พบผลลัพธ์ทั้งหมด 566 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1054/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ: คดีประมาทจากอุบัติเหตุรถชน เมื่อศาลเคยพิพากษาให้ชดใช้ค่าเสียหายแล้ว ฟ้องใหม่เป็นฟ้องต้องห้าม
คดีก่อนจำเลยได้เคยยื่นฟ้องโจทก์ให้ใช้ค่าเสียหายอันเกิดจากรถยนต์ชนกันศาลชั้นต้นพิพากษาไปแล้ว คดีอยู่ระหว่างอุทธรณ์ โจทก์จึงได้ยื่นฟ้องคดีนี้เรียกค่าเสียหายรายเดียวกันอีก เมื่อคดีทั้งสองมีประเด็นอย่างเดียวกันและคู่ความรายเดียวกัน และศาลได้พิพากษาให้โจทก์ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่จำเลยโดยวินิจฉัยถึงข้อที่โจทก์ยกขึ้นเป็นข้ออ้างในคดีนั้นว่าจำเลยเป็นฝ่ายประมาทเลินเล่อในการกำหนดจำนวนค่าสินไหมทดแทนนั้นด้วยฟ้องของโจทก์จึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1048/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ร่วม สินสมรส และการยึดทรัพย์: อำนาจร้องขัดทรัพย์ของผู้มีส่วนได้เสีย
ผู้ร้องร้องว่า การที่จำเลยไปทำนิติกรรมกู้ยืมเงินโจทก์ผู้ร้องมิได้มีส่วนรู้เห็นด้วย และมิได้ให้สัตยาบันรับรองการกู้ยืมรายนี้ และผู้ร้องได้บอกล้างนิติกรรมรายนี้แล้ว ผู้ร้องมิได้กล่าวอ้างเลยว่าหนี้รายนี้ไม่ใช่หนี้ร่วม และที่โจทก์ให้การคัดค้าน โจทก์ก็ไม่ได้แย้งหรือกล่าวแก้ว่าผู้ร้องได้ร่วมรู้เห็นในการกู้ยืมรายนี้ หรือกล่าวแก้ว่าหนี้รายนี้เป็นหนี้ร่วมที่ผู้ร้องจะต้องรับผิดร่วมด้วย ดังนั้น หนี้รายนี้จะเป็นหนี้ร่วมหรือไม่ ทั้งสองฝ่ายหาได้ยกขึ้นมาเป็นข้อกล่าวอ้างหรือเป็นข้อต่อสู้แต่อย่างใดไม่ จึงไม่มีประเด็นที่ศาลจะวินิจฉัย
ผู้ร้องอ้างว่า หนี้สินระหว่างโจทก์กับจำเลยผู้ร้องมิได้รู้เห็นและไม่ได้ให้สัตยาบันรับรองการกู้ยืม โจทก์ก็ไม่ได้ปฏิเสธหรือคัดค้านว่าผู้ร้องได้รู้เห็นยินยอมด้วย โจทก์เป็นแต่อ้างว่าทรัพย์ที่โจทก์นำยึดเป็นทรัพย์ที่เป็นสินสมรสระหว่างจำเลยกับผู้ร้องซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย เป็นเจ้าของร่วมกัน ผู้ร้องมีแต่สิทธิที่จะขอกันส่วนของตน จึงต้องฟังว่าหนี้รายนี้ผู้ร้องมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยตามที่ผู้ร้องอ้างนั้น เพราะโจทก์มิได้ปฏิเสธข้อที่ผู้ร้องกล่าวอ้าง
นิติกรรมระหว่างโจทก์จำเลยเป็นนิติกรรมที่เกี่ยวกับหนี้เงิน มิใช่นิติกรรมที่จำเลยทำขึ้นผูกพันสินบริคณห์โดยเฉพาะ เพราะไม่ได้เป็นนิติกรรมในการจัดการหรือจำหน่ายสินบริคณห์ จึงไม่ต้องด้วยลักษณะที่จะบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 38 และมาตรา 138 แม้ผู้ร้องซึ่งเป็นสามีจะได้บอกล้างแล้ว จำเลยก็ยังคงต้องรับผิดเป็นส่วนตัวตามมาตรา 37 และมาตรา 1479 โดยเจ้าหนี้มีสิทธิที่จะบังคับเอาชำระหนี้ด้วยสินส่วนตัวของฝ่ายภริยาผู้ก่อหนี้นั้นก่อนได้ เมื่อไม่พอก็เอาชำระหนี้จากสินบริคณห์ที่เป็นส่วนของฝ่ายภริยาต่อไปอีกได้
