พบผลลัพธ์ทั้งหมด 357 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1320/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งมรดก: บิดาผู้มีสิทธิเท่าทายาทชั้นบุตร และอายุความครอบครองทรัพย์มรดก
ทรัพย์พิพาทเป็นมรดก โจทก์เป็นบิดาเจ้ามรดกจึงได้ส่วนแบ่งเสมือนหนึ่งเป็นทายาทชั้นบุตร จำเลยเป็นผู้สืบสันดาน โจทก์จำเลยจึงมีส่วนแบ่งมรดกเท่าๆกัน
จำเลยได้ครอบครองทรัพย์มรดกแทนโจทก์ แม้โจทก์จะฟ้องคดีเกิน 1 ปีนับแต่วันเจ้ามรดกตาย ก็ไม่ขาดขาดอายุความ
จำเลยได้ครอบครองทรัพย์มรดกแทนโจทก์ แม้โจทก์จะฟ้องคดีเกิน 1 ปีนับแต่วันเจ้ามรดกตาย ก็ไม่ขาดขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1320/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งมรดกทายาทโดยธรรม: บิดาผู้มีสิทธิเท่ากับบุตร และอายุความครอบครองมรดก
ทรัพย์พิพาทเป็นมรดก โจทก์เป็นบิดาเจ้ามรดกจึงได้ส่วนแบ่งเสมือนหนึ่งเป็นทายาทชั้นบุตร จำเลยเป็นผู้สืบสันดาน โจทก์จำเลยจึงมีส่วนแบ่งมรดกเท่า ๆ กัน
จำเลยได้ครอบครองทรัพย์มรดกแทนโจทก์แม้โจทก์จะฟ้องคดีเกิน 1 ปี นับแต่วันเจ้ามรดกตาย ก็ไม่ขาดอายุความ
จำเลยได้ครอบครองทรัพย์มรดกแทนโจทก์แม้โจทก์จะฟ้องคดีเกิน 1 ปี นับแต่วันเจ้ามรดกตาย ก็ไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1292/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าระงับเมื่อทรัพย์สินถูกทำลาย และผลของการชดเชยค่าเสียหายด้วยการโอนสิทธิครอบครอง
เมื่อตึกแถวซึ่งเป็นวัตถุแห่งการเช่าซึ่งโจทก์เช่าจากจำเลยถูกเพลิงไหม้หมดสิ้นสัญญาเช่าก็ย่อมระงับไป
เมื่อการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดก็ไม่ได้ลูกหนี้ก็หามีสิทธิรับชำระหนี้ตอบแทนไม่
เมื่อจำเลยผู้ให้เช่าให้การต่อสู้คดีไว้อีกว่าหลังจากเกิดเพลิงไหม้ตึกแถวแล้วโจทก์ได้ให้จำเลยโอนสิทธิการครอบครองพื้นที่จัดสร้างอาคารในบริเวณตลาดชั่วคราวของจำเลยให้โจทก์เป็นผู้ใช้ประโยชน์เป็นการชดเชยตึกแถวที่เช่าช่วงที่ถูกเพลิงไหม้ จำเลยก็ยอมตามที่โจทก์เรียกร้อง โจทก์ได้ครอบครองที่ดินใช้ประโยชน์ปลูกสร้างตลาดชั่วคราว จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องเงินค่าเช่าคืนหรือค่าเสียหายใดๆจากจำเลยได้ เป็นประเด็นอีกประเด็นหนึ่ง จึงจำเป็นต้องฟังข้อเท็จจริงต่อไป
เมื่อไม่มีข้อเท็จจริงที่ศาลฎีกาจะรับฟังมาวินิจฉัยข้อกฎหมายได้ อาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243 ข้อ 3(ข) ประกอบมาตรา 247 ศาลฎีกาให้ยกคำพิพากษาของศาลล่าง ให้ศาลชั้นต้นดำเนินการสืบพยานต่อไปได้
เมื่อการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดก็ไม่ได้ลูกหนี้ก็หามีสิทธิรับชำระหนี้ตอบแทนไม่
เมื่อจำเลยผู้ให้เช่าให้การต่อสู้คดีไว้อีกว่าหลังจากเกิดเพลิงไหม้ตึกแถวแล้วโจทก์ได้ให้จำเลยโอนสิทธิการครอบครองพื้นที่จัดสร้างอาคารในบริเวณตลาดชั่วคราวของจำเลยให้โจทก์เป็นผู้ใช้ประโยชน์เป็นการชดเชยตึกแถวที่เช่าช่วงที่ถูกเพลิงไหม้ จำเลยก็ยอมตามที่โจทก์เรียกร้อง โจทก์ได้ครอบครองที่ดินใช้ประโยชน์ปลูกสร้างตลาดชั่วคราว จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องเงินค่าเช่าคืนหรือค่าเสียหายใดๆจากจำเลยได้ เป็นประเด็นอีกประเด็นหนึ่ง จึงจำเป็นต้องฟังข้อเท็จจริงต่อไป
