พบผลลัพธ์ทั้งหมด 566 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 269/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบี้ยปรับในสัญญาซื้อขาย: ผู้ซื้อผิดสัญญาต้องชำระดอกเบี้ยตามที่ตกลง
ผู้ซื้อกับผู้ขายทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกันไว้ว่า. ตกลงกำหนดโอนที่ดินให้ผู้ซื้อหรือผู้หนึ่งผู้ใดที่ผู้ซื้อระบุภายใน 1 เดือนนับแต่วันทำสัญญา. ถ้าพ้นกำหนดแล้วผู้ซื้อยังชำระเงินค่าที่ดินให้ผู้ขายไม่ได้. ผู้ขายยอมขยายเวลาให้อีก 150 วัน โดยผู้ซื้อยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีในเงินค่าที่ดินที่ยังไม่ชำระสำหรับระยะเวลา 150 วันนั้น. ถ้าเกินกำหนดนี้ ผู้ขายมีสิทธิเลิกสัญญาได้ทันที.ดอกเบี้ยที่กำหนดไว้ตามสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าเป็นเบี้ยปรับ. เมื่อไม่ชำระหนี้หรือไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 379. เพราะเป็นค่าเสียหายจำนวนหนึ่งที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ล่วงหน้าว่าจะชดใช้ให้เมื่อผู้ซื้อไม่ชำระหนี้ในกำหนดเวลาตามสัญญา.
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้.
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 269/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบี้ยปรับในสัญญาซื้อขาย: เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญา ผู้ขายมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยตามที่ตกลงกันไว้ได้
ผู้ซื้อกับผู้ขายทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกันไว้ว่า ตกลงกำหนดโอนที่ดินให้ผู้ซื้อหรือผู้หนึ่งผู้ใดที่ผู้ซื้อระบุภายใน 1 เดือนนับแต่วันทำสัญญา ถ้าพ้นกำหนดแล้วผู้ซื้อยังชำระเงินค่าที่ดินให้ผู้ขายไม่ได้ ผู้ขายยอมขยายเวลาให้อีก 150 วัน โดยผู้ซื้อยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีในเงินค่าที่ดินที่ยังไม่ชำระสำหรับระยะเวลา 150 วันนั้น ถ้าเกินกำหนดนี้ ผู้ขายมีสิทธิเลิกสัญญาได้ทันที ดอกเบี้ยที่กำหนดไว้ตามสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าเป็นเบี้ยปรับ เมื่อไม่ชำระหนี้หรือไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 379 เพราะเป็นค่าเสียหายจำนวนหนึ่งที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ล่วงหน้าว่าจะชดใช้ให้เมื่อผู้ซื้อไม่ชำระหนี้ในกำหนดเวลาตามสัญญา
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 269/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบี้ยปรับในสัญญาซื้อขาย: ศาลฎีกาวินิจฉัยให้โจทก์ชำระดอกเบี้ยตามสัญญา แม้ผิดสัญญาซื้อขาย