โจทก์ยึดสินบริคณห์คือสินสมรสส่วนของจำเลย ผู้ร้องซึ่งมีส่วนเป็นเจ้าของร่วมหามีอำนาจร้องขัดทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 288 ไม่ คงมีแต่สิทธิร้องขอแบ่งแยกส่วนของตนออกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 ประกอบกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1483 (อ้างฎีกาที่ 541/2509)
ผู้ร้องอ้างว่า หนี้สินระหว่างโจทก์กับจำเลยผู้ร้องมิได้รู้เห็นและไม่ได้ให้สัตยาบันรับรองการกู้ยืม โจทก์ก็ไม่ได้ปฏิเสธหรือคัดค้านว่าผู้ร้องได้รู้เห็นยินยอมด้วย โจทก์เป็นแต่อ้างว่าทรัพย์ที่โจทก์นำยึดเป็นทรัพย์ที่เป็นสินสมรสระหว่างจำเลยกับผู้ร้องซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย เป็นเจ้าของร่วมกัน ผู้ร้องมีแต่สิทธิที่จะขอกันส่วนของตน จึงต้องฟังว่าหนี้รายนี้ผู้ร้องมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยตามที่ผู้ร้องอ้างนั้น เพราะโจทก์มิได้ปฏิเสธข้อที่ผู้ร้องกล่าวอ้าง
นิติกรรมระหว่างโจทก์จำเลยเป็นนิติกรรมที่เกี่ยวกับหนี้เงิน มิใช่นิติกรรมที่จำเลยทำขึ้นผูกพันสินบริคณห์โดยเฉพาะ เพราะไม่ได้เป็นนิติกรรมในการจัดการหรือจำหน่ายสินบริคณห์ จึงไม่ต้องด้วยลักษณะที่จะบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 38 และมาตรา 138 แม้ผู้ร้องซึ่งเป็นสามีจะได้บอกล้างแล้ว จำเลยก็ยังคงต้องรับผิดเป็นส่วนตัวตามมาตรา 37 และมาตรา 1479 โดยเจ้าหนี้มีสิทธิที่จะบังคับเอาชำระหนี้ด้วยสินส่วนตัวของฝ่ายภริยาผู้ก่อหนี้นั้นก่อนได้ เมื่อไม่พอก็เอาชำระหนี้จากสินบริคณห์ที่เป็นส่วนของฝ่ายภริยาต่อไปอีกได้
โจทก์ยึดสินบริคณห์คือสินสมรสส่วนของจำเลย ผู้ร้องซึ่งมีส่วนเป็นเจ้าของร่วมหามีอำนาจร้องขัดทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 288 ไม่ คงมีแต่สิทธิร้องขอแบ่งแยกส่วนของตนออกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 ประกอบกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1483 (อ้างฎีกาที่ 541/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1048/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ร่วม สินสมรส และการยึดทรัพย์: ผู้ไม่รู้เห็นการก่อหนี้มีสิทธิร้องขอแบ่งแยกส่วนของตน
ผู้ร้องร้องว่า การที่จำเลยไปทำนิติกรรมกู้ยืมเงินโจทก์ ผู้ร้องมิได้มีส่วนรู้เห็นด้วย และมิได้ให้สัตยาบันรับรองการกู้ยืมรายนี้ และผู้ร้องได้บอกล้างนิติกรรมรายนี้แล้ว ผู้ร้องมิได้กล่าวอ้างเลยว่าหนี้รายนี้ไม่ใช่หนี้ร่วม และที่โจทก์ให้การคัดค้าน โจทก์ก็ไม่ได้โต้แย้งหรือกล่าวแก้ว่าผู้ร้องได้ร่วมรู้เห็นในการกู้ยืมรายนี้ หรือกล่าวแก้ว่าหนี้รายนี้เป็นหนี้ร่วมที่ผู้ร้องจะต้องรับผิดร่วมด้วย ดังนั้น หนี้รายนี้จะเป็นหนี้ร่วมหรือไม่ ทั้งสองฝ่ายหาได้ยกขึ้นมาเป็นข้อกล่าวอ้างหรือเป็นข้อต่อสู้แต่อย่างใดไม่ จึงไม่มีประเด็นที่ศาลจะวินิจฉัย
