พบผลลัพธ์ทั้งหมด 586 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1332-1335/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำรับสารภาพที่ไม่น่าเชื่อถือและการพิพากษาลงโทษโดยไม่ลดหย่อนโทษ
จำเลยให้การรับสารภาพชั้นสอบสวน แต่มาปฏิเสธชั้นศาลและอ้างว่าไม่ได้ให้การชั้นสอบสวน เพียงแต่ตำรวจเอากระดาษเปล่ามาให้ลงชื่อเท่านั้น คำให้การชั้นสอบสวนของจำเลยจึงไม่เป็นประโยชน์แก่การพิจารณา เมื่อพยานหลักฐานของโจทก์ในชั้นศาลฟังลงโทษจำเลยได้โดยไม่ต้องอาศัยคำรับชั้นสอบสวนของจำเลยแล้ว คดีย่อมไม่มีเหตุจะลดโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1332-1335/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำรับสารภาพที่ถูกโต้แย้ง และผลต่อการลดโทษในคดีอาญา
จำเลยให้การรับสารภาพชั้นสอบสวน. แต่มาปฏิเสธชั้นศาลและอ้างว่าไม่ได้ให้การชั้นสอบสวน. เพียงแต่ตำรวจเอากระดาษเปล่ามาให้ลงชื่อเท่านั้น. คำให้การชั้นสอบสวนของจำเลยจึงไม่เป็นประโยชน์แก่การพิจารณา. เมื่อพยานหลักฐานของโจทก์ในชั้นศาลฟังลงโทษจำเลยได้โดยไม่ต้องอาศัยคำรับชั้นสอบสวนของจำเลยแล้ว. คดีย่อมไม่มีเหตุจะลดโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1309/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: หนี้ก่อนสัญญา, หนี้ในระยะเวลา, และดอกเบี้ย
วันที่ 7 มกราคม 2500 บริษัท ส. เบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ 477,100 บาท 83 สตางค์. วันที่ 9 มกราคม2500 บริษัท ส. จึงได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีให้ไว้กับโจทก์ว่า. บริษัท ส. ได้ขอเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์เป็นเงินไม่เกิน 450,000 บาท มีกำหนดระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันทำสัญญา. ส่วนจำนวนเงินที่เบิกเกินบัญชีไปนั้น ให้ให้ถือตามบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร. ดังนี้ เมื่อจำเลยค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว. จำเลยจึงต้องค้ำประกันในหนี้ที่มีอยู่ก่อนวันทำสัญญา คือ จำนวนเงิน 447,100.83 บาท. และหนี้ที่ก่อนั้นภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันทำสัญญา คือจำนวนเงิน 97,616 บาท 83 สตางค์.รวมเป็นเงิน 544,717 บาท 66 สตางค์. แต่หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากพ้นระยะเวลา 6 เดือนแล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบ. และเมื่อจำเลยเป็นผู้ค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จึงต้องรับผิดในหนี้ดังกล่าวแต่รับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท แต่ จำเลยจะต้องรับผิดเพียงดอกเบี้ยในต้นเงิน 97,616.83 บาทเท่านั้น.และต้องรับผิดทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยทบต้นตามบัญชีกระแสรายวัน. เมื่อสิ้นกำหนด 6 เดือนซึ่งบริษัท ส. เป็นหนี้อยู่เกินกว่า 450,000 บาท แต่จำเลยคงรับผิดเพียงในวงเงิน450,000 บาท.
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท. แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว. จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506. ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้. และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ.
