พบผลลัพธ์ทั้งหมด 586 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1225/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องแย่งการครอบครอง และฟ้องซ้ำ: ศาลยกฟ้องเนื่องจากฟ้องเกิน 1 ปี และคดีก่อนถึงที่สุด
จำเลยเข้ารบกวนการครอบครองเพียงครั้งเดียว โจทก์นำคดีมาฟ้องเป็นเวลาเกินกว่า 1 ปี ภายหลังจากที่โจทก์ถูกรบกวนในครั้งนั้น โจทก์จึงหมดสิทธิที่จะฟ้องคดีเพื่อปลดเปลื้องการรบกวนต่อไป
คดีก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้องโจทก์ โดยวินิจฉัยว่าประธานกรรมการและกรรมการบริษัทโจทก์ไม่มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทประการหนึ่ง และโจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลยเพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครองอีกประการหนึ่ง โจทก์จึงกลับมาฟ้องจำเลยเป็นคดีนี้อีก ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยว่าฟ้องของโจทก์ไม่เป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียแล้ว ก็ย่อมไม่มีอำนาจที่จะวินิจฉัยในประเด็นอื่นที่เกี่ยวกับฟ้องของโจทก์ได้ เพราะการที่จะวินิจฉัยไปถึงประเด็นอื่นดังกล่าวได้ ฟ้องของโจทก์จะต้องเป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียก่อนฉะนั้น ที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยไว้ในคดีก่อนด้วยว่า โจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลย เพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครอง จึงเป็นคำวินิจฉัยที่เกินเลยไปจะถือว่ามีคำพิพากษาถึงที่สุดในประเด็นข้อนี้แล้วไม่ได้ โจทก์นำคดีนี้มาฟ้องจึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ
คดีก่อนศาลชั้นต้นพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้องโจทก์ โดยวินิจฉัยว่าประธานกรรมการและกรรมการบริษัทโจทก์ไม่มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัทประการหนึ่ง และโจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลยเพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครองอีกประการหนึ่ง โจทก์จึงกลับมาฟ้องจำเลยเป็นคดีนี้อีก ดังนี้ เมื่อศาลชั้นต้นได้วินิจฉัยว่าฟ้องของโจทก์ไม่เป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียแล้ว ก็ย่อมไม่มีอำนาจที่จะวินิจฉัยในประเด็นอื่นที่เกี่ยวกับฟ้องของโจทก์ได้ เพราะการที่จะวินิจฉัยไปถึงประเด็นอื่นดังกล่าวได้ ฟ้องของโจทก์จะต้องเป็นฟ้องที่ชอบด้วยกฎหมายเสียก่อนฉะนั้น ที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัยไว้ในคดีก่อนด้วยว่า โจทก์หมดสิทธิฟ้องจำเลย เพราะไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันถูกแย่งการครอบครอง จึงเป็นคำวินิจฉัยที่เกินเลยไปจะถือว่ามีคำพิพากษาถึงที่สุดในประเด็นข้อนี้แล้วไม่ได้ โจทก์นำคดีนี้มาฟ้องจึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1200/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเข้ามาในราชอาณาจักรโดยต่างด้าวที่ต้องห้ามและการตีความหนังสือขอความร่วมมือของเจ้าหน้าที่
พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2493 มาตรา 15(7) บัญญัติถึงลักษณะคนต่างด้าวที่ต้องห้ามเข้ามาในราชอาณาจักรว่า 'มีพฤติการณ์เป็นที่น่าเชื่อว่าเป็นคนอันธพาลหรือเป็นคนที่น่าจะก่อเหตุร้าย. หรืออันตรายต่อความปลอดภัยของประชาชนหรือราชอาณาจักร'. แต่โจทก์มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในคำฟ้องให้เห็นว่า ผู้โดยสารที่จำเลยนำมากับเครื่องบินเป็นคนต่างด้าวที่มีลักษณะเช่นนั้น. โจทก์กล่าวหาในฟ้องแต่ประการเดียวว่า ผู้โดยสารคนนั้นเป็นคนต่างด้าวที่ต้องห้ามเข้ามาในราชอาณาจักร. เพราะมีเชื้อชาติรูเมเนียในเครือของประเทศคอมมิวนิสต์. ซึ่งไม่มีสัมพันธ์ไมตรีทางการทูตกับประเทศไทย. ข้อกล่าวหาของโจทก์จึงมิได้แสดงว่า ผู้โดยสารคนนั้นเป็นคนต่างด้าวที่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 15(7)แต่อย่างใด.