ผู้ร้องอ้างว่า หนี้สินระหว่างโจทก์กับจำเลยผู้ร้องมิได้รู้เห็นและไม่ได้ให้สัตยาบันรับรองการกู้ยืม โจทก์ก็ไม่ได้ปฏิเสธหรือคัดค้านว่าผู้ร้องได้รู้เห็นยินยอมด้วย โจทก์เป็นแต่อ้างว่าทรัพย์ที่โจทก์นำยึดเป็นทรัพย์ที่เป็นสินสมรสระหว่างจำเลยกับผู้ร้องซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมายเป็นเจ้าของร่วมกัน ผู้ร้องมีแต่สิทธิที่จะขอกันส่วนของตน จึงต้องฟังว่าหนี้รายนี้ผู้ร้องมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยตามที่ผู้ร้องอ้างนั้น เพราะโจทก์มิได้ปฏิเสธข้อที่ผู้ร้องกล่าวอ้าง
นิติกรรมระหว่างโจทก์จำเลยเป็นนิติกรรมที่เกี่ยวกับหนี้เงินมิใช่นิติกรรมที่จำเลยทำขึ้นผูกพันสินบริคณห์โดยเฉพาะ เพราะไม่ได้เป็นนิติกรรมในการจัดการหรือจำหน่ายสินบริคณห์ จึงไม่ต้องด้วยลักษณะที่จะบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 38 และมาตรา 138 แม้ผู้ร้องซึ่งเป็นสามีจะได้บอกล้างแล้ว จำเลยก็ยังคงต้องรับผิดเป็นส่วนตัวตามมาตรา 37 และมาตรา 1479โดยเจ้าหนี้มีสิทธิที่จะบังคับเอาชำระหนี้ด้วยสินส่วนตัวของฝ่ายภริยาผู้ก่อหนี้นั้นก่อนได้ เมื่อไม่พอก็เอาชำระหนี้จากสินบริคณห์ที่เป็นส่วนของฝ่ายภริยาต่อไปอีกได้
โจทก์ยึดสินบริคณห์คือสินสมรสส่วนของจำเลย ผู้ร้องซึ่งมีส่วนเป็นเจ้าของร่วมหามีอำนาจร้องขัดทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 288 ไม่ คงมีแต่สิทธิร้องขอแบ่งแยกส่วนของตนออกตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 ประกอบกับ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1483 (อ้างฎีกาที่ 541/2509)
ผู้ร้องอ้างว่า หนี้สินระหว่างโจทก์กับจำเลยผู้ร้องมิได้รู้เห็นและไม่ได้ให้สัตยาบันรับรองการกู้ยืม โจทก์ก็ไม่ได้ปฏิเสธหรือคัดค้านว่าผู้ร้องได้รู้เห็นยินยอมด้วย โจทก์เป็นแต่อ้างว่าทรัพย์ที่โจทก์นำยึดเป็นทรัพย์ที่เป็นสินสมรสระหว่างจำเลยกับผู้ร้องซึ่งเป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมายเป็นเจ้าของร่วมกัน ผู้ร้องมีแต่สิทธิที่จะขอกันส่วนของตน จึงต้องฟังว่าหนี้รายนี้ผู้ร้องมิได้รู้เห็นยินยอมด้วยตามที่ผู้ร้องอ้างนั้น เพราะโจทก์มิได้ปฏิเสธข้อที่ผู้ร้องกล่าวอ้าง
นิติกรรมระหว่างโจทก์จำเลยเป็นนิติกรรมที่เกี่ยวกับหนี้เงินมิใช่นิติกรรมที่จำเลยทำขึ้นผูกพันสินบริคณห์โดยเฉพาะ เพราะไม่ได้เป็นนิติกรรมในการจัดการหรือจำหน่ายสินบริคณห์ จึงไม่ต้องด้วยลักษณะที่จะบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 38 และมาตรา 138 แม้ผู้ร้องซึ่งเป็นสามีจะได้บอกล้างแล้ว จำเลยก็ยังคงต้องรับผิดเป็นส่วนตัวตามมาตรา 37 และมาตรา 1479โดยเจ้าหนี้มีสิทธิที่จะบังคับเอาชำระหนี้ด้วยสินส่วนตัวของฝ่ายภริยาผู้ก่อหนี้นั้นก่อนได้ เมื่อไม่พอก็เอาชำระหนี้จากสินบริคณห์ที่เป็นส่วนของฝ่ายภริยาต่อไปอีกได้
