คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
วิเชียร เศวตรุนทร์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 566 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1067/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในการรื้อถอนรั้วรุกล้ำทางเดินสาธารณะ แม้ทำในเวลากลางคืน ไม่ถึงขั้นเป็นความผิดทำลายทรัพย์สิน
เสารั้วของโรงเรียนปักอยู่บนคันคลองของกรมชลประทานล้ำทางเดินเกือบกึ่งทาง จำเลยที่ 1 ที่ 2 ซึ่งเป็นครูและภารโรงของโรงเรียนร่วมกับนักเรียนจัดทำรั้วนั้นขึ้น ย่อมมีสิทธิจะถอนเสารั้วออกทำใหม่ได้ เพราะทางโรงเรียนไม่มีสิทธิจะทำรั้วรุกล้ำทางเดินซึ่งไม่ใช่ที่ดินของโรงเรียน แม้จำเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 จะรื้อถอนทำในเวลากลางคืนโดยไม่สมควรอยู่บ้าง ก็ไม่ถึงกับเป็นความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์
ศาลชั้นต้นพิจารณาว่า จำเลยที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ร่วมกันกระทำผิดตามฟ้องจึงพิพากษาลงโทษ จำเลยที่ 1 ผู้เดียวอุทธรณ์และฎีกา ศาลฎีกาฟังว่าการกระทำของจำเลยไม่ถึงกับเป็นความผิดตามฟ้อง และเป็นเหตุในลักษณะคดี ชอบที่จะพิพากษาให้มีผลถึงจำเลยที่ 2 ที่ 3 ด้วย พิพากษากลับให้ยกฟ้อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 970/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความรับผิดของนายจ้างต่อการละเมิดของลูกจ้างขณะปฏิบัติงาน แม้ฝ่าฝืนระเบียบ
ลูกจ้างผู้ทำหน้าที่ขับรถยนต์ขนหินขนดินซึ่งบริษัทจำเลยรับเหมา. ขณะหยุดพักงานตอนเที่ยงวัน ได้ขับรถยนต์บรรทุกของจำเลยออกไปจากเส้นทางที่ก่อสร้าง เพื่อไปรับประทานอาหาร. รถยนต์ชนจักรยานยนต์ซึ่งโจทก์นั่งซ้อนท้ายมา โดยประมาทเลินเล่อ. ในการที่ลูกจ้างเอารถของจำเลยขับไปนั้น แม้จะเป็นการฝ่าฝืนระเบียบของบริษัทจำเลยที่วางไว้. แต่ก็อยู่ระหว่างเวลาที่ลูกจ้างประจำทำงานตามทางการที่จ้างให้แก่บริษัทจำเลยตลอดทั้งวัน. ย่อมเป็นการละเมิดต่อโจทก์ในทางการที่จ้างของจำเลย บริษัทจำเลยต้องรับผิด.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 970/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความรับผิดของนายจ้างต่อการละเมิดของลูกจ้างขณะปฏิบัติงาน แม้ฝ่าฝืนระเบียบ
ลูกจ้างผู้ทำหน้าที่ขับรถยนต์ขนหินขนดินซึ่งบริษัทจำเลยรับเหมา ขณะหยุดพักงานตอนเที่ยงวัน ได้ขับรถยนต์บรรทุกของจำเลยออกไปจากเส้นทางที่ก่อสร้าง เพื่อไปรับประทานอาหาร รถยนต์ชนจักรยานยนต์ซึ่งโจทก์นั่งซ้อนท้ายมา โดยประมาทเลินเล่อ ในการที่ลูกจ้างเอารถของจำเลยขับไปนั้น แม้จะเป็นการฝ่าฝืนระเบียบของบริษัทจำเลยที่วางไว้ แต่ก็อยู่ระหว่างเวลาที่ลูกจ้างประจำทำงานตามทางการที่จ้างให้แก่บริษัทจำเลยตลอดทั้งวัน ย่อมเป็นการละเมิดต่อโจทก์ในทางการที่จ้างของจำเลย บริษัทจำเลยต้องรับผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 970/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความรับผิดของนายจ้างต่อการละเมิดของลูกจ้างขณะปฏิบัติงาน แม้ฝ่าฝืนระเบียบ
ลูกจ้างผู้ทำหน้าที่ขับรถยนต์ขนหินขนดินซึ่งบริษัทจำเลยรับเหมา ขณะหยุดพักงานตอนเที่ยงวัน ได้ขับรถยนต์บรรทุกของจำเลยออกไปจากเส้นทางที่ก่อสร้าง เพื่อไปรับประทานอาหาร รถยนต์ชนจักรยานยนต์ซึ่งโจทก์นั่งซ้อนท้ายมา โดยประมาทเลินเล่อ ในการที่ลูกจ้างเอารถของจำเลยขับไปนั้น แม้จะเป็นการฝ่าฝืนระเบียบของบริษัทจำเลยที่วางไว้ แต่ก็อยู่ระหว่างเวลาที่ลูกจ้างประจำทำงานตามทางการที่จ้างให้แก่บริษัทจำเลยตลอดทั้งวัน ย่อมเป็นการละเมิดต่อโจทก์ในทางการที่จ้างของจำเลย บริษัทจำเลยต้องรับผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 898/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ระยะเวลาการยื่นคำร้องขอคืนของกลาง: เริ่มนับจากวันที่ศาลอ่านคำสั่งถึงที่สุด ไม่ใช่วันพิพากษา
