พบผลลัพธ์ทั้งหมด 566 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1197/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การผูกพันตามการเข้าชื่อซื้อหุ้นก่อนบริษัทจัดตั้ง และผลของการถอนหุ้นภายหลังจดทะเบียน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1106 การที่ผู้ร้องเข้าชื่อซื้อหุ้นบริษัทผู้ล้มละลาย ย่อมต้องถูกผูกพันอยู่ในอันที่จะต้องชำระเงินค่าหุ้นให้แก่บริษัทโดยมีเงื่อนไขว่าถ้าบริษัทได้ตั้งขึ้น ฉะนั้น ระหว่างที่เงื่อนไขอันนี้ซึ่งเป็นเงื่อนไขบังคับก่อนยังไม่สำเร็จผู้ร้องซึ่งได้เข้าชื่อซื้อหุ้นไว้แล้วจะต้องถูกผูกพันอยู่ตลอดไปผู้ร้องจะถอนการเข้าชื่อซื้อหุ้นหาได้ไม่ และการที่ผู้ร้องถอนหุ้นภายหลังที่บริษัทจำเลยจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิแล้ว แม้ก่อนประกาศการจดทะเบียนในหนังสือราชกิจจานุเบกษา ก็ไม่มีผลเปลี่ยนแปลงไปอย่างใด ฉะนั้น เมื่อบริษัทจำเลยตั้งขึ้นแล้ว ผู้ร้องย่อมมีความผูกพันที่จะใช้เงินค่าหุ้นที่ได้เข้าชื่อซื้อไว้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงมีสิทธิเรียกให้ผู้ร้องชำระเงินค่าหุ้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1197/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การผูกพันตามการเข้าชื่อซื้อหุ้นก่อนการจดทะเบียนบริษัทและการเรียกเก็บเงินค่าหุ้น
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1106 การที่ผู้ร้องเข้าชื่อซื้อหุ้นบริษัทผู้ล้มละลาย ย่อมต้องถูกผูกพันอยู่ในอันที่จะต้องชำระเงินค่าหุ้นให้แก่บริษัทโดยมีเงื่อนไขว่าถ้าบริษัทได้ตั้งขึ้น. ฉะนั้น ระหว่างที่เงื่อนไขอันนี้ซึ่งเป็นเงื่อนไขบังคับก่อนยังไม่สำเร็จผู้ร้องซึ่งได้เข้าชื่อซื้อหุ้นไว้แล้วจะต้องถูกผูกพันอยู่ตลอดไป.ผู้ร้องจะถอนการเข้าชื่อซื้อหุ้นหาได้ไม่. และการที่ผู้ร้องถอนหุ้นภายหลังที่บริษัทจำเลยจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิแล้ว.แม้ก่อนประกาศการจดทะเบียนในหนังสือราชกิจจานุเบกษา. ก็ไม่มีผลเปลี่ยนแปลงไปอย่างใด.ฉะนั้น เมื่อบริษัทจำเลยตั้งขึ้นแล้ว ผู้ร้องย่อมมีความผูกพันที่จะใช้เงินค่าหุ้นที่ได้เข้าชื่อซื้อไว้.เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงมีสิทธิเรียกให้ผู้ร้องชำระเงินค่าหุ้นได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1181/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสั่งรับมรดกโดยเจ้าพนักงานที่ดิน เมื่อมีผู้คัดค้านสิทธิและศาลเคยวินิจฉัยแล้ว ไม่ถือเป็นการละเมิด
โจทก์ร้องขอรับมรดกที่ดิน โฉนดที่ 5130 ของ พ. ว.ยื่นคำร้องคัดค้านว่าที่ดินดังกล่าวเป็นของ ช.ซึ่งถึงแก่กรรมไปแล้ว. ศาลฎีกาวินิจฉัยรับรองไว้ในคำพิพากษาฎีกาที่ 1927/2506 ว่า ว.มีสิทธิในส่วนของ ช.ในโฉนดที่กล่าวด้วย จำเลยที่ 1 ในนามจังหวัด ได้มีหนังสือหารือการปฏิบัติในการสั่งคำร้องของโจทก์มายังจำเลยที่ 2(กรมที่ดิน) จำเลยที่ 2 เห็นว่าคำพิพากษาฎีกาได้วินิจฉัยว่า ว.มีส่วนได้เสียในที่ดินอยู่ด้วย จำเลยที่ 1 จึงสั่งให้โจทก์และ ว.