โจทก์ยึดสินบริคณห์คือสินสมรสส่วนของจำเลย ผู้ร้องซึ่งมีส่วนเป็นเจ้าของร่วมหามีอำนาจร้องขัดทรัพย์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 288 ไม่ คงมีแต่สิทธิร้องขอแบ่งแยกส่วนของตนออกตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 ประกอบกับ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1483 (อ้างฎีกาที่ 541/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1031-1041/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบรรยายฟ้องการปลูกสร้างอาคาร ต้องระบุรายละเอียดให้ชัดเจนว่าเป็นการกระทำประเภทใด จึงจะชอบด้วยกฎหมาย
พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2479 มาตรา 7 แยกเป็นการกระทำได้ 3 อย่างคือ (1) สร้างอาคารขึ้นใหม่ล้วน (2) ต่อเติมหรือดัดแปลงอาคารที่มีอยู่แล้วในลักษณะอันเป็นการเพิ่มน้ำหนักให้แก่อาคารนั้นมาก หรือเป็นการเพิ่มหรือขยายพื้นแห่งอาคารนั้นมาก (3) แปลงอาคารสำหรับบุคคลอาศัยเป็นอาคารเพื่อประโยชน์อย่างอื่นกลับกัน การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งในสามอย่างนี้ถือว่าทำการปลูกสร้างอาคาร ฉะนั้น โจทก์จะบรรยายฟ้องเพียงว่าจำเลยทำการปลูกสร้างอาคารเท่านั้นก็ไม่ชัดพอจะให้จำเลยเข้าใจฟ้องว่าจำเลยได้ทำการปลูกสร้างอาคารอย่างไหนในสามอย่างดังกล่าว
โจทก์ฟ้องบรรยายว่า จำเลยได้ปลูกสร้างอาคารโดยการต่อเติมหรือดัดแปลงอาคารเดิมในลักษณะที่เป็นการเพิ่มน้ำหนักและขยายพื้นแห่งอาคารนั้นมากดังนี้ ไม่ว่าการกระทำของจำเลยจะเป็นการสร้างอาคารขึ้นใหม่ล้วนหรือไม่ ศาลก็จะลงโทษจำเลยในเรื่องปลูกสร้างอาคารขึ้นใหม่ล้วนไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192
โจทก์ฟ้องบรรยายว่า จำเลยได้ปลูกสร้างอาคารโดยการต่อเติมหรือดัดแปลงอาคารเดิมในลักษณะที่เป็นการเพิ่มน้ำหนักและขยายพื้นแห่งอาคารนั้นมากดังนี้ ไม่ว่าการกระทำของจำเลยจะเป็นการสร้างอาคารขึ้นใหม่ล้วนหรือไม่ ศาลก็จะลงโทษจำเลยในเรื่องปลูกสร้างอาคารขึ้นใหม่ล้วนไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1031-1041/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบรรยายฟ้องฐานปลูกสร้างอาคาร ต้องระบุรายละเอียดการกระทำผิดให้ชัดเจน เพื่อให้จำเลยเข้าใจข้อกล่าวหา
พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2479 มาตรา 7แยกเป็นการกระทำได้ 3 อย่างคือ (1) สร้างอาคารขึ้นใหม่ล้วน (2) ต่อเติมหรือดัดแปลงอาคารที่มีอยู่แล้วในลักษณะอันเป็นการเพิ่มน้ำหนักให้แก่อาคารนั้นมาก หรือเป็นการเพิ่มหรือขยายพื้นแห่งอาคารนั้นมาก (3) แปลงอาคารสำหรับบุคคลอาศัยเป็นอาคารเพื่อประโยชน์อย่างอื่นหรือกลับกัน การกระทำอย่างใดหนึ่งในสามอย่างนี้ถือว่าทำการปลูกสร้างอาคาร ฉะนั้น โจทก์จะบรรยายฟ้องเพียงว่าจำเลยทำการปลูกสร้างอาคารเท่านั้นก็ไม่ชัดพอจะให้จำเลยเข้าใจฟ้องว่าจำเลยได้ทำการปลูกสร้างอาคารอย่างไหนในสามอย่างดังกล่าว
