พบผลลัพธ์ทั้งหมด 566 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 455/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเจ้าหนี้บังคับคดีเอากับกองมรดกของผู้ตายจากการซื้อขายที่ดินตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
หน้าที่โอนขายที่ดินตามสัญญาประนีประนอมยอมความและคำพิพากษาตามยอมนั้น ทั้งตามกฎหมาย และโดยสภาพไม่ใช่เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตายโดยแท้ จึงเป็นมรดกของผู้ตาย ผู้ซื้อในฐานะเจ้าหนี้กองมรดกย่อมมีสิทธิขอให้บังคับดีเอาที่ดินของผู้ตายโอนชำระหนี้ ให้แก่ตนได้ตามคำพิพากษา
ที่ดินมรดกของผู้ตายเป็นทรัพย์ซึ่งจะต้องโอนขายตามคำพิพากษาอยู่ก่อนแล้ว ศาลย่อมมีอำนาจดำเนินการบังคับดีให้เป็นไปตามคำพิพากษาได้จนเสร็จการ แม้โจทก์จะได้รับมรดกที่ดินมาตามพินัยกรรม และจดทะเบียนรับโอนแล้ว แต่ที่ดินดังกล่าวก็เป็นมรดกที่ยังอยู่ในระหว่างการจัดการตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1736 เพราะผู้ซื้อเป็นเจ้าหนี้กองมรดกซึ่งปรากฏตัวยังไม่ได้รับชำระหนี้ ผู้ซื้อจึงมีสิทธิดำเนินการบังคับคดีตามคำพิพากษาตามยอมเอาจากกองมรดกของผู้ตายได้โดยตรง ไม่จำต้องร้องฟ้องโจทก์เป็นคดีใหม่
การที่ผู้ซื้อขอให้ศาลดำเนินการบังคับคดีตามคำพิพากษาเอาจากกองมรดก มิใช่เป็นกรณีฟ้องร้องคดีมรดกซึ่งมีอายุความ 1 ปี แต่เป็นการดำเนินการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 271 ซึ่งมีสิทธิทำได้ภายในกำหนด 10 ปี (ปัญหาข้อสุดท้ายนี้ วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 3/2512)
ที่ดินมรดกของผู้ตายเป็นทรัพย์ซึ่งจะต้องโอนขายตามคำพิพากษาอยู่ก่อนแล้ว ศาลย่อมมีอำนาจดำเนินการบังคับดีให้เป็นไปตามคำพิพากษาได้จนเสร็จการ แม้โจทก์จะได้รับมรดกที่ดินมาตามพินัยกรรม และจดทะเบียนรับโอนแล้ว แต่ที่ดินดังกล่าวก็เป็นมรดกที่ยังอยู่ในระหว่างการจัดการตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1736 เพราะผู้ซื้อเป็นเจ้าหนี้กองมรดกซึ่งปรากฏตัวยังไม่ได้รับชำระหนี้ ผู้ซื้อจึงมีสิทธิดำเนินการบังคับคดีตามคำพิพากษาตามยอมเอาจากกองมรดกของผู้ตายได้โดยตรง ไม่จำต้องร้องฟ้องโจทก์เป็นคดีใหม่
การที่ผู้ซื้อขอให้ศาลดำเนินการบังคับคดีตามคำพิพากษาเอาจากกองมรดก มิใช่เป็นกรณีฟ้องร้องคดีมรดกซึ่งมีอายุความ 1 ปี แต่เป็นการดำเนินการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 271 ซึ่งมีสิทธิทำได้ภายในกำหนด 10 ปี (ปัญหาข้อสุดท้ายนี้ วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 3/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 446/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกล้างนิติกรรมโอนที่ดินที่เป็นสินบริคณห์ โดยไม่ได้รับความยินยอมจากคู่สมรส และประเด็นค่าขึ้นศาล
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 2 เป็นภรรยาของโจทก์ ได้ทำนิติกรรมยกที่ดินซึ่งเป็นสินบริคณห์ให้จำเลยที่ 1 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากโจทก์. และโจทก์ได้บอกล้างแล้วขอให้ศาลแสดงว่านิติกรรมเป็นโมฆะ. จำเลยต่อสู้ว่าจำเลยที่ 2 ไม่ได้เป็นภรรยาของโจทก์.และมีอำนาจทำนิติกรรมนั้นได้ เป็นคดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์ที่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 446/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกำหนดค่าขึ้นศาลในคดีพิพาททรัพย์สิน: การโต้แย้งเรื่องประเภทคดีและการประเมินราคา