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท. แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว. จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506. ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้. และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1309/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: หนี้ก่อนสัญญา, หนี้ระหว่างสัญญา, และวงเงินจำกัด
วันที่ 7 มกราคม 2500 บริษัท ส. เบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ 477,100 บาท 83 สตางค์ วันที่ 9 มกราคม 2500 บริษัท ส. จึงได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีให้ไว้กับโจทก์ว่า บริษัท ส. ได้ขอเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์เป็นเงินไม่เกิน 450,000 บาท มีกำหนดระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันทำสัญญา ส่วนจำนวนเงินที่เบิกเกินบัญชีไปนั้น ให้ให้ถือตามบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร ดังนี้ เมื่อจำเลยค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จำเลยจึงต้องค้ำประกันในหนี้ที่มีอยู่ก่อนวันทำสัญญา คือ จำนวนเงิน 447,100.83 บาท และหนี้ที่ก่อนั้นภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันทำสัญญา คือจำนวนเงิน 97,616 บาท 83 สตางค์ รวมเป็นเงิน 544,717 บาท 66 สตางค์ แต่หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากพ้นระยะเวลา 6 เดือนแล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบ และเมื่อจำเลยเป็นผู้ค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จึงต้องรับผิดในหนี้ดังกล่าวแต่รับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท แต่ จำเลยจะต้องรับผิดเพียงดอกเบี้ยในต้นเงิน 97,616.83 บาทเท่านั้นและต้องรับผิดทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยทบต้นตามบัญชีกระแสรายวัน เมื่อสิ้นกำหนด 6 เดือนซึ่งบริษัท ส. เป็นหนี้อยู่เกินกว่า 450,000 บาท แต่จำเลยคงรับผิดเพียงในวงเงิน450,000 บาท
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน 450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน 450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาทนี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1309/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: ระยะเวลา, วงเงิน, และดอกเบี้ย
วันที่ 7 มกราคม 2500 บริษัท ส. เบิกเงินเกินบัญชีไปจากโจทก์ 477,100 บาท 83 สตางค์ วันที่ 9 มกราคม2500 บริษัท ส. จึงได้ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีให้ไว้กับโจทก์ว่า บริษัท ส. ได้ขอเบิกเงินเกินบัญชีจากโจทก์เป็นเงินไม่เกิน 450,000 บาท มีกำหนดระยะเวลา 6 เดือน นับจากวันทำสัญญา ส่วนจำนวนเงินที่เบิกเกินบัญชีไปนั้น ให้ถือตามบัญชีกระแสรายวันของธนาคาร ดังนี้ เมื่อจำเลยค้ำประกันสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จำเลยจึงต้องค้ำประกันในหนี้ที่มีอยู่ก่อนวันทำสัญญา คือ จำนวนเงิน 447,100.83 บาท และหนี้ที่ก่อนั้นภายในเวลา 6 เดือนนับแต่วันทำสัญญา คือจำนวนเงิน 97,616 บาท 83 สตางค์ รวมเป็นเงิน 544,717 บาท 66 สตางค์ แต่หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากพ้นระยะเวลา 6 เดือนแล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบ และเมื่อจำเลยเป็นผู้ค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีดังกล่าว จึงต้องรับผิดในหนี้ดังกล่าวแต่รับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท แต่ จำเลยจะต้องรับผิดเพียงดอกเบี้ยในต้นเงิน 97,616.83 บาทเท่านั้น.