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า จำเลยได้ปลูกสร้างอาคารโดยการต่อเติมหรือดัดแปลงอาคารเดิมในลักษณะที่เป็นการเพิ่มน้ำหนักและขยายพื้นแห่งอาคารนั้นมาก ดังนี้ ไม่ว่าการกระทำของจำเลยจะเป็นการสร้างอาคารขึ้นใหม่ล้วนหรือไม่ ศาลก็จะลงโทษจำเลยในเรื่องปลูกสร้างอาคารขึ้นใหม่ล้วนไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า จำเลยได้ปลูกสร้างอาคารโดยการต่อเติมหรือดัดแปลงอาคารเดิมในลักษณะที่เป็นการเพิ่มน้ำหนักและขยายพื้นแห่งอาคารนั้นมาก ดังนี้ ไม่ว่าการกระทำของจำเลยจะเป็นการสร้างอาคารขึ้นใหม่ล้วนหรือไม่ ศาลก็จะลงโทษจำเลยในเรื่องปลูกสร้างอาคารขึ้นใหม่ล้วนไม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 968/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดุลพินิจศาลในการอนุญาตถอนฟ้องและการดำเนินคดีกับจำเลยร่วม
เมื่อโจทก์ขอถอนฟ้อง ศาลชั้นต้นได้สอบถามจำเลยและจำเลยร่วมแล้วแม้จำเลยและจำเลยร่วมจะคัดค้านไม่ยอมให้ถอนแต่ก็เป็นเรื่องที่อยู่ในดุลพินิจของศาลในการที่จะพิจารณาสั่งตามที่เห็นสมควร เพราะศาลจะอนุญาตหรือไม่อนุญาต หรืออนุญาตภายในเงื่อนไขตามที่เห็นสมควรก็ได้ ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 175 วรรค 2
ในคดีที่ศาลอาจยกข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนขึ้นอ้างเพื่อวินิจฉัย แล้วพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) นั้น เป็นเรื่องที่แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควรจะยกขึ้นหรือไม่ก็ได้
ในคดีที่ศาลอาจยกข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนขึ้นอ้างเพื่อวินิจฉัย แล้วพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) นั้น เป็นเรื่องที่แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควรจะยกขึ้นหรือไม่ก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 968/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดุลพินิจศาลในการอนุญาตถอนฟ้อง และการดำเนินคดีกับจำเลยร่วม
เมื่อโจทก์ขอถอนฟ้อง ศาลชั้นต้นได้สอบถามจำเลยและจำเลยร่วมแล้วแม้จำเลยและจำเลยร่วมจะคัดค้านไม่ยอมให้ถอน แต่ก็เป็นเรื่องที่อยู่ในดุลพินิจของศาลในการที่จะพิจารณาสั่งตามที่เห็นสมควร เพราะศาลจะอนุญาตหรือไม่อนุญาต หรืออนุญาตภายในเงื่อนไขตามที่เห็นสมควรก็ได้ ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 175 วรรคสอง
ในคดีที่ศาลอาจยกข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนขึ้นอ้างเพื่อวินิจฉัย แล้วพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) นั้น เป็นเรื่องที่แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควรจะยกขึ้นหรือไม่ก็ได้
ในคดีที่ศาลอาจยกข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนขึ้นอ้างเพื่อวินิจฉัย แล้วพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142(5) นั้น เป็นเรื่องที่แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควรจะยกขึ้นหรือไม่ก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 953/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้ตามข้อตกลงระหว่าง ก.ศ.ว. และ โอ.ไอ.ซี.ซี. โดยส่งเงินให้ศาลตามคำสั่งศาล ทำให้ ก.ศ.ว. ไม่ต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้เดิม