ผู้ซื้อกับผู้ขายทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกันไว้ว่าตกลงกำหนดโอนที่ดินให้ผู้ซื้อหรือผู้หนึ่งผู้ใดที่ผู้ซื้อระบุภายใน 1 เดือนนับแต่วันทำสัญญา ถ้าพ้นกำหนดแล้วผู้ซื้อยังชำระเงินค่าที่ดินให้ผู้ขายไม่ได้ ผู้ขายยอมขยายเวลาให้อีก 150 วัน โดยผู้ซื้อยอมเสียดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีในเงินค่าที่ดินที่ยังไม่ชำระสำหรับระยะเวลา 150 วันนั้น
ถ้าเกินกำหนดนี้ ผู้ขายมีสิทธิเลิกสัญญาได้ทันทีดอกเบี้ยที่กำหนดว้ตามสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าเป็นเบี้ยปรับ เมื่อไม่ชำระหนี้หรือไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 379เพราะเป็นค่าเสียหายจำนวนหนึ่งที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ล่วงหน้าว่าจะชดใช้ให้เมื่อผู้ซื้อไม่ชำระหนี้ในกำหนดเวลาตามสัญญา
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้
ถ้าเกินกำหนดนี้ ผู้ขายมีสิทธิเลิกสัญญาได้ทันทีดอกเบี้ยที่กำหนดว้ตามสัญญาดังกล่าวถือได้ว่าเป็นเบี้ยปรับ เมื่อไม่ชำระหนี้หรือไม่ชำระหนี้ให้ถูกต้องตามสมควร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 379เพราะเป็นค่าเสียหายจำนวนหนึ่งที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ล่วงหน้าว่าจะชดใช้ให้เมื่อผู้ซื้อไม่ชำระหนี้ในกำหนดเวลาตามสัญญา
เมื่อผู้ซื้อผิดสัญญาไม่สามารถรับโอนที่ดินและชำระเงินค่าที่ดินได้ตามสัญญา ผู้ขายย่อมฟ้องเรียกดอกเบี้ยซึ่งกำหนดไว้เป็นเบี้ยปรับจากผู้ซื้อได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 245/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสีข้าวเพื่อช่วยเหลือชาวบ้านเข้าข่ายเป็นการค้าข้าวตามกฎหมาย จำเป็นต้องได้รับอนุญาต
พระราชบัญญัติการค้าข้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2489 มาตรา 3 กล่าวถึงการค้าข้าวไว้ว่าหมายถึงการซื้อขายแลกเปลี่ยนหรือโอนกรรมสิทธิ์ข้าวรวมตลอดถึงการสีข้าว ทั้งนี้ นอกจากสำหรับบริโภคในครอบครัวฉะนั้นการที่จำเลยรับจ้างชาวบ้านสีข้าว แม้จะเอาค่าจ้างเพียงเล็กน้อยโดยมีเจตนาเพื่อช่วยเหลือชาวบ้านให้มีข้าวสารบริโภคก็ดีก็ได้ชื่อว่าเป็นการค้าข้าวตามความหมายของพระราชบัญญัติการค้าข้าวแล้วจำเลยจึงต้องได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2489 เสียก่อน จึงจะทำการสีข้าวได้การที่จำเลยรับจ้างชาวบ้านสีข้าวโดยมิได้รับอนุญาตจึงเป็นความผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 245/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสีข้าวเพื่อช่วยเหลือชาวบ้านถือเป็นการค้าข้าว ต้องขออนุญาตตามกฎหมาย