และต้องรับผิดทั้งต้นเงินและดอกเบี้ยทบต้นตามบัญชีกระแสรายวัน เมื่อสิ้นกำหนด 6 เดือนซึ่งบริษัท ส. เป็นหนี้อยู่เกินกว่า 450,000 บาท แต่จำเลยคงรับผิดเพียงในวงเงิน 450,000 บาท
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาท นี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีของบริษัท ส. มีวงเงินไม่เกิน450,000 บาท แต่ได้ระบุเวลาไว้ 6 เดือน เมื่อครบกำหนดระยะเวลา บริษัท ส. หรือจำเลยซึ่งเป็นผู้ค้ำประกันไม่ชำระหนี้ดังกล่าว จำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันจึงต้องรับผิดในดอกเบี้ยทบต้นของจำนวนเงิน 450,000 บาท นี้ต่อไปอีก จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2506 ส่วนระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2506 จนถึงวันฟ้อง โจทก์ไม่ได้มีเจตนาเรียกร้องเอาดอกเบี้ย จำเลยจึงไม่ต้องชำระให้ และจำเลยต้องชำระดอกเบี้ยธรรมดานับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะชำระเงินเสร็จ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1252/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสัมพันธ์นายจ้าง-ลูกจ้าง แม้เจ้าของรถจ่ายเงินเดือนคนขับ แต่บริษัทเดินรถมีอำนาจควบคุมและรับผิดชอบ
รถยนต์โดยสารเลขทะเบียน ร.บ.00844เป็นของซ. นำมาเดินร่วมกับบริษัทจำเลยในเส้นทางสัมปทาน รถที่เข้ามาเดินร่วมเช่นนี้ต้องตีเบอร์ ใช้ตรา และทาสีของบริษัทจำเลย ทั้งรถ คนขับ และคนเก็บตั๋ว ต้องอยู่ในระเบียบข้อบังคับของบริษัทจำเลย บริษัทจำเลยมีสิทธิไล่ออก ส่วนการจ่ายเงินเดือนให้คนขับและคนเก็บตั๋วเป็นหน้าที่ของเจ้าของรถ ดังนี้ แม้รถคันนี้จะเป็นของ ซ.แต่ซ. ยินยอมให้บริษัทจำเลยนำมาใช้เดินรับส่งคนโดยสารบนเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลย ในกิจการของบริษัทจำเลย ในนามและในฐานะที่เป็นรถของบริษัทจำเลย หาใช่ ซ. นำมาเดินรับส่งคนโดยสารเป็นส่วนตัวไม่ และการที่บริษัทจำเลยคิดค่าธรรมเนียมจาก ซ. ในการนำรถมาเดินร่วม ก็เป็นวิธีการแบ่งผลประโยชน์รายได้ระหว่างกันอย่างหนึ่ง ได้ชื่อว่าบริษัทจำเลยมีและใช้รถคันนี้อย่างที่เป็นของบริษัทจำเลยในกิจการของบริษัทจำเลยแล้ว โดยบริษัทจำเลยและ ซ. มีผลประโยชน์ร่วมกันในการนี้ การที่ ส. ได้ยินยอมเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ขับรถยนต์รับส่งคนโดยสารในกิจการของบริษัทจำเลย โดยที่ ซ.นำเข้ามา.นับว่าส. มีฐานะเป็นลูกจ้างของบริษัทจำเลยปฏิบัติหน้าที่ขับรถยนต์รับส่งคนโดยสารในทางการที่จำเลยจ้างด้วย ใครจะเป็นผู้จัดหา ส. มาขับรถไม่สำคัญ และแม้ ซ.จะเป็นผู้จ่ายเงินเดือนให้ส.ก็เป็นเพียงข้อตกลงภายในระหว่างบริษัทจำเลยกับ ซ. ซึ่งมีผลประโยชน์ร่วมกัน และเป็นการปฏิบัติตามระเบียบของบริษัทจำเลยเท่านั้น ไม่ทำให้การเป็นนายจ้างและลูกจ้างระหว่างบริษัทจำเลยกับ ส.เปลี่ยนแปลงไป.เมื่อส.ปฏิบัติหน้าที่ขับรถในกิจการของบริษัทจำเลย บริษัทจำเลยย่อมต้องร่วมรับผิดกับ ส. ในผลแห่งละเมิดซึ่ง ส. กระทำไปนั้นด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1252/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสัมพันธ์นายจ้าง-ลูกจ้างในกรณีรถร่วม: แม้เจ้าของรถจ่ายเงินเดือน แต่หากอยู่ภายใต้การควบคุมและระเบียบของบริษัทเดินรถ ถือเป็นลูกจ้างของบริษัท
