คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
วิเชียร เศวตรุนทร์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 566 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 729/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าต่ออายุ: ข้อตกลงอัตราค่าเช่าใหม่ต้องเป็นไปตามเจตนาของคู่สัญญา
โจทก์จำเลยได้ทำสัญญาเช่าต่อกัน.มีข้อความว่า'ผู้ให้เช่าจะยอมให้ผู้เช่าเช่าสถานที่ต่อไปอีกคราวหนึ่งมีกำหนด 10 ปี ในอัตราค่าเช่าอย่างเดิมหรืออัตราค่าเช่าอื่นใดสุดแต่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายจะตกลงกัน.' นั้นหมายความว่าการที่โจทก์จะยอมให้จำเลยเช่าต่อไป 10 ปีนั้น. อัตราค่าเช่าจะเป็นอย่างเดิมก็ดี หรืออย่างอื่นใดก็ดี. โจทก์จำเลยจะต้องตกลงซึ่งกันและกันเสียก่อน.ซึ่งเป็นสารสำคัญของการเช่าตามกฎหมาย และเป็นเจตนาของคู่สัญญาด้วย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 729/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าต่อ: การตกลงอัตราค่าเช่าใหม่เป็นสาระสำคัญ, 'หรือ' บ่งชี้การตกลงร่วมกัน
โจทก์จำเลยได้ทำสัญญาเช่าต่อกัน.มีข้อความว่า'ผู้ให้เช่าจะยอมให้ผู้เช่าเช่าสถานที่ต่อไปอีกคราวหนึ่งมีกำหนด 10 ปี ในอัตราค่าเช่าอย่างเดิมหรืออัตราค่าเช่าอื่นใดสุดแต่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายจะตกลงกัน' นั้นหมายความว่าการที่โจทก์จะยอมให้จำเลยเช่าต่อไป 10 ปีนั้น อัตราค่าเช่าจะเป็นอย่างเดิมก็ดี หรืออย่างอื่นใดก็ดีโจทก์จำเลยจะต้องตกลงซึ่งกันและกันเสียก่อนซึ่งเป็นสารสำคัญของการเช่าตามกฎหมาย และเป็นเจตนาของคู่สัญญาด้วย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 729/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเช่าต่ออายุ: อัตราค่าเช่าต้องตกลงกัน อัตราเดิมไม่ใช่สิทธิจำเลยโดยอัตโนมัติ
โจทก์จำเลยได้ทำสัญญาเช่าต่อกันมีข้อความว่า "ผู้ให้เช่าจะยอมให้ผู้เช่า เช่าสถานที่ต่อไปอีกคราวหนึ่งมีกำหนด 10 ปี ในอัตราค่าเช่าอย่างเดิมหรืออัตราค่าเช่าอื่นใดสุดแต่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายจะตกลงกัน" นั้นหมายความว่าการที่โจทก์จะยอมให้จำเลยเช่าต่อไป 10 ปีนั้น อัตราค่าเช่าจะเป็นอย่างเดิมก็ดี หรืออย่างอื่นใดก็ดี โจทก์จำเลยจะต้องตกลงซึ่งกันและกันเสียก่อน ซึ่งเป็นสาระสำคัญของการเช่าตามกฎหมาย และเป็นเจตนาของคู่สัญญาด้วย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิเรียกร้องค่าเช่าตามสัญญายอมความ แม้มีการโอนทรัพย์สิน สัญญาผูกพันตลอดชีวิตบิดามารดา
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาล. ตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา. โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน. สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374. เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้ว. แม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป. บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต. โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสีย. บุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่.
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้น. มิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438. ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด.
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไป. จะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่. เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง.
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง. แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่า. โจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้าง. เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249. ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ผลผูกพันสัญญาประนีประนอมยอมความและการรับผิดชอบค่าเช่าหลังการโอนทรัพย์สิน
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาลตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้วแม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสียบุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้นมิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไปจะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่าโจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้างเป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาประนีประนอมยอมความ การส่งมอบค่าเช่า และผลของการโอนทรัพย์สิน
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาล ตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้ว แม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสีย บุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้น มิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไป จะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่ เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่า โจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้าง เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 714/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยินยอมให้กระทำการละเมิด: การเปิดคันดินกั้นน้ำที่โจทก์ยินยอม ไม่ถือเป็นการละเมิด
ตามคำบรรยายฟ้องของโจทก์สรุปได้ว่า จำเลยพังทำลายคันดินกั้นน้ำในคลองซึ่งเป็นทางน้ำสาธารณะ. เป็นเหตุให้คันดินนี้กักเก็บน้ำและระบายน้ำเข้านาโจทก์ไม่ได้. ทำให้ข้าวในนาของโจทก์เสียหาย. ซึ่งเป็นการที่โจทก์กล่าวอ้างว่าจำเลยกระทำผิดกฎหมาย. เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของโจทก์. โจทก์จึงฟ้องขอให้ทำคันดินกั้นน้ำให้ดีดังเดิม.หรือให้โจทก์ทำโดยจำเลยชดใช้ค่าใช้จ่ายให้ได้.