พระราชบัญญัติการค้าข้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2489 มาตรา 3กล่าวถึงการค้าข้าวไว้ว่าหมายถึงการซื้อขายแลกเปลี่ยนหรือโอนกรรมสิทธิ์ข้าว รวมตลอดถึงการสีข้าว ทั้งนี้ นอกจากสำหรับบริโภคในครอบครัว ฉะนั้นการที่จำเลยรับจ้างชาวบ้านสีข้าว แม้จะเอาค่าจ้างเพียงเล็กน้อย โดยมีเจตนาเพื่อช่วยเหลือชาวบ้านให้มีข้าวสารบริโภคก็ดี ก็ได้ชื่อว่าเป็นการค้าข้าวตามความหมายของพระราชบัญญัติการค้าข้าวแล้ว จำเลยจึงต้องได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2489 เสียก่อน จึงจะทำการสีข้าวได้ การที่จำเลยรับจ้างชาวบ้านสีข้าวโดยมิได้รับอนุญาตจึงเป็นความผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 245/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสีข้าวเพื่อช่วยเหลือชาวบ้านเข้าข่ายเป็นการค้าข้าวตามกฎหมาย ต้องได้รับอนุญาต
พระราชบัญญัติการค้าข้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2489 มาตรา 3กล่าวถึงการค้าข้าวไว้ว่าหมายถึงการซื้อขายแลกเปลี่ยนหรือโอนกรรมสิทธิ์ข้าว รวมตลอดถึงการสีข้าว ทั้งนี้ นอกจากสำหรับบริโภคในครอบครัว. ฉะนั้นการที่จำเลยรับจ้างชาวบ้านสีข้าว แม้จะเอาค่าจ้างเพียงเล็กน้อย. โดยมีเจตนาเพื่อช่วยเหลือชาวบ้านให้มีข้าวสารบริโภคก็ดี. ก็ได้ชื่อว่าเป็นการค้าข้าวตามความหมายของพระราชบัญญัติการค้าข้าวแล้ว.จำเลยจึงต้องได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2489 เสียก่อน จึงจะทำการสีข้าวได้. การที่จำเลยรับจ้างชาวบ้านสีข้าวโดยมิได้รับอนุญาตจึงเป็นความผิด.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 208/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิทายาทโดยธรรมและผู้เสียหายในคดีปลอมแปลงพินัยกรรม การพิสูจน์ความเสียหายที่แท้จริง
โจทก์เป็นน้องชายเจ้ามรดก โจทก์ย่อมเป็นทายาทโดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629 แต่โจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในเมื่อยังมีทายาทโดยธรรมในลำดับก่อนตนยังมีชีวิตอยู่ตาม มาตรา 1630และทั้งนี้ต้องต่อเมื่อเจ้ามรดกมิได้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกให้โจทก์
โจทก์ที่ 3 เป็นบุตรเจ้ามรดกและโจทก์ที่ 1,2 เป็นน้องชายเจ้ามรดกซึ่งมิได้ทำพินัยกรรมไว้ การที่จำเลยสมคบกันปลอมพินัยกรรมขึ้นว่าเจ้ามรดกยกทรัพย์ให้จำเลยที่ 4 ผู้เดียว ย่อมทำให้โจทก์ที่ 3 เสียหายแต่ไม่ทำให้โจทก์ที่ 1,2 ผู้เป็นน้องชายเจ้ามรดกเสียหายด้วยเพราะจำเลยจะปลอมหรือไม่ปลอม โจทก์ที่ 1,2 ก็ไม่มีสิทธิรับมรดกอยู่แล้ว และฟ้องมิได้บรรยายว่าเจ้ามรดกตั้งใจทำพินัยกรรมยกทรัพย์ให้โจทก์ที่ 1,2 ด้วยแล้วจำเลยปลอมพินัยกรรมขึ้นเป็นอย่างอื่น โจทก์ที่ 1,2 จึงมิใช่ผู้เสียหายที่จะฟ้องคดีอาญาฐานปลอมพินัยกรรม ตลอดถึงข้อหาฐานเบิกความเท็จเรื่องพินัยกรรมปลอมนี้ได้