รถยนต์โดยสารเลขทะเบียน ร.บ.00844เป็นของซ. นำมาเดินร่วมกับบริษัทจำเลยในเส้นทางสัมปทาน. รถที่เข้ามาเดินร่วมเช่นนี้ต้องตีเบอร์ ใช้ตรา และทาสีของบริษัทจำเลย.ทั้งรถ คนขับ และคนเก็บตั๋ว ต้องอยู่ในระเบียบข้อบังคับของบริษัทจำเลย. บริษัทจำเลยมีสิทธิไล่ออก. ส่วนการจ่ายเงินเดือนให้คนขับและคนเก็บตั๋วเป็นหน้าที่ของเจ้าของรถ. ดังนี้ แม้รถคันนี้จะเป็นของ ซ.แต่ซ. ยินยอมให้บริษัทจำเลยนำมาใช้เดินรับส่งคนโดยสารบนเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลย ในกิจการของบริษัทจำเลย ในนามและในฐานะที่เป็นรถของบริษัทจำเลย. หาใช่ ซ. นำมาเดินรับส่งคนโดยสารเป็นส่วนตัวไม่. และการที่บริษัทจำเลยคิดค่าธรรมเนียมจาก ซ. ในการนำรถมาเดินร่วม ก็เป็นวิธีการแบ่งผลประโยชน์รายได้ระหว่างกันอย่างหนึ่ง. ได้ชื่อว่าบริษัทจำเลยมีและใช้รถคันนี้อย่างที่เป็นของบริษัทจำเลยในกิจการของบริษัทจำเลยแล้ว โดยบริษัทจำเลยและ ซ. มีผลประโยชน์ร่วมกันในการนี้. การที่ ส. ได้ยินยอมเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ขับรถยนต์รับส่งคนโดยสารในกิจการของบริษัทจำเลย โดยที่ ซ.นำเข้ามา.นับว่าส. มีฐานะเป็นลูกจ้างของบริษัทจำเลยปฏิบัติหน้าที่ขับรถยนต์รับส่งคนโดยสารในทางการที่จำเลยจ้างด้วย. ใครจะเป็นผู้จัดหา ส. มาขับรถไม่สำคัญ. และแม้ ซ.จะเป็นผู้จ่ายเงินเดือนให้ส.ก็เป็นเพียงข้อตกลงภายในระหว่างบริษัทจำเลยกับ ซ. ซึ่งมีผลประโยชน์ร่วมกัน และเป็นการปฏิบัติตามระเบียบของบริษัทจำเลยเท่านั้น. ไม่ทำให้การเป็นนายจ้างและลูกจ้างระหว่างบริษัทจำเลยกับ ส.เปลี่ยนแปลงไป.เมื่อส.ปฏิบัติหน้าที่ขับรถในกิจการของบริษัทจำเลย. บริษัทจำเลยย่อมต้องร่วมรับผิดกับ ส.ในผลแห่งละเมิดซึ่งส. กระทำไปนั้นด้วย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1252/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสัมพันธ์นายจ้าง-ลูกจ้างกรณีรถร่วม: แม้เจ้าของรถจ่ายเงินเดือน แต่บริษัทมีอำนาจควบคุมและรับผิดชอบต่อการกระทำของคนขับ
รถยนต์โดยสารเลขทะเบียน ร.บ.00844 เป็นของ ซ. นำมาเดินร่วมกับบริษัทจำเลยในเส้นทางสัมปทาน รถที่เข้ามาเดินร่วมเช่นนี้ต้องตีเบอร์ ใช้ตรา และทาสีของบริษัทจำเลยทั้งรถ คนขับ และคนเก็บตั๋ว ต้องอยู่ในระเบียบข้อบังคับของบริษัทจำเลย บริษัทจำเลยมีสิทธิไล่ออก ส่วนการจ่ายเงินเดือนให้คนขับและคนเก็บตั๋วเป็นหน้าที่ของเจ้าของรถ ดังนี้ แม้รถคันนี้จะเป็นของ ซ. แต่ ซ. ยินยอมให้บริษัทจำเลยนำมาใช้เดินรับส่งคนโดยสารบนเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลย ในกิจการของบริษัทจำเลย ในนามและในฐานะที่เป็นรถของบริษัทจำเลย หาใช่ ซ. นำมาเดินรับส่งคนโดยสารเป็นส่วนตัวไม่ และการที่บริษัทจำเลยคิดค่าธรรมเนียมจาก ซ. ในการนำรถมาเดินร่วม ก็เป็นวิธีการแบ่งผลประโยชน์รายได้ระหว่างกันอย่างหนึ่ง ได้ชื่อว่าบริษัทจำเลยมีและใช้รถคันนี้อย่างที่เป็นของบริษัทจำเลยในกิจการของบริษัทจำเลยแล้ว โดยบริษัทจำเลยและ ซ. มีผลประโยชน์ร่วมกันในการนี้ การที่ ส. ได้ยินยอมเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ขับรถยนต์รับส่งคนโดยสารในกิจการของบริษัทจำเลย โดยที่ ซ. นำเข้ามา นับว่า ส. มีฐานะเป็นลูกจ้างของบริษัทจำเลยปฏิบัติหน้าที่ขับรถยนต์รับส่งคนโดยสารในทางการที่จำเลยจ้างด้วย ใครจะเป็นผู้จัดหา ส. มาขับรถไม่สำคัญ และแม้ ซ. จะเป็นผู้จ่ายเงินเดือนให้ ส.