ลงชื่อร่วมกันในโฉนดในฐานะผู้รับมรดก และสั่งด้วยว่าฝ่ายใดไม่เห็นพ้องด้วยก็ให้ฟ้องศาลภายใน 60 วัน มิฉะนั้นจะดำเนินการไปตามคำสั่งต่อไปดังนี้ เห็นได้ว่า การที่จำเลยที่ 1 ดำเนินการในการออกคำสั่งคำร้องของโจทก์ ได้ปฏิบัติการไปตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 81 โดยชอบ เช่น การประกาศการขอรับมรดกของโจทก์เป็นต้น ครั้น ว.คัดค้าน ก็ได้ขอความเห็นจากจำเลยที่ 2 อันเป็นสำนักงานต้นสังกัดในการรับผิดชอบ แสดงว่าจำเลยทั้งสองปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง เพื่อให้การงานเป็นไปโดยถูกต้อง การที่จำเลยที่ 1 สั่งให้ว.รับมรดกร่วมกับโจทก์ ก็เห็นว่าเนื่องจากหลักฐานเบื้องต้นแสดงว่า ว.มีส่วนได้ส่วนเสียในที่ดินโฉนดนี้อยู่ด้วย และทั้งสองฝ่ายไม่ยอมตกลงตามข้อเปรียบเทียบของจำเลยที่ 1 จำเลยก็ย่อมสั่งการไปได้ตามที่เห็นสมควร ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 81 วรรค 2 มิได้ก่อการเสียหายอันเป็นละเมิดต่อโจทก์ เพราะถ้าโจทก์หรือ ว.ไม่เห็นพ้องกับคำสั่งของจำเลยที่1ก็ย่อมนำคดีเสนอต่อศาลได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 81 วรรค 3
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1181/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสั่งรับมรดกของเจ้าพนักงานที่ดินเมื่อมีข้อพิพาทเรื่องสิทธิในที่ดิน การปฏิบัติหน้าที่โดยชอบและไม่มีเจตนาละเมิด
โจทก์ร้องขอรับมรดกที่ดิน โฉนดที่ 5130 ของ พ..ว.ยื่นคำร้องคัดค้านว่าที่ดินดังกล่าวเป็นของ ช.ซึ่งถึงแก่กรรมไปแล้ว. ศาลฎีกาวินิจฉัยรับรองไว้ในคำพิพากษาฎีกาที่ 1927/2506 ว่า ว.มีสิทธิในส่วนของช.ในโฉนดที่กล่าวด้วย. จำเลยที่ 1 ในนามจังหวัด ได้มีหนังสือหารือการปฏิบัติในการสั่งคำร้องของโจทก์มายังจำเลยที่ 2(กรมที่ดิน). จำเลยที่ 2 เห็นว่าคำพิพากษาฎีกาได้วินิจฉัยว่า ว.มีส่วนได้เสียในที่ดินอยู่ด้วย. จำเลยที่ 1 จึงสั่งให้โจทก์และ ว.ลงชื่อร่วมกันในโฉนดในฐานะผู้รับมรดก. และสั่งด้วยว่าฝ่ายใดไม่เห็นพ้องด้วยก็ให้ฟ้องศาลภายใน 60 วัน. มิฉะนั้นจะดำเนินการไปตามคำสั่งต่อไป.ดังนี้ เห็นได้ว่า การที่จำเลยที่ 1 ดำเนินการในการออกคำสั่งคำร้องของโจทก์ ได้ปฏิบัติการไปตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 81 โดยชอบ. เช่น การประกาศการขอรับมรดกของโจทก์เป็นต้น. ครั้น ว.คัดค้าน ก็ได้ขอความเห็นจากจำเลยที่ 2 อันเป็นสำนักงานต้นสังกัดในการรับผิดชอบ. แสดงว่าจำเลยทั้งสองปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง เพื่อให้การงานเป็นไปโดยถูกต้อง. การที่จำเลยที่ 1 สั่งให้ว.รับมรดกร่วมกับโจทก์ ก็เห็นว่าเนื่องจากหลักฐานเบื้องต้นแสดงว่า ว.มีส่วนได้ส่วนเสียในที่ดินโฉนดนี้อยู่ด้วย และทั้งสองฝ่ายไม่ยอมตกลงตามข้อเปรียบเทียบของจำเลยที่ 1. จำเลยก็ย่อมสั่งการไปได้ตามที่เห็นสมควร. ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 81 วรรคสอง มิได้ก่อการเสียหายอันเป็นละเมิดต่อโจทก์. เพราะถ้าโจทก์หรือ ว.ไม่เห็นพ้องกับคำสั่งของจำเลยที่1ก็ย่อมนำคดีเสนอต่อศาลได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 81 วรรคสาม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1181/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสั่งรับมรดกกรณีมีผู้คัดค้านสิทธิ ศาลฎีกาเห็นว่าจำเลยปฏิบัติหน้าที่ถูกต้องตามกฎหมายและพยานหลักฐาน
