คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
วิเชียร เศวตรุนทร์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 566 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 415/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความครอบครอง – การครอบครองปรปักษ์ – สิทธิเรียกคืนที่ดิน – ผู้เยาว์
นาพิพาทเป็นที่ดินไม่มีหนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน เดิมเป็นของโจทก์. ต่อมาจำเลยชนะคดีบิดาโจทก์ได้นำยึดที่พิพาท. ในการบังคับคดีและจำเลยซื้อที่พิพาทได้จากการขายทอดตลาด. แล้วจำเลยเข้าครอบครองทำประโยชน์ ก่อนโจทก์ฟ้องประมาณ 3 ปี. ดังนี้โจทก์ฟ้องเอาคืนการครอบครองที่พิพาทไม่ได้. เพราะเกินกำหนด 1 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1375. แม้โจทก์จะเป็นผู้เยาว์และได้ฟ้องคดีนี้ภายใน 1 ปีนับแต่โจทก์บรรลุนิติภาวะก็ตาม. แต่เมื่อโจทก์มีผู้แทนโดยชอบธรรมอยู่ตลอดเวลา. จึงยกประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 183 เป็นประโยชน์แก่โจทก์ไม่ได้.
จำเลยให้การต่อสู้ว่า จำเลยซื้อนาที่พิพาทแล้วเข้าครอบครองทำนามา 3 ปี. โจทก์ไม่เคยเกี่ยวข้องเพราะละทิ้งสละสิทธิครอบครองเกิน 1 ปี. คดีโจทก์ขาดอายุความข้อต่อสู้เช่นนี้เป็นข้อต่อสู้เรื่องกำหนดเวลาฟ้องเรียกคืนการครอบครองโดยตรง.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 381/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาประนีประนอมยอมความ: สิทธิไถ่ที่ดินเป็นประกันชำระหนี้ ไม่ทำให้โอนกรรมสิทธิ์
ที่โจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันมีใจความว่าจำเลยยอมใช้เงิน 70,000 บาท แก่โจทก์เพื่อเป็นประกันการชำระเงิน จำเลยยอมให้โจทก์เข้าสวมสิทธิไถ่การขายฝากที่ดิน เมื่อจำเลยไม่ใช้สิทธิไถ่ภายในกำหนดนั้น มิได้มีความหมายว่าเป็นการโอนสิทธิการไถ่การขายฝากให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 497(2) ซึ่งเป็นเหตุให้โจทก์ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดิน แต่มีความหมายแต่เพียงว่าโจทก์มีสิทธิไถ่ที่ดินที่ขายฝากคืนมาในนามของจำเลย จำเลยคงมีสิทธิอยู่ตามเดิม ส่วนโจทก์มีเพียงสิทธิที่จะดำเนินการบังคับคดีต่อไปได้ เพื่อให้ได้มาซึ่งเงิน 70,000 บาทตามสัญญาเท่านั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 381/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิไถ่การขายฝากตามสัญญาประนีประนอม: ไม่โอนกรรมสิทธิ์ แต่ให้สิทธิไถ่แทนจำเลย เพื่อชำระหนี้
ที่โจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันมีใจความว่าจำเลยยอมใช้เงิน 70,000 บาท. แก่โจทก์เพื่อเป็นประกันการชำระเงิน. จำเลยยอมให้โจทก์เข้าสวมสิทธิไถ่การขายฝากที่ดิน. เมื่อจำเลยไม่ใช้สิทธิไถ่ภายในกำหนดนั้น มิได้มีความหมายว่าเป็นการโอนสิทธิการไถ่การขายฝากให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 497(2) ซึ่งเป็นเหตุให้โจทก์ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดิน แต่มีความหมายแต่เพียงว่าโจทก์มีสิทธิไถ่ที่ดินที่ขายฝากคืนมาในนามของจำเลย. จำเลยคงมีสิทธิอยู่ตามเดิม. ส่วนโจทก์มีเพียงสิทธิที่จะดำเนินการบังคับคดีต่อไปได้. เพื่อให้ได้มาซึ่งเงิน 70,000 บาทตามสัญญาเท่านั้น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 381/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิไถ่การขายฝากในสัญญาประนีประนอม: ไม่ทำให้กรรมสิทธิ์ในที่ดินตกเป็นของโจทก์