ก็เป็นเพียงข้อตกลงภายในระหว่างบริษัทจำเลยกับ ซ. ซึ่งมีผลประโยชน์ร่วมกัน และเป็นการปฏิบัติตามระเบียบของบริษัทจำเลยเท่านั้น ไม่ทำให้การเป็นนายจ้างและลูกจ้างระหว่างบริษัทจำเลยกับ ส. เปลี่ยนแปลงไป เมื่อ ส.ปฏิบัติหน้าที่ขับรถในกิจการของบริษัทจำเลย บริษัทจำเลยย่อมต้องร่วมรับผิดกับ ส. ในผลแห่งละเมิดซึ่ง ส. กระทำไปนั้นด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1225/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องแย่งการครอบครอง และฟ้องซ้ำ: การรบกวนการครอบครองเพียงครั้งเดียวไม่ทำให้ขาดอายุความ
จำเลยเข้ารบกวนการครอบครองเพียงครั้งเดียว โจทก์นำคดีมาฟ้องเป็นเวลาเกินกว่า 1 ปี ภายหลังจากที่โจทก์ถูกรบกวนในครั้งนั้น โจทก์จึงหมดสิทธิที่จะฟ้องคดีเพื่อปลดเปลื้องการรบกวนต่อไป
คดีก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้องโจทก์ โดยวินิจฉัยว่าประธานกรรมการและกรรมการบริษัทโจทก์ไม่มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทประการหนึ่ง และโจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลยเพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครองอีกประการหนึ่ง โจทก์จึงกลับมาฟ้องจำเลยเป็นคดีนี้อีก ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยว่าฟ้องของโจทก์ไม่เป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียแล้ว ก็ย่อมไม่มีอำนาจที่จะวินิจฉัยในประเด็นอื่นที่เกี่ยวกับฟ้องของโจทก์ได้ เพราะการที่จะวินิจฉัยไปถึงประเด็นอื่นดังกล่าวได้ ฟ้องของโจทก์จะต้องเป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียก่อน ฉะนั้น ที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยไว้ในคดีก่อนด้วยว่า โจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลย เพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครอง จึงเป็นคำวินิจฉัยที่เกินเลยไปจะถือว่ามีคำพิพากษาถึงที่สุดในประเด็นข้อนี้แล้วไม่ได้ โจทก์นำคดีนี้มาฟ้องจึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ
คดีก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้องโจทก์ โดยวินิจฉัยว่าประธานกรรมการและกรรมการบริษัทโจทก์ไม่มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทประการหนึ่ง และโจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลยเพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครองอีกประการหนึ่ง โจทก์จึงกลับมาฟ้องจำเลยเป็นคดีนี้อีก ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยว่าฟ้องของโจทก์ไม่เป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียแล้ว ก็ย่อมไม่มีอำนาจที่จะวินิจฉัยในประเด็นอื่นที่เกี่ยวกับฟ้องของโจทก์ได้ เพราะการที่จะวินิจฉัยไปถึงประเด็นอื่นดังกล่าวได้ ฟ้องของโจทก์จะต้องเป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียก่อน