โจทก์ร้องขอรับมรดกที่ดิน โฉนดที่ 5130 ของ พ. ว. ยื่นคำร้องคัดค้านว่าที่ดินดังกล่าวเป็นของ ช.ซึ่งถึงแก่กรรมไปแล้ว ศาลฎีกาวินิจฉัยรับรองไว้ในคำพิพากษาฎีกาที่ 1927/2506 ว่า ว.มีสิทธิในส่วนของช.ในโฉนดที่กล่าวด้วย จำเลยที่ 1 ในนามจังหวัด ได้มีหนังสือหารือการปฏิบัติในการสั่งคำร้องของโจทก์มายังจำเลยที่ 2(กรมที่ดิน) จำเลยที่ 2 เห็นว่าคำพิพากษาฎีกาได้วินิจฉัยว่า ว.มีส่วนได้เสียในที่ดินอยู่ด้วย จำเลยที่ 1 จึงสั่งให้โจทก์และ ว.ลงชื่อร่วมกันในโฉนดในฐานะผู้รับมรดกและสั่งด้วยว่าฝ่ายใดไม่เห็นพ้องด้วยก็ให้ฟ้องศาลภายใน 60 วัน มิฉะนั้นจะดำเนินการไปตามคำสั่งต่อไปดังนี้ เห็นได้ว่า การที่จำเลยที่ 1 ดำเนินการในการออกคำสั่งคำร้องของโจทก์ ได้ปฏิบัติการไปตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 81 โดยชอบ เช่น การประกาศการขอรับมรดกของโจทก์เป็นต้น ครั้น ว.คัดค้าน ก็ได้ขอความเห็นจากจำเลยที่ 2 อันเป็นสำนักงานต้นสังกัดในการรับผิดชอบ แสดงว่าจำเลยทั้งสองปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง เพื่อให้การงานเป็นไปโดยถูกต้อง การที่จำเลยที่ 1 สั่งให้ว.รับมรดกร่วมกับโจทก์ ก็เห็นว่าเนื่องจากหลักฐานเบื้องต้นแสดงว่า ว.มีส่วนได้ส่วนเสียในที่ดินโฉนดนี้อยู่ด้วย และทั้งสองฝ่ายไม่ยอมตกลงตามข้อเปรียบเทียบของจำเลยที่ 1 จำเลยก็ย่อมสั่งการไปได้ตามที่เห็นสมควร ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 81 วรรคสองมิได้ก่อการเสียหายอันเป็นละเมิดต่อโจทก์ เพราะถ้าโจทก์หรือ ว.ไม่เห็นพ้องกับคำสั่งของจำเลยที่1ก็ย่อมนำคดีเสนอต่อศาลได้ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 81 วรรคสาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1122-1123/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องแย้งเรียกค่าใช้จ่ายผู้จัดการมรดกสัมพันธ์กับฟ้องเดิม สัญญาแบ่งมรดกเป็นเหตุ
ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความที่จำเลยเสียไปในการดำเนินคดีร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ซึ่งโจทก์จำเลยเป็นผู้ร้องขอร่วมกันและโจทก์ตกลงจะชดใช้ให้จำเลยครั้งหนึ่ง. โดยระบุไว้ในสัญญาแบ่งมรดก. แต่ภายหลังกลับถอนคำร้องเสีย เนื่องจากตกลงกันในการจัดการมรดกไม่ได้นั้น. เมื่อโจทก์มาฟ้องคดีขอรับมรดกแต่ผู้เดียว และขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาแบ่งมรดกเป็นโมฆะ. จำเลยย่อมฟ้องแย้งเรียกค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความตามที่ตกลงไว้ในสัญญาแบ่งมรดกจากโจทก์ได้. เพราะเป็นฟ้องแย้งที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1122-1123/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องแย้งเรียกค่าใช้จ่ายในการจัดการมรดกที่ตกลงกันไว้ในสัญญา เป็นการเรียกร้องสิทธิเกี่ยวกับฟ้องเดิม
ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความที่จำเลยเสียไปในการดำเนินคดีร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ซึ่งโจทก์จำเลยเป็นผู้ร้องขอร่วมกันและโจทก์ตกลงจะชดใช้ให้จำเลยครั้งหนึ่ง โดยระบุไว้ในสัญญาแบ่งมรดก แต่ภายหลังกลับถอนคำร้องเสีย เนื่องจากตกลงกันในการจัดการมรดกไม่ได้นั้น เมื่อโจทก์มาฟ้องคดีขอรับมรดกแต่ผู้เดียว และขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาแบ่งมรดกเป็นโมฆะ จำเลยย่อมฟ้องแย้งเรียกค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความตามที่ตกลงไว้ในสัญญาแบ่งมรดกจากโจทก์ได้ เพราะเป็นฟ้องแย้งที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1122-1123/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องแย้งเรียกค่าใช้จ่ายจากการดำเนินคดีจัดการมรดกที่เกี่ยวข้องกับสัญญาแบ่งมรดกที่ถูกฟ้องให้เป็นโมฆะ ชอบด้วยกฎหมาย
ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความที่จำเลยเสียไปในการดำเนินคดีร้างขอเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ซึ่งโจทก์จำเลยเป็นผู้ร้องขอร่วมกันและโจทก์ตกลงจะชดใช้ให้จำเลยครึ่งหนึ่ง โดยระบุไว้ในสัญญาแบ่งมรดก แต่ภายหลังกลับถอนคำร้องเสีย เนื่องจากตกลงกันในการจัดการมรดกไม่ได้นั้น เมื่อโจทก์มาฟ้องคดีขอรับมรดกแต่ผู้เดียว และขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาแบ่งมรดกเป็นโมฆะ จำเลยย่อมฟ้องแย้งเรียกค่าฤชาธรรมเนียมและค่าหมายความตามที่ตกลงไว้ในสัญญาแบ่งมรดกจากโจทก์ได้ เพราะเป็นฟ้องแย้งที่เกี่ยวกับคำฟ้องเดิม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1078/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำร้ายร่างกายภรรยา: รอยช้ำเล็กน้อยไม่ถึงขั้นเป็นอันตรายร้ายแรง
กรณีที่จำเลยใช้กำลังทำร้ายภรรยาของตน แม้จะ 6 แห่ง ก็เป็นเพียงรอยช้ำ อันไม่ปรากฏขนาดว่าใหญ่โตแค่ไหน และอาจรักษาหายได้ภายใน 5 วันเท่านั้น จึงไม่ส่งผลให้เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจของภรรยาของจำเลยได้ ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 295 แต่ผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 391
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1078/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำร้ายร่างกายภรรยาด้วยกำลังจนเกิดรอยช้ำ ไม่ถึงขั้นเป็นอันตรายร้ายแรง จึงผิดฐานทำร้ายร่างกายธรรมดา
กรณีที่จำเลยใช้กำลังทำร้ายภรรยาของตน. แม้จะมีแผล 6 แห่ง ก็เป็นเพียงรอยช้ำ. อันไม่ปรากฏขนาดว่าใหญ่โตแค่ไหน. และอาจรักษาหายได้ภายใน 5 วันเท่านั้น. จึงไม่ส่งผลให้เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจของภรรยาของจำเลยได้. ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 295. แต่ผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 391.