โจทก์ที่ 3 เป็นบุตรเจ้ามรดกและโจทก์ที่ 1,2 เป็นน้องชายเจ้ามรดกซึ่งมิได้ทำพินัยกรรมไว้ การที่จำเลยสมคบกันปลอมพินัยกรรมขึ้นว่าเจ้ามรดกยกทรัพย์ให้จำเลยที่ 4 ผู้เดียว ย่อมทำให้โจทก์ที่ 3 เสียหายแต่ไม่ทำให้โจทก์ที่ 1,2 ผู้เป็นน้องชายเจ้ามรดกเสียหายด้วยเพราะจำเลยจะปลอมหรือไม่ปลอม โจทก์ที่ 1,2 ก็ไม่มีสิทธิรับมรดกอยู่แล้ว และฟ้องมิได้บรรยายว่าเจ้ามรดกตั้งใจทำพินัยกรรมยกทรัพย์ให้โจทก์ที่ 1,2 ด้วยแล้วจำเลยปลอมพินัยกรรมขึ้นเป็นอย่างอื่น โจทก์ที่ 1,2 จึงมิใช่ผู้เสียหายที่จะฟ้องคดีอาญาฐานปลอมพินัยกรรม ตลอดถึงข้อหาฐานเบิกความเท็จเรื่องพินัยกรรมปลอมนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 208/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีอาญาฐานปลอมแปลงพินัยกรรม: ผู้เสียหายต้องเป็นผู้มีสิทธิรับมรดก
โจทก์เป็นน้องชายเจ้ามรดก โจทก์ย่อมเป็นทายาทโดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629 แต่โจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในเมื่อยังมีทายาทโดยธรรมในลำดับก่อนตนยังมีชีวิตอยู่ตาม มาตรา 1630 และทั้งนี้ต้องต่อเมื่อเจ้ามรดกมิได้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกให้โจทก์
โจทก์ที่ 3 เป็นบุตรเจ้ามรดก และโจทก์ที่ 1, 2เป็นน้องชายเจ้ามรดกซึ่งมิได้ทำพินัยกรรมไว้ การที่จำเลยสมคบกันปลอมพินัยกรรมขึ้นว่าเจ้ามรดกยกทรัพย์ให้จำเลยที่4 ผู้เดียว ย่อมทำให้โจทก์ที่ 3 เสียหาย แต่ไม่ทำให้โจทก์ที่ 1, 2 ผู้เป็นน้องชายเจ้ามรดกเสียหายด้วยเพราะจำเลยจะปลอมหรือไม่ปลอม โจทก์ที่ 1, 2 ก็ไม่มีสิทธิรับมรดกอยู่แล้ว และฟ้องมิได้บรรยายว่าเจ้ามรดกตั้งใจทำพินัยกรรมยกทรัพย์ให้โจทก์ที่ 1, 2 ด้วยแล้วจำเลยปลอมพินัยกรรมขึ้นเป็นอย่างอื่น โจทก์ที่ 1, 2 จึงมิใช่ผู้เสียหายที่จะฟ้องคดีอาญาฐานปลอมพินัยกรรม ตลอดถึงข้อหาฐานเบิกความเท็จเรื่องพินัยกรรมปลอมนี้ได้
โจทก์ที่ 3 เป็นบุตรเจ้ามรดก และโจทก์ที่ 1, 2เป็นน้องชายเจ้ามรดกซึ่งมิได้ทำพินัยกรรมไว้ การที่จำเลยสมคบกันปลอมพินัยกรรมขึ้นว่าเจ้ามรดกยกทรัพย์ให้จำเลยที่4 ผู้เดียว ย่อมทำให้โจทก์ที่ 3 เสียหาย แต่ไม่ทำให้โจทก์ที่ 1, 2 ผู้เป็นน้องชายเจ้ามรดกเสียหายด้วยเพราะจำเลยจะปลอมหรือไม่ปลอม โจทก์ที่ 1, 2 ก็ไม่มีสิทธิรับมรดกอยู่แล้ว และฟ้องมิได้บรรยายว่าเจ้ามรดกตั้งใจทำพินัยกรรมยกทรัพย์ให้โจทก์ที่ 1, 2 ด้วยแล้วจำเลยปลอมพินัยกรรมขึ้นเป็นอย่างอื่น โจทก์ที่ 1, 2 จึงมิใช่ผู้เสียหายที่จะฟ้องคดีอาญาฐานปลอมพินัยกรรม ตลอดถึงข้อหาฐานเบิกความเท็จเรื่องพินัยกรรมปลอมนี้ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 208/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีอาญาฐานปลอมพินัยกรรม: ทายาทโดยธรรมไม่มีสิทธิฟ้องหากไม่ได้ประโยชน์จากการปลอม
โจทก์เป็นน้องชายเจ้ามรดก โจทก์ย่อมเป็นทายาทโดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1629. แต่โจทก์ไม่มีสิทธิรับมรดกในเมื่อยังมีทายาทโดยธรรมในลำดับก่อนตนยังมีชีวิตอยู่ตาม มาตรา 1630. และทั้งนี้ต้องต่อเมื่อเจ้ามรดกมิได้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกให้โจทก์.