ฉะนั้น ที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยไว้ในคดีก่อนด้วยว่า โจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลย เพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครอง จึงเป็นคำวินิจฉัยที่เกินเลยไปจะถือว่ามีคำพิพากษาถึงที่สุดในประเด็นข้อนี้แล้วไม่ได้ โจทก์นำคดีนี้มาฟ้องจึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1225/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องแย่งการครอบครอง และฟ้องซ้ำ: ศาลยกฟ้องเนื่องจากฟ้องเกิน 1 ปี และคดีก่อนถึงที่สุด
จำเลยเข้ารบกวนการครอบครองเพียงครั้งเดียว โจทก์นำคดีมาฟ้องเป็นเวลาเกินกว่า 1 ปี ภายหลังจากที่โจทก์ถูกรบกวนในครั้งนั้น โจทก์จึงหมดสิทธิที่จะฟ้องคดีเพื่อปลดเปลื้องการรบกวนต่อไป
คดีก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้องโจทก์ โดยวินิจฉัยว่าประธานกรรมการและกรรมการบริษัทโจทก์ไม่มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทประการหนึ่ง และโจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลยเพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครองอีกประการหนึ่ง โจทก์จึงกลับมาฟ้องจำเลยเป็นคดีนี้อีก ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยว่าฟ้องของโจทก์ไม่เป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียแล้ว ก็ย่อมไม่มีอำนาจที่จะวินิจฉัยในประเด็นอื่นที่เกี่ยวกับฟ้องของโจทก์ได้ เพราะการที่จะวินิจฉัยไปถึงประเด็นอื่นดังกล่าวได้ ฟ้องของโจทก์จะต้องเป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียก่อนฉะนั้น ที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยไว้ในคดีก่อนด้วยว่า โจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลย เพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครอง จึงเป็นคำวินิจฉัยที่เกินเลยไปจะถือว่ามีคำพิพากษาถึงที่สุดในประเด็นข้อนี้แล้วไม่ได้ โจทก์นำคดีนี้มาฟ้องจึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ
คดีก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้องโจทก์ โดยวินิจฉัยว่าประธานกรรมการและกรรมการบริษัทโจทก์ไม่มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทประการหนึ่ง และโจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลยเพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครองอีกประการหนึ่ง โจทก์จึงกลับมาฟ้องจำเลยเป็นคดีนี้อีก ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยว่าฟ้องของโจทก์ไม่เป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียแล้ว ก็ย่อมไม่มีอำนาจที่จะวินิจฉัยในประเด็นอื่นที่เกี่ยวกับฟ้องของโจทก์ได้ เพราะการที่จะวินิจฉัยไปถึงประเด็นอื่นดังกล่าวได้ ฟ้องของโจทก์จะต้องเป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียก่อนฉะนั้น ที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยไว้ในคดีก่อนด้วยว่า โจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลย เพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครอง จึงเป็นคำวินิจฉัยที่เกินเลยไปจะถือว่ามีคำพิพากษาถึงที่สุดในประเด็นข้อนี้แล้วไม่ได้ โจทก์นำคดีนี้มาฟ้องจึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