พบผลลัพธ์ทั้งหมด 355 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 346/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมซื้อขายโมฆะและการโอนทรัพย์สินโดยไม่สุจริต ผู้รับโอนไม่ได้รับความคุ้มครอง
สามีมิได้รู้เห็นและให้ความยินยอมภริยาทำนิติกรรมซื้อขายสินบริคณห์เมื่อได้บอกล้างนิติกรรมนั้นแล้ว. นิติกรรมนั้นย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 138.
บุคคลที่รับโอนทรัพย์สินมาโดยไม่สุจริตจากผู้โอนที่ได้ทรัพย์สินมาโดยนิติกรรมอันเป็นโมฆียะ. เมื่อนิติกรรมนั้นถูกบอกล้าง บุคคลที่รับโอนนั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1329.
บุคคลที่รับโอนทรัพย์สินมาโดยไม่สุจริตจากผู้โอนที่ได้ทรัพย์สินมาโดยนิติกรรมอันเป็นโมฆียะ. เมื่อนิติกรรมนั้นถูกบอกล้าง บุคคลที่รับโอนนั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1329.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 346/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมซื้อขายโมฆะเมื่อสามีมิได้ยินยอมและได้บอกล้างแล้ว ผู้รับโอนย่อมไม่ได้รับความคุ้มครอง
สามีมิได้รู้เห็นและให้ความยินยอมภริยาทำนิติกรรมซื้อขายสินบริคณห์เมื่อได้บอกล้างนิติกรรมนั้นแล้วนิติกรรมนั้นย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 138
บุคคลที่รับโอนทรัพย์สินมาโดยไม่สุจริตจากผู้โอนที่ได้ทรัพย์สินมาโดยนิติกรรมอันเป็นโมฆียะเมื่อนิติกรรมนั้นถูกบอกล้าง บุคคลที่รับโอนนั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1329
บุคคลที่รับโอนทรัพย์สินมาโดยไม่สุจริตจากผู้โอนที่ได้ทรัพย์สินมาโดยนิติกรรมอันเป็นโมฆียะเมื่อนิติกรรมนั้นถูกบอกล้าง บุคคลที่รับโอนนั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1329
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 346/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกล้างนิติกรรมซื้อขายที่สามีมิได้ยินยอม และผลกระทบต่อผู้รับโอนที่รู้ถึงข้อบกพร่อง
สามีมิได้รู้เห็นและให้ความยินยอมภริยาทำนิติกรรมซื้อขายสินบริคณห์ เมื่อได้บอกล้างนิติกรรมนั้นแล้ว นิติกรรมนั้นย่อมเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 138
บุคคลที่รับโอนทรัพย์สินมาโดยไม่สุจริตจากผู้โอนที่ได้ทรัพย์สินมาโดยนิติกรรมอันเป็นโมฆียะ เมื่อนิติกรรมนั้นถูกบอกล้าง บุคคลที่รับโอนนั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย ์ มาตรา 1329
บุคคลที่รับโอนทรัพย์สินมาโดยไม่สุจริตจากผู้โอนที่ได้ทรัพย์สินมาโดยนิติกรรมอันเป็นโมฆียะ เมื่อนิติกรรมนั้นถูกบอกล้าง บุคคลที่รับโอนนั้นไม่ได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย ์ มาตรา 1329
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 222/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกเฉยต่อคำสั่งศาลให้ชำระค่าขึ้นศาลเพิ่มเติมถือเป็นการทิ้งฟ้องตามกฎหมาย
ศาลชั้นต้นได้กำหนดให้โจทก์นำเงินค่าขึ้นศาลเพิ่มมาชำระก่อนวันที่ 26 มกราคม 2509 และให้นัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ 16 มีนาคม 2509 วันที่ 1 มีนาคม 2509 โจทก์ขอเลื่อนสืบพยานและศาลอนุญาตการที่ศาลอนุญาตให้เลื่อนสืบพยานไปก็ดี เลื่อนนัดพร้อมไปก็ดี มิได้หมายถึงให้เลื่อนการชำระเงินค่าขึ้นศาลเพิ่มด้วยเมื่อโจทก์เพิกเฉยไม่นำเงินค่าขึ้นศาลเพิ่มมาชำระต่อศาลภายในเวลาที่ศาลได้กำหนดไว้โดยโจทก์ทราบคำสั่งแล้ว จึงถือได้ว่าโจทก์ทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 174(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 222/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกเฉยต่อคำสั่งศาลให้ชำระค่าขึ้นศาลเพิ่มเติม ทำให้ถือว่าทิ้งฟ้องตามกฎหมาย
ศาลชั้นต้นได้กำหนดให้โจทก์นำเงินค่าขึ้นศาลเพิ่มมาชำระก่อนวันที่ 26 มกราคม 2509 และให้นัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ 16 มีนาคม 2509. วันที่ 1 มีนาคม 2509 โจทก์ขอเลื่อนสืบพยานและศาลอนุญาต. การที่ศาลอนุญาตให้เลื่อนสืบพยานไปก็ดี. เลื่อนนัดพร้อมไปก็ดี มิได้หมายถึงให้เลื่อนการชำระเงินค่าขึ้นศาลเพิ่มด้วย. เมื่อโจทก์เพิกเฉยไม่นำเงินค่าขึ้นศาลเพิ่มมาชำระต่อศาลภายในเวลาที่ศาลได้กำหนดไว้. โดยโจทก์ทราบคำสั่งแล้ว จึงถือได้ว่าโจทก์ทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 174(2).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 222/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทิ้งฟ้องเนื่องจากไม่ชำระค่าขึ้นศาลเพิ่ม แม้ศาลเลื่อนนัดสืบพยาน