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 2 เป็นภรรยาของโจทก์ ได้ทำนิติกรรมยกที่ดินซึ่งเป็นสินบริคณห์ให้จำเลยที่ 1 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากโจทก์และโจทก์ได้บอกล้างแล้วขอให้ศาลแสดงว่านิติกรรมเป็นโมฆะจำเลยต่อสู้ว่าจำเลยที่ 2 ไม่ได้เป็นภรรยาของโจทก์และมีอำนาจทำนิติกรรมนั้นได้ เป็นคดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์ที่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 446/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจจัดการทรัพย์สินของภรรยาและการพิพาทเรื่องโมฆะนิติกรรม การกำหนดราคาคดี
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 2 เป็นภรรยาของโจทก์ ได้ทำนิติกรรมยกที่ดินซึ่งเป็นสินบริคณห์ให้จำเลยที่ 1 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากโจทก์ และโจทก์ได้บอกล้างแล้วขอให้ศาลแสดงว่านิติกรรมเป็นโมฆะ จำเลยต่อสู้ว่าจำเลยที่ 2 ไม่ได้เป็นภรรยาของโจทก์ และมีอำนาจทำนิติกรรมนั้นได้ เป็นคดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์ที่อาจคำนวณเป็นราคาเงินได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 392/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเข้าร่วมเป็นโจทก์ของผู้เสียหายต้องยื่นคำร้องก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาคดี
ผู้เสียหายจะยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ เพื่อใช้สิทธิในการอุทธรณ์ฎีกา ภายหลังที่ศาลชั้นต้นพิพากษาคดีแล้วนั้นไม่ได้ เพราะไม่ต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 30.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 392/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเข้าร่วมเป็นโจทก์ของผู้เสียหายต้องยื่นคำร้องก่อนศาลชั้นต้นมีคำพิพากษา
ผู้เสียหายจะยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ. เพื่อใช้สิทธิในการอุทธรณ์ฎีกา ภายหลังที่ศาลชั้นต้นพิพากษาคดีแล้วนั้นไม่ได้.เพราะไม่ต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 30.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 392/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเข้าร่วมเป็นโจทก์ของผู้เสียหายต้องยื่นคำร้องก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาคดี
ผู้เสียหายจะยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการเพื่อใช้สิทธิในการอุทธรณ์ฎีกา ภายหลังที่ศาลชั้นต้นพิพากษาคดีแล้วนั้นไม่ได้เพราะไม่ต้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 30
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 289/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลกระทบของการยกฟ้องในความผิดฐานพยายามฆ่าต่อการลงโทษความผิดฐานมีอาวุธปืนที่ศาลชั้นต้นได้ลงโทษแล้ว