ที่โจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันมีใจความว่าจำเลยยอมใช้เงิน 70,000 บาท แก่โจทก์เพื่อเป็นประกันการชำระเงินจำเลยยอมให้โจทก์เข้าสวมสิทธิไถ่การขายฝากที่ดิน เมื่อจำเลยไม่ใช้สิทธิไถ่ภายในกำหนดนั้น มิได้มีความหมายว่าเป็นการโอนสิทธิการไถ่การขายฝากให้โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 497(2) ซึ่งเป็นเหตุให้โจทก์ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดิน แต่มีความหมายแต่เพียงว่าโจทก์มีสิทธิไถ่ที่ดินที่ขายฝากคืนมาในนามของจำเลย จำเลยคงมีสิทธิอยู่ตามเดิม ส่วนโจทก์มีเพียงสิทธิที่จะดำเนินการบังคับคดีต่อไปได้เพื่อให้ได้มาซึ่งเงิน 70,000 บาทตามสัญญาเท่านั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 331/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การรับผิดในหนี้สินของผู้ชำระบัญชีและการตีความข้อความในฟ้องอุทธรณ์
โจทก์อุทธรณ์ว่า 'ในประเด็นข้อที่ว่าจำเลยที่ 2จะต้องรับผิดชอบในหนี้สินที่โจทก์ฟ้องเป็นส่วนตัวโจทก์หรือไม่ ..... เมื่อข้อเท็จจริงตามหลักฐานพยานและข้อกฎหมายดังโจทก์ได้กราบเรียนมาแล้วฟังได้ว่า. จำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดในการชำระหนี้ตามที่จำเลยที่ 2ในฐานะผู้ชำระบัญชีรับสภาพหนี้ต่อโรงงานกระดาษไทยในจำนวนหนี้ของโรงพิมพ์อำพลพิทยาต่อโจทก์แล้ว. จำเลยที่ 2 ในฐานะส่วนตัวก็ไม่ต้องรับผิดชอบต่อโจทก์อีก'. แปลไม่ได้ว่าหมายความว่าถ้าจำเลยที่ 1 ไม่ต้องรับผิด.จำเลยที่2 ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว ดังที่โจทก์ฎีกา. แต่ข้อความนั้นกลับทำให้เข้าใจในทางตรงข้ามว่าจำเลยที่ 2 ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว. คดีสำหรับจำเลยที่ 2 จึงเป็นอันยุติตั้งแต่ศาลชั้นต้น.
จำเลยที่ 1 ซื้อเชื่อกระดาษจากโจทก์เพื่อพิมพ์เป็นแบบพิมพ์ส่งหน่วยราชการ. แม้จำเลยจะเรียกค่าตอบแทนว่าค่าจ้าง การกระทำของจำเลยก็เป็นการทำให้แบบพิมพ์เหล่านั้นเป็นสินค้าอันเป็นการประกอบอุตสาหกรรม. คดีจึงมีอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรคท้าย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 331/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ขอบเขตการอุทธรณ์และการรับผิดของผู้ชำระบัญชี: การตีความข้อความในฟ้องอุทธรณ์
โจทก์อุทธรณ์ว่า 'ในประเด็นข้อที่ว่าจำเลยที่ 2 จะต้องรับผิดชอบในหนี้สินที่โจทก์ฟ้องเป็นส่วนตัวโจทก์หรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงตามหลักฐานพยานและข้อกฎหมายดังโจทก์ได้กราบเรียนมาแล้วฟังได้ว่าจำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดในการชำระหนี้ตามที่จำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ชำระบัญชีรับสภาพหนี้ต่อโรงงานกระดาษไทยในจำนวนหนี้ของโรงพิมพ์อำพลพิทยาต่อโจทก์แล้วจำเลยที่ 2 ในฐานะส่วนตัวก็ไม่ต้องรับผิดชอบต่อโจทก์อีก'แปลไม่ได้ว่าหมายความว่าถ้าจำเลยที่ 1 ไม่ต้องรับผิดจำเลยที่2 ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว ดังที่โจทก์ฎีกาแต่ข้อความนั้นกลับทำให้เข้าใจในทางตรงข้ามว่าจำเลยที่ 2 ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัวคดีสำหรับจำเลยที่ 2 จึงเป็นอันยุติตั้งแต่ศาลชั้นต้น
จำเลยที่ 1 ซื้อเชื่อกระดาษจากโจทก์เพื่อพิมพ์เป็นแบบพิมพ์ส่งหน่วยราชการ แม้จำเลยจะเรียกค่าตอบแทนว่าค่าจ้าง การกระทำของจำเลยก็เป็นการทำให้แบบพิมพ์เหล่านั้นเป็นสินค้าอันเป็นการประกอบอุตสาหกรรมคดีจึงมีอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรคท้าย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 331/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ขอบเขตการอุทธรณ์และการรับผิดในหนี้สินของผู้ชำระบัญชี: ศาลฎีกาวินิจฉัยประเด็นความรับผิดชอบของจำเลยที่ 2 จากข้อความในฟ้องอุทธรณ์