ศาลชั้นต้นได้กำหนดให้โจทก็นำเงินค่าขึ้นศาลเพิ่มมาชำระก่อนวันที่ 26 มกราคม 2509 และให้นัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ 16 มีนาคม 2509 วันที่ 1 มีนาคม 2509 โจทก์ขอเลื่อนสืบพยานและศาลอนุญาต การที่ศาลอนุญาตให้เลื่อนสืบพยานไปก็ดี เลื่อนนัดพร้อมไปก็ดี เลื่อนนัดพร้อมไปก็ดี มิได้หมายถึงให้เลื่อนการชำระเงินค่าขึ้นศาลเพิ่มด้วย เมื่อโจทก์เพิกเฉยไม่นำเงินค่าขึ้นศาลเพิ่มมาชำระค่าขึ้นศาลขึ้นด้วย เมื่อโจทก์เพิกเฉยไม่นำเงินขึ้นศาลเพิ่มมาชำระต่อศาลภายในเวลาที่ศาลได้กำหนดไว้ โดยโจทก์ทราบคำสั่งแล้ว จึงถือได้ว่าโจทก์ทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 174 (2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 99-101/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตอำนาจประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 และการนิยามค่าจ้าง รวมถึงค่าล่วงเวลา
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ที่ให้กระทรวงมหาดไทยมีอำนาจกำหนดการจ่ายค่าจ้างของลูกจ้างนั้น คำว่า'ค่าจ้าง' มิได้มีบทนิยามไว้ จึงต้องเข้าใจตามความหมายสามัญคือหมายถึงสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างตลอดเวลาที่ลูกจ้างทำงานให้ หรือนัยหนึ่งหมายถึงสินจ้างที่ให้ตอบแทนการทำงานของลูกจ้าง
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง''ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างและหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกันไปตามเวลาหรือวันที่ลูกจ้างทำงานให้ คำว่า 'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'เป็นค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างที่ทำงานเกินเวลาปกติ หรือทำงานในวันหยุดในอัตราพิเศษ อันมีลักษณะและหลักเกณฑ์ในการจ่ายต่างกับคำว่า 'ค่าจ้าง' ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทยส่วนที่บทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง'ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม'ค่าล่วงเวลา'และ 'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า 'ค่าล่วงเวลา' และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไปจึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง''ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างและหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกันไปตามเวลาหรือวันที่ลูกจ้างทำงานให้ คำว่า 'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'เป็นค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างที่ทำงานเกินเวลาปกติ หรือทำงานในวันหยุดในอัตราพิเศษ อันมีลักษณะและหลักเกณฑ์ในการจ่ายต่างกับคำว่า 'ค่าจ้าง' ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทยส่วนที่บทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง'ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม'ค่าล่วงเวลา'และ 'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า 'ค่าล่วงเวลา' และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไปจึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 99-101/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกระทรวงมหาดไทยในการกำหนดค่าจ้างและค่าล่วงเวลาตามประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 19
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ข้อ 2 ที่ให้กระทรวงมหาดไทยมีอำนาจกำหนดการจ่ายค่าจ้างของลูกจ้างนั้น. คำว่า'ค่าจ้าง' มิได้มีบทนิยามไว้ จึงต้องเข้าใจตามความหมายสามัญ. คือหมายถึงสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างตลอดเวลาที่ลูกจ้างทำงานให้. หรือนัยหนึ่งหมายถึงสินจ้างที่ให้ตอบแทนการทำงานของลูกจ้าง.
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง''ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง. และหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกันไปตามเวลาหรือวันที่ลูกจ้างทำงานให้ คำว่า 'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'เป็นค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างที่ทำงานเกินเวลาปกติ หรือทำงานในวันหยุดในอัตราพิเศษ. อันมีลักษณะและหลักเกณฑ์ในการจ่ายต่างกับคำว่า 'ค่าจ้าง' ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทย. ส่วนที่บทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง'ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม.'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า 'ค่าล่วงเวลา' และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไป. จึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้.