เมื่อไม่มีข้อเท็จจริงที่ศาลฎีกาจะรับฟังมาวินิจฉัยข้อกฎหมายได้ อาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243 ข้อ 3(ข) ประกอบมาตรา 247 ศาลฎีกาให้ยกคำพิพากษาของศาลล่าง ให้ศาลชั้นต้นดำเนินการสืบพยานต่อไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1292/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าระงับเมื่อทรัพย์สินถูกทำลาย และการชดเชยด้วยสิทธิการครอบครองที่ดิน
เมื่อตึกแถวซึ่งเป็นวัตถุแห่งการเช่าซึ่งโจทก์เช่าจากจำเลยถูกเพลิงไหม้หมดสิ้น สัญญาเช่าก็ย่อมระงับไป
เมื่อการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดก็ไม่ได้ลูกหนี้ก็หามีสิทธิรับชำระหนี้ตอบแทนไม่
เมื่อจำเลยผู้ให้เช่าให้การต่อสู้คดีไว้อีกว่าหลังจากเกิดเพลิงไหม้ตึกแถวแล้ว โจทก์ได้ให้จำเลยโอนสิทธิการครอบครองพื้นที่จัดสร้างอาคารในบริเวณตลาดชั่วคราวของจำเลย ให้โจทก์เป็นผู้ใช้ประโยชน์เป็นการชดเชยตึกแถวที่เช่าช่วงที่ถูกเพลิงไหม้ จำเลยก็ยอมตามที่โจทก์เรียกร้อง โจทก์ได้ครอบครองที่ดินใช้ประโยชน์ปลูกสร้างตลาดชั่วคราวจึงไม่มีสิทธิเรียกร้องเงินค่าเช่าคืนหรือค่าเสียหายใดๆ จากจำเลยได้ เป็นประเด็นอีกประเด็นหนึ่ง จึงจำเป็นต้องฟังข้อเท็จจริงต่อไป
เมื่อไม่มีข้อเท็จจริงที่ศาลฎีกาจะรับฟังมาวินิจฉัยข้อกฎหมายได้ อาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243 ข้อ 3(ข) ประกอบมาตรา 247 ศาลฎีกาให้ยกคำพิพากษาของศาลล่าง ให้ศาลชั้นต้นดำเนินการสืบพยานต่อไปได้
เมื่อการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันจะโทษฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดก็ไม่ได้ลูกหนี้ก็หามีสิทธิรับชำระหนี้ตอบแทนไม่
เมื่อจำเลยผู้ให้เช่าให้การต่อสู้คดีไว้อีกว่าหลังจากเกิดเพลิงไหม้ตึกแถวแล้ว โจทก์ได้ให้จำเลยโอนสิทธิการครอบครองพื้นที่จัดสร้างอาคารในบริเวณตลาดชั่วคราวของจำเลย ให้โจทก์เป็นผู้ใช้ประโยชน์เป็นการชดเชยตึกแถวที่เช่าช่วงที่ถูกเพลิงไหม้ จำเลยก็ยอมตามที่โจทก์เรียกร้อง โจทก์ได้ครอบครองที่ดินใช้ประโยชน์ปลูกสร้างตลาดชั่วคราวจึงไม่มีสิทธิเรียกร้องเงินค่าเช่าคืนหรือค่าเสียหายใดๆ จากจำเลยได้ เป็นประเด็นอีกประเด็นหนึ่ง จึงจำเป็นต้องฟังข้อเท็จจริงต่อไป
เมื่อไม่มีข้อเท็จจริงที่ศาลฎีกาจะรับฟังมาวินิจฉัยข้อกฎหมายได้ อาศัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243 ข้อ 3(ข) ประกอบมาตรา 247 ศาลฎีกาให้ยกคำพิพากษาของศาลล่าง ให้ศาลชั้นต้นดำเนินการสืบพยานต่อไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1260/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทบดอกเบี้ยเป็นเงินต้นและการคิดดอกเบี้ยเกินอัตราตามกฎหมาย
ดอกเบี้ยที่จะเอามาทบเป็นเงินต้นได้ ต้องเป็นดอกเบี้ยที่ค้างชำระมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี การที่เอาดอกเบี้ยมาทบต้นตั้งแต่แรกกู้เงินโดยยังไม่ค้างชำระเป็นการต้องห้ามตามกฎหมายมาตรา 655 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