เงินที่จะจ่ายฝากอยู่ในธนาคารแห่งประเทศไทยในบัญชีของ ก.ศ.ว. แต่จะจ่ายได้ตามคำเรียกร้องของ โอ.ไอ.ซี.ซี และในการที่ ก.ศ.ว. ต้องออกเช็คในนามของผู้รับเหมาก่อสร้าง แล้วมอบให้ โอ.ไอ.ซี.ซี โอ.ไอ.ซี.ซี. จึงจะจ่ายให้ผู้รับโดยตรงจึงเป็นเรื่องที่ทั้ง ก.ศ.ว. และ โอ.ไอ.ซี.ซี. มีส่วนร่วมกันในการจ่ายเงินแก่ผู้รับเหมาก่อสร้าง ฉะนั้น การที่ โอ.ไอ.ซี.ซี. แจ้งให้ ก.ศ.ว. ส่งเงิน 181,135 บาท ให้ศาลแพ่งตามหนังสือของศาลแพ่ง ก.ศ.ว. จึงส่งเช็คจำนวนเงินดังกล่าวไป แม้จะเป็นเช็คที่สั่งจ่ายให้แก่จำเลย แต่ ก.ศ.ว. ก็มิได้มอบเช็คนั้นให้แก่จำเลย แต่ได้มอบให้แก่ โอ.ไอ.ซี.ซี. โอ.ไอ.ซี.ซี. นำไปมอบให้ศาลแพ่ง จึงเป็นการที่ ก.ศ.ว. และ โอ.ไอ.ซี.ซี. จัดการนำเงินดังกล่าวแล้วส่งศาลแพ่งตามคำสั่งของศาลแพ่งนั้นเอง ก.ศ.ว. จึงไม่ต้องรับผิดในเงินจำนวนดังกล่าวให้อีก เพราะได้ทำไปตามคำสั่งศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 953/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้ตามคำสั่งศาล: ก.ศ.ว.ไม่ต้องรับผิดเมื่อปฏิบัติตามระเบียบและคำสั่งศาลในการส่งเงินให้ผู้รับเหมาผ่าน โอ.ไอ.ซี.ซี.
เงินที่จะจ่ายฝากอยู่ในธนาคารแห่งประเทศไทยในบัญชีของก. ศ.ว. แต่จะจ่ายได้ตามคำเรียกร้องของ โอ.ไอ.ซี.ซี. และในการที่ ก. ศ.ว. ต้องออกเช็คในนามของผู้รับเหมาก่อสร้าง แล้วมอบให้ โอ.ไอ.ซี.ซี. โอ.ไอ.ซี.ซี. จึงจะจ่ายให้ผู้รับโดยตรงจึงเป็นเรื่องที่ทั้ง ก. ศ.ว. และ โอ.ไอ.ซี.ซี. มีส่วนร่วมกันในการจ่ายเงินแก่ผู้รับเหมาก่อสร้างฉะนั้น การที่ โอ.ไอ.ซี.ซี. แจ้งให้ ก.ศ.ว. ส่งเงิน 181,135 บาท ให้ศาลแพ่งตามหนังสือของศาลแพ่ง ก. ศ.ว. จึงส่งเช็คจำนวนดังกล่าวไป แม้จะเป็นเช็คที่สั่งจ่ายให้แก่จำเลย แต่ ก. ศ.ว. ก็มิได้มอบเช็คนั้นให้แก่จำเลย แต่ได้มอบให้แก่ โอ.ไอ.ซี.ซี. โอ.ไอ.ซี.ซี. นำไปมอบให้ศาลแพ่ง จึงเป็นการที่ ก.ศ.ว. และ โอ.ไอ.ซี.ซี. จัดการนำเงินดังกล่าวแล้วส่งศาลแพ่งตามคำสั่งของศาลแพ่งนั่นเอง ก. ศ.ว. จึงไม่ต้องรับผิดในเงินจำนวนดังกล่าวให้อีกเพราะได้ทำไปตามคำสั่งศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 879/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เอกสารระงับสิทธิ: การปลอมแปลงเอกสารสิทธิเพื่อสละสิทธิในการรับบำเหน็จทดแทน
เอกสารที่จำเลยปลอมและใช้มีข้อความว่า ส.ไม่ได้สมรสตามกฎหมายกับ ฉ. ส.ไม่ขอเกี่ยวข้องคัดค้านหรือขัดข้องประการใดในการที่ทางราชการจะจ่ายเงินบำเหน็จทดแทนของ ฉ. ให้แก่บุตรของ ฉ.นั้น ข้อความดังกล่าวเป็นการทำให้สิทธิของ ส.ที่จะรับบำเหน็จทดแทนในฐานะเป็นสามีโดยชอบด้วยกฎหมายของ ฉ.ต้องระงับไป เอกสารนั้นจึงเป็นหลักฐานแห่งการระงับสิทธิของ ส.จึงเป็นเอกสารสิทธิ ไม่ใช่เอกสารธรรมดา