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง''ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง. และหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกันไปตามเวลาหรือวันที่ลูกจ้างทำงานให้ คำว่า 'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด'เป็นค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างที่ทำงานเกินเวลาปกติ หรือทำงานในวันหยุดในอัตราพิเศษ. อันมีลักษณะและหลักเกณฑ์ในการจ่ายต่างกับคำว่า 'ค่าจ้าง' ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทย. ส่วนที่บทนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง'ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม.'ค่าล่วงเวลา'และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า 'ค่าล่วงเวลา' และ'ค่าล่วงเวลาในวันหยุด' จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไป. จึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 99-101/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกระทรวงมหาดไทยในการกำหนดจ่ายค่าล่วงเวลาและค่าล่วงเวลาในวันหยุดตามประกาศคณะปฏิวัติฯ
ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ข้อ 2 ที่ให้กระทรวงมหาดไทยมีอำนาจกำหนดการจ่ายค่าจ้างของลูกจ้างนั้น คำว่า "ค่าจ้าง" มิได้มีบทนิยามไว้ จึงต้องเข้าใจตามความหมายสามัญ คือหมายถึงสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างตลอดเวลาที่ลูกจ้างทำงานให้ หรือนัยหนึ่งหมายถึงสินจ้างที่ให้ตอบแทนการทำงานของลูกจ้าง
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ 2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างให้แก่ลูกจ้าง และหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกับคำว่า "ค่าจ้าง" ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทย ส่วนที่บทนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงหมาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไป จึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้
ประกาศของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ 2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ได้กำหนดบทนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" ขึ้นเพื่อสะดวกแก่การดำเนินให้เป็นไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อค่าจ้างหรือสินจ้างที่นายจ้างให้แก่ลูกจ้าง และหลักเกณฑ์การจ่ายต่างกับคำว่า "ค่าจ้าง" ตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงมหาดไทย ส่วนที่บทนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยไม่รวม "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" เพราะได้มีบทนิยามไว้อีกส่วนหนึ่งต่างหาก ฉะนั้น คำว่า "ค่าล่วงเวลา" และ "ค่าล่วงเวลาในวันหยุด" จึงเป็นค่าจ้างตามความมุ่งหมายในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ประกาศของกระทรวงหมาดไทยที่กำหนดการปฏิบัติในเรื่องการจ่ายค่าจ้างโดยจำแนกชื่อสินจ้างต่างกันไป จึงไม่ได้ออกนอกเหนืออำนาจที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 กำหนดให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 80/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธนาคารมีหน้าที่คืนเงินฝากให้ทายาทหลังผู้ฝากเสียชีวิต การขอผัดผ่อนเพื่อรอคดีถึงที่สุดไม่ถือเป็นการผิดสัญญา
ผู้ฝากเงินไว้กับธนาคารมีนิติสัมพันธ์กับธนาคารตามลักษณะฝากทรัพย์. ผู้ฝากจะถอนเงินคืนก่อนถึงเวลาที่ตกลงกันไว้ไม่ได้. และธนาคารผู้รับฝากจะส่งเงินคืนก่อนถึงเวลานั้นก็ไม่ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 673. แต่เมื่อผู้ฝากตาย. ธนาคารมีหน้าที่ต้องคืนเงินให้แก่ทายาทตามมาตรา 665.
คำพิพากษาที่ตั้งผู้จัดการมรดก. มีผลผูกพันเฉพาะคู่ความเท่านั้น. เพราะไม่ใช่คำพิพากษาเกี่ยวด้วยฐานะหรือความสามารถของบุคคล.
ผู้จัดการมรดกขอเบิกเงินของเจ้ามรดกที่ฝากไว้กับธนาคาร.ธนาคารขอผัดจ่ายให้ภายใน 1 เดือน. เพื่อให้คดีขอตั้งผู้จัดการมรดกขาดอายุอุทธรณ์. ทั้งธนาคารก็มีเงินพร้อมจะจ่ายให้ได้. ไม่ถือว่าธนาคารผิดสัญญาหรือทำละเมิดต่อผู้จัดการมรดก.
คำพิพากษาที่ตั้งผู้จัดการมรดก. มีผลผูกพันเฉพาะคู่ความเท่านั้น. เพราะไม่ใช่คำพิพากษาเกี่ยวด้วยฐานะหรือความสามารถของบุคคล.
ผู้จัดการมรดกขอเบิกเงินของเจ้ามรดกที่ฝากไว้กับธนาคาร.ธนาคารขอผัดจ่ายให้ภายใน 1 เดือน. เพื่อให้คดีขอตั้งผู้จัดการมรดกขาดอายุอุทธรณ์. ทั้งธนาคารก็มีเงินพร้อมจะจ่ายให้ได้. ไม่ถือว่าธนาคารผิดสัญญาหรือทำละเมิดต่อผู้จัดการมรดก.