จำเลยยอมชำระดอกเบี้ยล่วงหน้าแก่โจทก์ถ้าเป็นดอกเบี้ยที่ไม่เกินอัตราตามกฎหมาย โจทก์ก็ย่อมเรียกร้องเอาได้ เพราะข้อตกลงนี้ไม่ขัดต่อกฎหมาย ถ้าเกินอัตราตามกฎหมาย ข้อตกลงเรียกดอกเบี้ยตกเป็นโมฆะทั้งสิ้น
จำเลยยอมชำระดอกเบี้ยล่วงหน้าแก่โจทก์ถ้าเป็นดอกเบี้ยที่ไม่เกินอัตราตามกฎหมาย โจทก์ก็ย่อมเรียกร้องเอาได้ เพราะข้อตกลงนี้ไม่ขัดต่อกฎหมาย ถ้าเกินอัตราตามกฎหมาย ข้อตกลงเรียกดอกเบี้ยตกเป็นโมฆะทั้งสิ้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1260/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยทบต้นต้องเป็นดอกเบี้ยค้างชำระเกิน 1 ปี การคิดดอกเบี้ยเกินอัตราตามกฎหมายเป็นโมฆะ
ดอกเบี้ยที่จะเอามาทบเป็นเงินต้นได้ ต้องเป็นดอกเบี้ยที่ค้างชำระมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี การที่เอาดอกเบี้ยมาทบต้นตั้งแต่แรกกู้เงินโดยยังไม่ค้างชำระเป็นการต้องห้ามตามกฎหมาย มาตรา 655 แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
จำเลยยอมชำระดอกเบี้ยล่วงหน้าแก่โจทก์ ถ้าเป็นดอกเบี้ยที่ไม่เกินอัตราตามกฎหมาย โจทก์ก็ย่อมเรียกร้องเอาได้ เพราะข้อตกลงนี้ไม่ขัดต่อกฎหมาย ถ้าเกินอัตราตามกฎหมาย ข้อตกลงเรียกดอกเบี้ยตกเป็นโมฆะทั้งสิ้น
จำเลยยอมชำระดอกเบี้ยล่วงหน้าแก่โจทก์ ถ้าเป็นดอกเบี้ยที่ไม่เกินอัตราตามกฎหมาย โจทก์ก็ย่อมเรียกร้องเอาได้ เพราะข้อตกลงนี้ไม่ขัดต่อกฎหมาย ถ้าเกินอัตราตามกฎหมาย ข้อตกลงเรียกดอกเบี้ยตกเป็นโมฆะทั้งสิ้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1183/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีนายหน้า: ค่าบำเหน็จต่างจากค่าจ้าง/ค่าทำของตามมาตรา 165, อายุความ 10 ปี
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1) และ (7) เป็นบทบัญญัติให้บุคคลเรียกเอาค่า เช่น ค่าที่ได้ส่งมอบของ ค่าทำของ ฯลฯ หรือไม่ก็เรียกเอาสินจ้าง แต่ไม่ได้บัญญัติให้บุคคลเหล่านั้นเรียกเอาค่าบำเหน็จ บำเหน็จบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 ซึ่งเป็นเรื่องของนายหน้า ดังนั้น นายหน้ากับบุคคลที่กล่าวไว้ในมาตรา 165 (1) และ (7) จึงไม่เหมือนกัน การใช้สิทธิเรียกร้องจึงไม่เหมือนกันไปด้วย โจทก์เรียกร้องเอาค่าบำเหน็จและไม่มีกฎหมายบัญญัติอายุความไว้เป็นอย่างอื่น จึงมีอายุความ 10 ปี
(ที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 24/2509 ได้เห็นชอบตามร่างคำพิพากษาฉบับนี้)
(ที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 24/2509 ได้เห็นชอบตามร่างคำพิพากษาฉบับนี้)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1183/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่านายหน้า: แยกความแตกต่างระหว่างนายหน้ากับผู้รับจ้างตามมาตรา 165 และการใช้สิทธิเรียกร้องค่าบำเหน็จ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1) และ (7) เป็นบทบัญญัติให้บุคคลเรียกเอาค่า เช่น ค่าที่ได้ส่งมอบของค่าทำของ ฯลฯหรือไม่ก็เรียกเอาสินจ้าง แต่ไม่ได้บัญญัติให้บุคคลเหล่านั้นเรียกเอาค่าบำเหน็จ บำเหน็จบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 ซึ่งเป็นเรื่องของนายหน้า ดังนั้น นายหน้ากับบุคคลที่กล่าวไว้ในมาตรา 165(1) และ (7) จึงไม่เหมือนกัน การใช้สิทธิเรียกร้องจึงไม่เหมือนกันไปด้วย โจทก์เรียกร้องเอาค่าบำเหน็จและไม่มีกฎหมายบัญญัติอายุความไว้เป็นอย่างอื่น จึงมีอายุความ 10 ปี(ที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 24/2509 ได้เห็นชอบตามร่างคำพิพากษาฉบับนี้)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1169-1170/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางละเมิดจากการชนรถยนต์ หลักการสันนิษฐานผู้ผิด และขอบเขตความรับผิดของนายจ้าง
การที่รถยนต์จำเลยแล่นเข้าไปชนรถยนต์โจทก์ทางด้านขวาของถนน เบื้องต้นศาลสันนิษฐานตามกฎหมายว่ารถยนต์จำเลยเป็นผู้ผิด จำเลยมีหน้าที่ต้องนำสืบหักล้างว่าจำเลยมิใช่เป็นผู้ผิด เมื่อนายจ้างจะต้องรับผิดร่วมกับจำเลย นายจ้างจึงต้องมีหน้าที่นำสืบหักล้าง ถ้านำสืบหักล้างไม่ได้ ก็ไม่จำต้องอาศัยคำพยานโจทก์มาวินิจฉัยว่าจำเลยเป็นฝ่ายผิดอีก การที่จำเลยแล่นรถทางขวาของถนนเพื่อจะหลีกขึ้นหน้าโดยคาดหรือเดาเอาว่ารถโจทก์จะเลี้ยวทางซ้ายนั้น เป็นการเสี่ยงภัยของตนเองมิใช่หลบหลีกให้พ้นอันตราย จึงไม่อาจลบล้างข้อสันนิษฐานที่ว่ารถจำเลยเป็นผู้ผิดได้ การที่จำเลยเสี่ยงภัยเช่นนี้ และเหตุที่รถชนกันก็เพราะรถจำเลยแล่นผิดทาง จำเลยจึงเป็นฝ่ายผิด
จำเลยที่ 1 เป็นหัวหน้าหมวดขนส่ง มีหน้าที่ควบคุมการจ่ายรถ ซ่อมรถของโรงงานซึ่งจำเลยที่ 2 เป็นนายจ้าง การที่จำเลยที่ 1 เอารถไปลองเครื่องจึงเป็นการกระทำในกิจการงานของโรงงาน เป็นทางการที่จ้าง
การทำงานในวันหยุดหรือทำงานนอกเวลาทำงานตามปกติ หากงานที่ทำเป็นกิจการของนายจ้าง ก็คงเป็นการงานในทางการที่จ้างนั่นเอง หาได้กลายเป็นงานส่วนตัวของผู้ทำไม่
การที่นายจ้างจ้างลูกจ้างทำงานให้ตน หากลูกจ้างฝ่าฝืนคำสั่งหรือระเบียบ แต่ยังปฏิบัติงานของนายจ้างอยู่ นายจ้างจะอ้างคำสั่งหรือระเบียบภายในมาต่อสู้บุคคลภายนอกหาได้ไม่ นายจ้างจึงต้องร่วมรับผิด
การก่อเจดีย์บรรจุอัฐิผู้ตายไม่ใช่ค่าใช้จ่ายอันจำเป็นที่จะให้ผู้รับผิดชอบชดใช้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 443
ตามกฎหมาย บิดาต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรจนกว่าจะบรรลุนิติภาวะ เมื่อบุตรมีสิทธิเรียกค่าขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย ก็ชอบที่จะเรียกได้จนกว่าจะบรรลุนิติภาวะหากเป็นที่เห็นได้ว่าบิดาจะมีชีวิตอยู่อุปการะได้ถึงเวลานั้น
ค่าสินไหมทดแทนเป็นหนี้ที่ต้องชดใช้เป็นเงินจึงเป็นหนี้เงินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224
หนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด ถือว่าลูกหนี้ผิดนัดมาแต่เวลาที่ทำละเมิด ลูกหนี้จึงต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนรวมทั้งดอกเบี้ยด้วย เว้นแต่ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นภายหลัง เช่น ค่าปลงศพ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ลูกหนี้จะต้องเสียดอกเบี้ยนับแต่วันที่ต้องรับผิดชดใช้เป็นต้นไป ส่วนค่าสินไหมในการที่โจทก์ต้องขาดไร้อุปการะนั้น เมื่อศาลกำหนดให้จำเลยใช้เป็นเงินจำนวนหนึ่ง จำเป็นหนี้เงินที่จำเลยต้องชำระตามคำพิพากษา และต้องเสียดอกเบี้ยตั้งแต่วันศาลพิพากษาเป็นต้นไป ถ้าจำนวนเงินตรงกันตั้งแต่ศาลชั้นใด ก็คิดดอกเบี้ยตั้งแต่วันศาลล่างพิพากษา