โจทก์ยินยอมให้จำเลยกับพวกเปิดคันดินกั้นน้ำในคลองซึ่งเป็นทางน้ำสาธารณะหรือทำให้คันดินไม่อยู่ในสภาพกักเก็บน้ำและระบายน้ำเข้านาโจทก์ได้. แม้ทำให้ข้าวในนาโจทก์เสียหาย. ก็ไม่เป็นละเมิดต่อโจทก์.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 714/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยินยอมให้เปิดคันดินกั้นน้ำไม่ถือเป็นการละเมิด แม้จะทำให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน
ตามคำบรรยายฟ้องของโจทก์สรุปได้ว่า จำเลยพังทำลายคันดินกั้นน้ำในคลองซึ่งเป็นทางน้ำสาธารณะ เป็นเหตุให้คันดินนี้กักเก็บน้ำและระบายน้ำเข้านาโจทก์ไม่ได้ทำให้ข้าวในนาของโจทก์เสียหายซึ่งเป็นการที่โจทก์กล่าวอ้างว่าจำเลยกระทำผิดกฎหมายเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของโจทก์โจทก์จึงฟ้องขอให้ทำคันดินกั้นน้ำให้ดีดังเดิมหรือให้โจทก์ทำโดยจำเลยชดใช้ค่าใช้จ่ายให้ได้
โจทก์ยินยอมให้จำเลยกับพวกเปิดคันดินกั้นน้ำในคลองซึ่งเป็นทางน้ำสาธารณะหรือทำให้คันดินไม่อยู่ในสภาพกักเก็บน้ำและระบายน้ำเข้านาโจทก์ได้แม้ทำให้ข้าวในนาโจทก์เสียหาย ก็ไม่เป็นละเมิดต่อโจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 714/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยินยอมให้กระทำโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว ไม่ถือเป็นการละเมิด แม้จะเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน
ตามคำบรรยายฟ้องของโจทก์สรุปได้ว่า จำเลยพังทำลายคันดินกั้นน้ำในคลองซึ่งเป็นทางน้ำสาธารณะ เป็นเหตุให้คันดินนี้กักเก็บน้ำและระบายน้ำเข้านาโจทก์ไม่ได้ ทำให้ข้าวในนาของโจทก์เสียหาย ซึ่งเป็นการที่โจทก์กล่าวอ้างว่า จำเลยกระทำผิดกฎหมาย เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของโจทก์ โจทก์จึงฟ้องขอให้ทำคันดินกั้นน้ำให้ดีดังเดิม หรือให้โจทก์ทำโดยจำเลยชดใช้ค่าใช้จ่ายให้ได้
โจทก์ยินยอมให้จำเลยกับพวกเปิดคันดินกั้นน้ำในคลองซึ่งเป็นทางน้ำสาธารณะ หรือทำให้คันดินไม่อยู่ในสภาพกักเก็บน้ำและระบายน้ำเข้านาโจทก์ได้ แม้ทำให้ข้าวในนาโจทก์เสียหาย ก็ไม่เป็นละเมิดต่อโจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 688/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ฟ้องซ้ำ-อายุความ: สิทธิเรียกคืนเงินจากการชำระหนี้ซ้ำจากการฟ้องเรียกหนี้ซ้อน
คดีก่อน จำเลยฟ้อง ม. ให้ชำระหนี้เงินกู้ ซึ่ง ม. ได้กู้จากจำเลยไปแทนโจทก์ซึ่งศาลได้พิพากษาถึงที่สุดให้ ม. แพ้คดีโดยเหตุที่ไม่สามารถพิสูจน์หลักฐานการชำระเงินได้แต่คดีนี้โจทก์ฟ้องจำเลยเรียกเงินที่จำเลยได้หักเงินรายได้โรงเรียนของโจทก์ตามหนี้เงินกู้รายเดียวกันนี้ไว้คืนฐานลาภมิควรได้โดยเหตุที่จำเลยกลับนำสัญญากู้รายเดียวกันนี้ไปฟ้อง ม. จนศาลพิพากษาถึงที่สุดให้ชำระหนี้เงินกู้รายเดียวกันนี้แก่จำเลย ดังนี้ประเด็นในคดีนี้จึงเป็นคนละประเด็นกับคดีก่อน ไม่เป็นฟ้องซ้ำ
โจทก์จำเลยตกลงกู้ยืมเงินกันโดยโจทก์ให้ ม. ทำสัญญากู้ไว้แทนโจทก์ โดยมีข้อตกลงให้จำเลยหักเงินรายได้โรงเรียนของโจทก์ชำระหนี้เงินกู้นี้แต่จำเลยได้นำสัญญากู้รายเดียวกันนี้ไปฟ้อง ม. จนศาลพิพากษาถึงที่สุดให้ม. ชำระหนี้เงินกู้แก่จำเลยโจทก์จึงฟ้องเรียกเงินของโจทก์ที่จำเลยได้หักชำระหนี้รายเดียวกันนี้คืนฐานลาภมิควรได้ดังนี้ ต้องถือว่าสิทธิของโจทก์ที่ฟ้องเรียกลาภมิควรได้นี้เกิดขึ้นต่อเมื่อคดีที่จำเลยฟ้อง ม. ถึงที่สุดเสียก่อนและก่อนคดีดังกล่าวถึงที่สุดจะถือว่าโจทก์ได้รู้ถึงสิทธิที่จะเรียกเงินคืนตามมูลฐานดังกล่าวมิได้ เมื่อนับจากวันที่โจทก์ได้ทราบเรื่องซึ่งเป็นเวลาภายหลังได้อ่านคำพิพากษาศาลฎีกาคดีดังกล่าวมาจนถึงวันที่โจทก์ฟ้องยังอยู่ภายในระยะเวลา 1 ปี คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
of 57