โจทก์ที่ 3 เป็นบุตรเจ้ามรดก. และโจทก์ที่ 1,2เป็นน้องชายเจ้ามรดกซึ่งมิได้ทำพินัยกรรมไว้. การที่จำเลยสมคบกันปลอมพินัยกรรมขึ้นว่าเจ้ามรดกยกทรัพย์ให้จำเลยที่4 ผู้เดียว. ย่อมทำให้โจทก์ที่ 3 เสียหาย. แต่ไม่ทำให้โจทก์ที่ 1,2 ผู้เป็นน้องชายเจ้ามรดกเสียหายด้วย.เพราะจำเลยจะปลอมหรือไม่ปลอม. โจทก์ที่ 1,2 ก็ไม่มีสิทธิรับมรดกอยู่แล้ว. และฟ้องมิได้บรรยายว่าเจ้ามรดกตั้งใจทำพินัยกรรมยกทรัพย์ให้โจทก์ที่ 1,2ด้วยแล้ว.จำเลยปลอมพินัยกรรมขึ้นเป็นอย่างอื่น. โจทก์ที่ 1,2 จึงมิใช่ผู้เสียหายที่จะฟ้องคดีอาญาฐานปลอมพินัยกรรม ตลอดถึงข้อหาฐานเบิกความเท็จเรื่องพินัยกรรมปลอมนี้ได้.
โจทก์ที่ 3 เป็นบุตรเจ้ามรดก. และโจทก์ที่ 1,2เป็นน้องชายเจ้ามรดกซึ่งมิได้ทำพินัยกรรมไว้. การที่จำเลยสมคบกันปลอมพินัยกรรมขึ้นว่าเจ้ามรดกยกทรัพย์ให้จำเลยที่4 ผู้เดียว. ย่อมทำให้โจทก์ที่ 3 เสียหาย. แต่ไม่ทำให้โจทก์ที่ 1,2 ผู้เป็นน้องชายเจ้ามรดกเสียหายด้วย.เพราะจำเลยจะปลอมหรือไม่ปลอม. โจทก์ที่ 1,2 ก็ไม่มีสิทธิรับมรดกอยู่แล้ว. และฟ้องมิได้บรรยายว่าเจ้ามรดกตั้งใจทำพินัยกรรมยกทรัพย์ให้โจทก์ที่ 1,2ด้วยแล้ว.จำเลยปลอมพินัยกรรมขึ้นเป็นอย่างอื่น. โจทก์ที่ 1,2 จึงมิใช่ผู้เสียหายที่จะฟ้องคดีอาญาฐานปลอมพินัยกรรม ตลอดถึงข้อหาฐานเบิกความเท็จเรื่องพินัยกรรมปลอมนี้ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 181/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิผู้ซื้อที่ดินก่อนเจ้าหนี้ผู้ขาย: การบังคับคดีกระทบสิทธิผู้ซื้อไม่ได้
ผู้ซื้อได้ชำระราคาที่ดินที่ซื้อขายให้แก่ผู้ขายเรียบร้อยแล้ว และได้ฟ้องผู้ขายจนศาลพิพากษาให้ผู้ขายโอนที่ดินให้แก่ผู้ซื้อ คดีถึงที่สุดไปแล้วผู้ซื้อย่อมอยู่ในฐานะที่จะจดทะเบียนสิทธิของตนได้ก่อน แม้จะยังมิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของผู้ขายซึ่งฟ้องคดีภายหลัง หามีสิทธิบังคับคดีเกี่ยวกับที่ดินดังกล่าวให้เป็นการกระทบกระทั่งถึงสิทธิของผู้ซื้อไม่
(อ้างฎีกาที่ 737/2511)
การที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของผู้ขายนำยึดที่ดินที่ผู้ขายจะต้องโอนให้แก่ผู้ซื้อตามคำพิพากษาไว้เพื่อบังคับคดีนั้นไม่เป็นเหตุขัดข้องที่จะโอนที่ดินนั้นแก่ผู้ซื้อ
(อ้างฎีกาที่ 737/2511)
การที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของผู้ขายนำยึดที่ดินที่ผู้ขายจะต้องโอนให้แก่ผู้ซื้อตามคำพิพากษาไว้เพื่อบังคับคดีนั้นไม่เป็นเหตุขัดข้องที่จะโอนที่ดินนั้นแก่ผู้ซื้อ