จำเลยที่ 1 เป็นหัวหน้าหมวดขนส่ง มีหน้าที่ควบคุมการจ่ายรถ ซ่อมรถของโรงงานซึ่งจำเลยที่ 2 เป็นนายจ้าง การที่จำเลยที่ 1 เอารถไปลองเครื่องจึงเป็นการกระทำในกิจการงานของโรงงาน เป็นทางการที่จ้าง
การทำงานในวันหยุดหรือทำงานนอกเวลาทำงานตามปกติ หากงานที่ทำเป็นกิจการของนายจ้าง ก็คงเป็นการงานในทางการที่จ้างนั่นเอง หาได้กลายเป็นงานส่วนตัวของผู้ทำไม่
การที่นายจ้างจ้างลูกจ้างทำงานให้ตน หากลูกจ้างฝ่าฝืนคำสั่งหรือระเบียบ แต่ยังปฏิบัติงานของนายจ้างอยู่ นายจ้างจะอ้างคำสั่งหรือระเบียบภายในมาต่อสู้บุคคลภายนอกหาได้ไม่ นายจ้างจึงต้องร่วมรับผิด
การก่อเจดีย์บรรจุอัฐิผู้ตายไม่ใช่ค่าใช้จ่ายอันจำเป็นที่จะให้ผู้รับผิดชอบชดใช้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 443
ตามกฎหมาย บิดาต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรจนกว่าจะบรรลุนิติภาวะ เมื่อบุตรมีสิทธิเรียกค่าขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย ก็ชอบที่จะเรียกได้จนกว่าจะบรรลุนิติภาวะหากเป็นที่เห็นได้ว่าบิดาจะมีชีวิตอยู่อุปการะได้ถึงเวลานั้น
ค่าสินไหมทดแทนเป็นหนี้ที่ต้องชดใช้เป็นเงินจึงเป็นหนี้เงินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224
หนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด ถือว่าลูกหนี้ผิดนัดมาแต่เวลาที่ทำละเมิด ลูกหนี้จึงต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนรวมทั้งดอกเบี้ยด้วย เว้นแต่ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นภายหลัง เช่น ค่าปลงศพ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ลูกหนี้จะต้องเสียดอกเบี้ยนับแต่วันที่ต้องรับผิดชดใช้เป็นต้นไป ส่วนค่าสินไหมในการที่โจทก์ต้องขาดไร้อุปการะนั้น เมื่อศาลกำหนดให้จำเลยใช้เป็นเงินจำนวนหนึ่ง จำเป็นหนี้เงินที่จำเลยต้องชำระตามคำพิพากษา และต้องเสียดอกเบี้ยตั้งแต่วันศาลพิพากษาเป็นต้นไป ถ้าจำนวนเงินตรงกันตั้งแต่ศาลชั้นใด ก็คิดดอกเบี้ยตั้งแต่วันศาลล่างพิพากษา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1130/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลสูงในการกำหนดโทษกระทงเบาหลังยกฟ้องกระทงหนัก และการยุติของความผิดที่ยังคงมีอยู่
กรณีที่ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยกระทำผิดฐานรับของโจรตามมาตรา 357 และพกพาอาวุธไปในที่ชุมชนตามมาตรา 371แต่ให้ลงโทษกระทงหนักตามมาตรา 357 และจำเลยฝ่ายเดียวอุทธรณ์เฉพาะข้อหาฐานรับของโจร นั้น ความผิดของจำเลยฐานพกพาอาวุธไปในที่ชุมนุมชนตามมาตรา 371 ที่ยุติแล้ว ก็ยังคงมีอยู่ตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น เมื่อศาลสูง(ศาลอุทธรณ์) พิพากษายกฟ้องฐานรับของโจรอันเป็นกระทงหนัก ศาลสูง (ศาลอุทธรณ์) ก็มีอำนาจกำหนดโทษในความผิดกระทงเบาฐานพกพาอาวุธไปในที่ชุมชนที่ยังมีอยู่นั้นได้ ไม่เป็นการนอกเหนือกฎหมาย ตามนัยฎีกาที่ 1196/2502 และเมื่อศาลอุทธรณ์ไม่กำหนดโทษ ศาลฎีกาก็กำหนดโทษไปโดยไม่ต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์กำหนดได้