ศาลได้อ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้จำเลยฟังเมื่อวันที่15 มีนาคม 2509. วันที่ 12 เมษายน 2509 จำเลยยื่นฎีกา. ศาลชั้นต้นสั่งไม่รับฎีกาอ้างว่าเป็นฎีกาปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามมิให้ฎีกา. จำเลยฎีกา ศาลฎีกาสั่งว่าข้อกฎหมายตามฎีกาของจำเลยไม่เป็นสาระแก่คดีให้ยกเสีย. และศาลชั้นต้นอ่านคำสั่งศาลฎีกาให้คู่ความฟังเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2509. วันที่ 13 มิถุนายน 2510 ผู้ร้องยื่นคำร้องขอคืนของกลาง. ศาลฎีกาโดยที่ประชุมใหญ่เห็นว่า คดีถึงที่สุดเมื่อได้อ่านคำสั่งศาลฎีกาให้จำเลยฟัง.การนับระยะเวลา 1 ปี เพื่อยื่นคำร้องขอคืนของกลางนับต่อจากวันนั้นเป็นต้นไป. การที่ผู้ร้องร้องขอคืนของกลางเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2510 จึงเป็นการร้องต่อศาลภายใน 1 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 36.(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 10/2512).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 898/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ระยะเวลาการขอคืนของกลาง: นับจากวันอ่านคำสั่งศาลฎีกาถึงที่สุด ไม่ใช่วันพิพากษาเดิม
ศาลได้อ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้จำเลยฟังเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2509 วันที่ 12 เมษายน 2509 จำเลยยื่นฎีกา ศาลชั้นต้นสั่งไม่รับฎีกาอ้างว่าเป็นฎีกาปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามมิให้ฎีกาจำเลยฎีกา ศาลฎีกาสั่งว่าข้อกฎหมายตามฎีกาของจำเลยไม่เป็นสาระแก่คดีให้ยกเสีย และศาลชั้นต้นอ่านคำสั่งศาลฎีกาให้คู่ความฟังเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2509วันที่ 13 มิถุนายน 2510 ผู้ร้องยื่นคำร้องขอคืนของกลางศาลฎีกาโดยที่ประชุมใหญ่เห็นว่า คดีถึงที่สุดเมื่อได้อ่านคำสั่งศาลฎีกาให้จำเลยฟังการนับระยะเวลา 1 ปี เพื่อยื่นคำร้องขอคืนของกลางนับต่อจากวันนั้นเป็นต้นไปการที่ผู้ร้องร้องขอคืนของกลางเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2510 จึงเป็นการร้องต่อศาลภายใน 1 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 36(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 10/2512)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 898/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ระยะเวลาการขอคืนของกลาง: นับจากวันอ่านคำสั่งศาลฎีกาถึงที่สุด ไม่ใช่วันพิพากษาเดิม
ศาลได้อ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้จำเลยฟังเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2509 วันที่ 12 เมษายน 2509 จำเลยยื่นฎีกา ศาลชั้นต้นสั่งไม่รับฎีกาอ้างว่าเป็นฎีกาปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามมิให้ฎีกา จำเลยฎีกา ศาลฎีกาสั่งว่าข้อกฎหมายตามฎีกาของจำเลยไม่เป็นสาระแก่คดีให้ยกเสีย และศาลชั้นต้นอ่านคำสั่งศาลฎีกาให้คู่ความฟังเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2509 วันที่ 13 มิถุนายน 2510 ผู้ร้องยื่นคำร้องขอคืนของกลาง ศาลฎีกาโดยที่ประชุมใหญ่เห็นว่า คดีถึงที่สุดเมื่อได้อ่านคำสั่งศาลฎีกาให้จำเลยฟัง การนับระยะเวลา 1 ปี เพื่อยื่นคำร้องขอคืนของกลาง นับต่อจากวันนั้นเป็นต้นไป การที่ผู้ร้องร้องขอคืนของกลางเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2510 จึงเป็นการร้องต่อศาลภายใน 1 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 36
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 10/2512)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 861/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดฐานยักยอกเงินขององค์การตลาดโดยเจ้าพนักงาน แม้เป็นเจ้าพนักงานชั้นผู้น้อย
โจทก์ฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยเรียกเก็บเงินค่าเช่าแผงลอยค่าโอนแผงลอย ค่าต่อสัญญาเช่าต่างๆ เป็นรายเดือนจากบุคคลหลายราย ในหลายท้องที่ และเรียกเก็บอยู่เป็นระยะเวลาประมาณ 1 ปี. ในระหว่างนั้นก็ได้ยักยอกเอาเงินที่เรียกเก็บมาได้นั้นไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวเสียในระหว่างวันเวลาสถานที่ดังกล่าวในฟ้อง. ดังนี้ คำฟ้องของโจทก์ได้บรรยายถึงลักษณะวิธีการพฤติการณ์ในการกระทำผิดของจำเลย.และกล่าวความเกี่ยวกับวันเวลาสถานที่ที่หาว่าจำเลยกระทำผิดพอสมควร ที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว. ไม่ใช่คำฟ้องเคลือบคลุม.
จำเลยเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่จัดการเงินขององค์การตลาดให้เป็นไปตามหน้าที่ของจำเลย. การที่จำเลยยักยอกเอาเงินขององค์การตลาดไป. จึงเป็นความผิดในฐานะเป็นเจ้าพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐกระทำการทุจริตต่อหน้าที่. เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502มาตรา 4.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 861/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดเจ้าพนักงานยักยอกเงินขององค์การตลาด แม้เป็นเจ้าพนักงานชั้นผู้น้อยก็ต้องรับผิด
โจทก์ฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยเรียกเก็บเงินค่าเช่าแผงลอยค่าโอนแผงลอย ค่าต่อสัญญาเช่าต่างๆ เป็นรายเดือนจากบุคคลหลายราย ในหลายท้องที่ และเรียกเก็บอยู่เป็นระยะเวลาประมาณ 1 ปี ในระหว่างนั้นก็ได้ยักยอกเอาเงินที่เรียกเก็บมาได้นั้นไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวเสียในระหว่างวันเวลาสถานที่ดังกล่าวในฟ้อง ดังนี้ คำฟ้องของโจทก์ได้บรรยายถึงลักษณะวิธีการพฤติการณ์ในการกระทำผิดของจำเลยและกล่าวความเกี่ยวกับวันเวลาสถานที่ที่หาว่าจำเลยกระทำผิดพอสมควร ที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้วไม่ใช่คำฟ้องเคลือบคลุม
จำเลยเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่จัดการเงินขององค์การตลาดให้เป็นไปตามหน้าที่ของจำเลยการที่จำเลยยักยอกเอาเงินขององค์การตลาดไปจึงเป็นความผิดในฐานะเป็นเจ้าพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐกระทำการทุจริตต่อหน้าที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502มาตรา 4

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 861/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดเจ้าพนักงานยักยอกเงินขององค์การตลาด แม้เป็นเจ้าพนักงานชั้นผู้น้อยก็ต้องรับผิด
โจทก์ฟ้องกล่าวหาว่าจำเลยเรียกเก็บเงินค่าเช่าแผงลอย ค่าโอนแผงลอยค่าต่อสัญญาเช่าต่าง ๆ เป็นรายเดือนจากบุคคลหลายราย ในหลายท้องที่ และเรียกเก็บอยู่เป็นระยะเวลาประมาณ 1 ปี ในระหว่างนั้นก็ได้ยักยอกเอาเงินที่เรียกเก็บมาได้นั้นไปเป็นประโยชน์ส่วนตัวเสียในระหว่างวันเวลา สถานที่ดังกล่าวในฟ้อง ดังนี้ คำฟ้องของโจทก์ได้บรรยายถึงลักษณะวิธีการพฤติการณ์ในการกระทำผิดของจำเลย และกล่าวความเกี่ยวกับวันเวลาสถานที่ที่หาว่าจำเลยกระทำผิดพอสมควร ที่จำเลยจะเข้าใจข้อหาได้ดีแล้ว ไม่ใช่คำฟ้องเคลือบคลุม
จำเลยเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่จัดการเงินขององค์การตลาด ให้เป็นไปตามหน้าที่ของจำเลย การที่จำเลยยักยอกเอาเงินขององค์การตลาดไป จึงเป็นความผิดในฐานะเป็นเจ้าพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐกระทำการทุจริตต่อหน้าที่ เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2502 มาตรา 4
of 57