โจทก์ฟ้องจำเลยในข้อหาพยายามฆ่าและมีอาวุธปืนผิดกฎหมายไว้ในครอบครอง. ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยทำผิดทั้งสองฐาน.แต่ให้ลงโทษฐานพยายามฆ่าอันเป็นกระทงหนัก. จำเลยอุทธรณ์เฉพาะข้อหาฐานพยายามฆ่า. แต่ในระหว่างพิจารณาศาลอุทธรณ์มีพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2510 ออกมา.ให้ผู้มีอาวุธปืนโดย.ไม่.รับอนุญาตไปขอรับอนุญาตภายใน90 วัน. โดยไม่ต้องรับโทษ. เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้องทั้งสองข้อหา. และโจทก์ฎีกาคัดค้านขึ้นมา. ดังนี้ แม้ความผิดฐานมีอาวุธปืนจะถึงที่สุดแล้ว. แต่โดยเหตุที่ศาลฎีกายกฟ้องฐานพยายามฆ่า. เมื่อจะลงโทษความผิดฐานมีอาวุธปืน. ซึ่งศาลชั้นต้นมิได้กำหนดโทษฐานนี้ไว้ คดีก็ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 ซึ่งบัญญัติว่าแม้คดีถึงที่สุดแล้ว ก็ให้ถือว่าผู้นั้นไม่เคยต้องคำพิพากษาว่าได้กระทำความผิดนั้น. จึงเป็นอันว่าศาลฎีกาจะกำหนดโทษให้ลงแก่จำเลยในความผิดฐานนี้อีกไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 289/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลกระทบการยกฟ้องฐานพยายามฆ่าต่อการลงโทษฐานมีอาวุธปืนผิดกฎหมาย ศาลต้องใช้ประมวลกฎหมายอาญา ม.2
โจทก์ฟ้องจำเลยในข้อหาพยายามฆ่าและมีอาวุธปืนผิดกฎหมายไว้ในครอบครอง ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยทำผิดทั้งสองฐานแต่ให้ลงโทษฐานพยายามฆ่าอันเป็นกระทงหนัก จำเลยอุทธรณ์เฉพาะข้อหาฐานพยายามฆ่า แต่ในระหว่างพิจารณาศาลอุทธรณ์มีพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2510 ออกมาให้ผู้มีอาวุธปืนโดยไม่รับอนุญาตไปขอรับอนุญาตภายใน90 วัน โดยไม่ต้องรับโทษ เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้องทั้งสองข้อหา และโจทก์ฎีกาคัดค้านขึ้นมาดังนี้ แม้ความผิดฐานมีอาวุธปืนจะถึงที่สุดแล้วแต่โดยเหตุที่ศาลฎีกายกฟ้องฐานพยายามฆ่าเมื่อจะลงโทษความผิดฐานมีอาวุธปืนซึ่งศาลชั้นต้นมิได้กำหนดโทษฐานนี้ไว้ คดีก็ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 ซึ่งบัญญัติว่าแม้คดีถึงที่สุดแล้ว ก็ให้ถือว่าผู้นั้นไม่เคยต้องคำพิพากษาว่าได้กระทำความผิดนั้นจึงเป็นอันว่าศาลฎีกาจะกำหนดโทษให้ลงแก่จำเลยในความผิดฐานนี้อีกไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 289/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลกระทบของการยกฟ้องในข้อหาหลักต่อการลงโทษในความผิดอื่นที่จำเลยให้การรับสารภาพ
โจทก์ฟ้องจำเลยในข้อหาพยายามฆ่าและมีอาวุธปืนผิดกฎหมายไว้ในครอบครอง ศาลชั้นต้นพิพากษาว่าจำเลยทำผิดทั้งสองฐาน แต่ให้ลงโทษฐานพยายามฆ่าอันเป็นกระทงหนัก จำเลยอุทธรณ์เฉพาะข้อหาฐานพยายามฆ่า แต่ในระหว่างพิจารณาศาลอุทธรณ์มีพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2510 ออกมา ให้ผู้มีอาวุธปืนโดยไม่รับอนุญาตไปขอรับอนุญาตภายใน 90 วัน โดยไม่ต้องรับโทษ เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้องทั้งสองข้อหา และโจทก์ฎีกาคัดค้านขึ้นมา ดังนี้ แม้ความผิดฐานมีอาวุธปืนจะถึงที่สุดแล้ว แต่โดยเหตุที่ศาลฎีกายกฟ้องฐานพยายามฆ่า เมื่อจะลงโทษความผิดฐานมีอาวุธปืน ซึ่งศาลชั้นต้นมิได้กำหนดโทษฐานนี้ไว้ คดีก็ต้องบังคับตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 ซึ่งบัญญัติว่าแม้คดีถึงที่สุดแล้ว ก็ให้ถือว่าผู้นั้นไม่เคยต้องคำพิพากษาว่าได้กระทำความผิดนั้น จึงเป็นอันว่าศาลฎีกาจะกำหนดโทษให้ลงแก่จำเลยในความผิดฐานนี้อีกไม่ได้