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 374/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้เช็คหลังพิทักษ์ทรัพย์: คำขอรับชำระหนี้ถูกจำกัดตามกฎหมายล้มละลาย
เอาเช็คของลูกหนี้มาขอรับชำระหนี้ เช็คนั้นลงวันที่หลังวันพิทักษ์ทรัพย์ เมื่อผู้ร้องขอรับชำระหนี้สืบไม่ได้ตามที่อ้างว่าลูกหนี้ออกเช็คให้เป็นการชำระราคาผ้าซึ่งลูกหนี้ซื้อจากผู้ร้องก่อนวันพิทักษ์ทรัพย์ ต้องถือว่ามูลหนี้เกิดในวันที่ลงในเช็ค คำขอรับชำระหนี้ต้องห้ามตามมาตรา94 นี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 353/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบพยานเพื่อพิสูจน์การชำระหนี้ด้วยข้าวเปลือกและการไม่ชอบด้วยกฎหมายของฎีกาที่ไม่ได้อ้างอิงข้อกฎหมาย
จำเลยให้การว่า ขณะทำหนังสือสัญญากู้ยืมเงิน. โจทก์จำเลยได้ตกลงกันด้วยวาจาว่า โจทก์ยอมให้จำเลยชำระหนี้เงินกู้นี้ด้วยข้าวเปลือก 3 เกวียนก็ได้. ต่อมาจำเลยได้มอบข้าวเปลือกให้โจทก์แล้ว หนี้จึงระงับ. จำเลยนำพยานบุคคลสืบตามที่ให้การนี้ได้. ไม่เป็นการสืบเปลี่ยนแปลงเอกสาร. เพราะเป็นการนำสืบถึงการชำระหนี้เพื่อให้หนี้ระงับไป.ไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94.
ฟ้องฎีกาที่ไม่ได้ยกข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายขึ้นอ้างอิงโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249.
ฟ้องฎีกาที่ไม่ได้ยกข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายขึ้นอ้างอิงโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 353/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้ด้วยข้าวเปลือกและการนำสืบพยานเพื่อพิสูจน์การชำระหนี้โดยโจทก์อ้างข้อกฎหมายผิด
จำเลยให้การว่า ขณะทำหนังสือสัญญากู้ยืมเงินโจทก์จำเลยได้ตกลงกันด้วยวาจาว่า โจทก์ยอมให้จำเลยชำระหนี้เงินกู้นี้ด้วยข้าวเปลือก 3 เกวียนก็ได้ ต่อมาจำเลยได้มอบข้าวเปลือกให้โจทก์แล้ว หนี้จึงระงับ จำเลยนำพยานบุคคลสืบตามที่ให้การนี้ได้ ไม่เป็นการสืบเปลี่ยนแปลงเอกสาร เพราะเป็นการนำสืบถึงการชำระหนี้เพื่อให้หนี้ระงับไปไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
ฟ้องฎีกาที่ไม่ได้ยกข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายขึ้นอ้างอิงโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249
ฟ้องฎีกาที่ไม่ได้ยกข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายขึ้นอ้างอิงโดยชัดแจ้งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249