โจทก์อุทธรณ์ว่า "ในประเด็นข้อที่ว่าจำเลยที่ 2 จะต้องรับผิดชอบในหนี้สินที่โจทก์ฟ้องเป็นส่วนตัวหรือไม่ …. เมื่อข้อเท็จจริงตามหลักฐานพยานและข้อกฎหมายดังโจทก์ได้กราบเรียนมาแล้วฟังได้ว่า จำเลยที่ 1 จะต้องรับผิดในการชำระหนี้ตามที่จำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ชำระบัญชีรับสภาพหนี้ต่อโรงงานกระดาษไทยในจำนวนหนี้ของโรงพิมพ์อำพลพิทยาต่อโจทก์แล้ว จำเลยที่ 2 ในฐานะส่วนตัวก็ไม่ต้องรับผิดชอบต่อโจทก์อีก" แปลไม่ได้ว่าหมายความว่าถ้าจำเลยที่ 1 ไม่ต้องรับผิดจำเลยที่ 2 ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว ดังที่โจทก์ฎีกา แต่ข้อความนั้นกลับทำให้เข้าใจในทางตรงข้ามว่าจำเลยที่ 2 ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว คดีสำหรับจำเลยที่ 2 จึงเป็นอันยุติตั้งแต่ศาลชั้นต้น
จำเลยที่ 1 ซื้อเชื่อกระดาษจากโจทก์เพื่อพิมพ์เป็นแบบพิมพ์ส่งหน่วยราชการ แม้จำเลยจะเรียกค่าตอบแทนค่าว่าจ้าง การกระทำของจำเลยก็เป็นการทำให้แบบพิมพ์เหล่านั้นเป็นสินค้าอันเป็นการประกอบอุตสาหกรรม คดีจึงมีอายุความ 5 ปี ตามมาตรา 165 วรรคท้าย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 270/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความของคดีที่เกิดจากสัญญาตั๋วแลกเงิน: ใช้มาตรา 164 ไม่ใช่มาตรา 448
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า โจทก์ไปขอรับเงินตามตั๋วแลกเงินที่จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นสาขาของธนาคารจำเลยที่ 1 ออกให้โจทก์จากสาขาธนาคารของจำเลยที่ 1 อีกแห่งหนึ่งไม่ได้ เพราะเลขระหัสตามตั๋วแลกเงินมีการผิดพลาด ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย ดังนี้ เห็นได้ว่ามูลเหตุที่ทำให้โจทก์มาฟ้องนั้นก็โดยอาศัยสิทธิตามสัญญาอันพึงมีต่อกันตามตั๋วแลกเงินที่จำเลยที่ 2 ออก ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ว่าจำเลยทำละเมิดต่อโจทก์ จึงต้องใช้อายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 270/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความฟ้องเรียกค่าเสียหายจากตั๋วแลกเงิน: สิทธิจากสัญญา vs. ละเมิด
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า โจทก์ไปขอรับเงินตามตั๋วแลกเงิน.ที่จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นสาขาของธนาคารจำเลยที่ 1 ออกให้โจทก์จากสาขาธนาคารของจำเลยที่ 1 อีกแห่งหนึ่งไม่ได้. เพราะเลขระหัสตามตั๋วแลกเงินมีการผิดพลาด ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหาย. ดังนี้ เห็นได้ว่ามูลเหตุที่ทำให้โจทก์มาฟ้องนั้นก็โดยอาศัยสิทธิตามสัญญาอันพึงมีต่อกันตามตั๋วแลกเงินที่จำเลยที่ 2 ออก. ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ว่าจำเลยทำละเมิดต่อโจทก์ จึงต้องใช้อายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 270/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความฟ้องเรียกค่าเสียหายจากตั๋วแลกเงิน: สัญญา vs. ละเมิด
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า โจทก์ไปขอรับเงินตามตั๋วแลกเงินที่จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นสาขาของธนาคารจำเลยที่ 1 ออกให้โจทก์จากสาขาธนาคารของจำเลยที่ 1 อีกแห่งหนึ่งไม่ได้ เพราะเลขรหัสตามตั๋วแลกเงินมีการผิดพลาด ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายดังนี้ เห็นได้ว่ามูลเหตุที่ทำให้โจทก์มาฟ้องนั้นก็โดยอาศัยสิทธิตามสัญญาอันพึงมีต่อกันตามตั๋วแลกเงินที่จำเลยที่ 2 ออก ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ว่าจำเลยทำละเมิดต่อโจทก์ จึงต้องใช้อายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
of 57