หนังสือของกองตรวจคนเข้าเมืองถึงบริษัทการบินทุกบริษัทมีความว่า. ขอมิให้รับบุคคลสัญชาติของประเทศที่ไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยหรือคนของประเทศค่ายคอมมิวนิสต์. และไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยเข้ามาในราชอาณาจักร. หรือเดินทางต่อไปประเทศอื่น. เป็นเพียงการขอความร่วมมือ. ดังนั้น การที่บุคคลดังกล่าวเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืนหนังสือฉบับนี้. หรือการที่จำเลยรับบุคคลดังกล่าวนี้มากับเครื่องบินของจำเลยมาลงที่ท่าอากาศยานกรุงเทพฯ เพื่อบินต่อไปยังประเทศออสเตรเลีย. โดยไม่ต้องด้วยหนังสือขอความร่วมมือ. จึงหาเป็นความผิดตามกฎหมายอย่างใดไม่.
หนังสือของกองตรวจคนเข้าเมืองถึงบริษัทการบินทุกบริษัทมีความว่า. ขอมิให้รับบุคคลสัญชาติของประเทศที่ไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยหรือคนของประเทศค่ายคอมมิวนิสต์. และไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยเข้ามาในราชอาณาจักร. หรือเดินทางต่อไปประเทศอื่น. เป็นเพียงการขอความร่วมมือ. ดังนั้น การที่บุคคลดังกล่าวเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืนหนังสือฉบับนี้. หรือการที่จำเลยรับบุคคลดังกล่าวนี้มากับเครื่องบินของจำเลยมาลงที่ท่าอากาศยานกรุงเทพฯ เพื่อบินต่อไปยังประเทศออสเตรเลีย. โดยไม่ต้องด้วยหนังสือขอความร่วมมือ. จึงหาเป็นความผิดตามกฎหมายอย่างใดไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1200/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเข้ามาในราชอาณาจักรโดยมีเชื้อชาติจากประเทศที่ไม่มีสัมพันธ์ทางการทูต ไม่ถือเป็นความผิดตามกฎหมายคนเข้าเมืองหากไม่มีลักษณะต้องห้ามอื่น
พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2493 มาตรา 15(7) บัญญัติถึงลักษณะคนต่างด้าวที่ต้องห้ามเข้ามาในราชอาณาจักรว่า "มีพฤติการณ์เป็นที่น่าเชื่อว่าเป็นคนอันธพาลหรือเป็นคนที่น่าจะก่อเหตุร้าย หรืออันตรายต่อความปลอดภัยของประชาชนหรือราชอาณาจักร" แต่โจทก์มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในคำฟ้องให้เห็นว่า ผู้โดยสารที่จำเลยนำมากับเครื่องบินเป็นคนต่างด้าวที่มีลักษณะเช่นนั้น โจทก์กล่าวหาในฟ้องแต่ประการเดียวว่า ผู้โดยสารคนนั้นเป็นคนต่างด้าวที่ต้องห้ามเข้ามาในราชอาณาจักร เพราะมีเชื้อชาติรูเมเนียในเครือของประเทศคอมมิวนิสต์ ซึ่งไม่มีสัมพันธ์ไมตรีทางการทูตกับประเทศไทย ข้อกล่าวหาของโจทก์จึงมิได้แสดงว่า ผู้โดยสารคนนั้นเป็นคนต่างด้าวที่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 15(7) แต่อย่างใด
หนังสือของกองตรวจคนเข้าเมืองถึงบริษัทการบินทุกบริษัทมีความว่า ขอมิให้รับบุคคลสัญชาติของประเทศที่ไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยหรือคนของประเทศค่ายคอมมิวนิสต์ และไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยเข้ามาในราชอาณาจักร หรือเดินทางต่อไปประเทศอื่น เป็นเพียงการขอความร่วมมือ ดังนั้น การที่บุคคลดังกล่าวเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืนหนังสือฉบับนี้ หรือการที่จำเลยรับบุคคลดังกล่าวนี้มากับเครื่องบินของจำเลยมาลงที่ท่าอากาศยานกรุงเทพฯ เพื่อบินต่อไปยังประเทศออสเตรเลีย โดยไม่ต้องด้วยหนังสือขอความร่วมมือ จึงหาเป็นความผิดตามกฎหมายอย่างใดไม่
หนังสือของกองตรวจคนเข้าเมืองถึงบริษัทการบินทุกบริษัทมีความว่า ขอมิให้รับบุคคลสัญชาติของประเทศที่ไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยหรือคนของประเทศค่ายคอมมิวนิสต์ และไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยเข้ามาในราชอาณาจักร หรือเดินทางต่อไปประเทศอื่น เป็นเพียงการขอความร่วมมือ ดังนั้น การที่บุคคลดังกล่าวเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืนหนังสือฉบับนี้ หรือการที่จำเลยรับบุคคลดังกล่าวนี้มากับเครื่องบินของจำเลยมาลงที่ท่าอากาศยานกรุงเทพฯ เพื่อบินต่อไปยังประเทศออสเตรเลีย โดยไม่ต้องด้วยหนังสือขอความร่วมมือ จึงหาเป็นความผิดตามกฎหมายอย่างใดไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1200/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเข้ามาในราชอาณาจักรโดยมีเชื้อชาติจากประเทศที่ไม่มีสัมพันธ์ทางการทูต ไม่ถือเป็นความผิดตามกฎหมายคนเข้าเมืองหากไม่มีพฤติการณ์ต้องห้าม
พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2493 มาตรา 15(7) บัญญัติถึงลักษณะคนต่างด้าวที่ต้องห้ามเข้ามาในราชอาณาจักรว่า 'มีพฤติการณ์เป็นที่น่าเชื่อว่าเป็นคนอันธพาลหรือเป็นคนที่น่าจะก่อเหตุร้าย หรืออันตรายต่อความปลอดภัยของประชาชนหรือราชอาณาจักร' แต่โจทก์มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในคำฟ้องให้เห็นว่า ผู้โดยสารที่จำเลยนำมากับเครื่องบินเป็นคนต่างด้าวที่มีลักษณะเช่นนั้น โจทก์กล่าวหาในฟ้องแต่ประการเดียวว่า ผู้โดยสารคนนั้นเป็นคนต่างด้าวที่ต้องห้ามเข้ามาในราชอาณาจักร เพราะมีเชื้อชาติรูเมเนียในเครือของประเทศคอมมิวนิสต์ ซึ่งไม่มีสัมพันธ์ไมตรีทางการทูตกับประเทศไทย ข้อกล่าวหาของโจทก์จึงมิได้แสดงว่า ผู้โดยสารคนนั้นเป็นคนต่างด้าวที่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 15(7)แต่อย่างใด
หนังสือของกองตรวจคนเข้าเมืองถึงบริษัทการบินทุกบริษัทมีความว่า ขอมิให้รับบุคคลสัญชาติของประเทศที่ไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยหรือคนของประเทศค่ายคอมมิวนิสต์ และไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยเข้ามาในราชอาณาจักร หรือเดินทางต่อไปประเทศอื่น เป็นเพียงการขอความร่วมมือ ดังนั้น การที่บุคคลดังกล่าวเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืนหนังสือฉบับนี้ หรือการที่จำเลยรับบุคคลดังกล่าวนี้มากับเครื่องบินของจำเลยมาลงที่ท่าอากาศยานกรุงเทพฯ เพื่อบินต่อไปยังประเทศออสเตรเลีย โดยไม่ต้องด้วยหนังสือขอความร่วมมือ จึงหาเป็นความผิดตามกฎหมายอย่างใดไม่
หนังสือของกองตรวจคนเข้าเมืองถึงบริษัทการบินทุกบริษัทมีความว่า ขอมิให้รับบุคคลสัญชาติของประเทศที่ไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยหรือคนของประเทศค่ายคอมมิวนิสต์ และไม่มีสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทยเข้ามาในราชอาณาจักร หรือเดินทางต่อไปประเทศอื่น เป็นเพียงการขอความร่วมมือ ดังนั้น การที่บุคคลดังกล่าวเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืนหนังสือฉบับนี้ หรือการที่จำเลยรับบุคคลดังกล่าวนี้มากับเครื่องบินของจำเลยมาลงที่ท่าอากาศยานกรุงเทพฯ เพื่อบินต่อไปยังประเทศออสเตรเลีย โดยไม่ต้องด้วยหนังสือขอความร่วมมือ จึงหาเป็นความผิดตามกฎหมายอย่างใดไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1177-1178/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำขอท้ายฟ้องเพิ่มเติมและการไม่ฎีกาคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่สามารถเพิ่มค่าเสียหายให้โจทก์ได้
เดิม คำขอท้ายฟ้องของโจทก์ขอให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายฐานละเมิดเป็นเงิน 750 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ7 ครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจะชำระเสร็จ ต่อมาโจทก์ยื่นคำร้องขอแก้เพิ่มเติมฟ้องเฉพาะคำขอข้อนี้ว่า ให้จำเลยใช้ค่าเสียหายฐานละเมิดเป็นเงินปีละ 750 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะออกไปจากที่ดินของโจทก์ ศาลชั้นต้นอนุญาตแล้วแต่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายให้โจทก์คนละ 750 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจะชำระเสร็จ. โจทก์มิได้ฎีกา เป็นแต่ยื่นคำแถลงการณ์ว่าคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในข้อนี้ไม่ชัดเจนขอให้พิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ปีละ 750 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะออกไปจากที่ดินของโจทก์ ดังนี้ การที่จะพิพากษาให้เป็นไปตามที่โจทก์กล่าวในคำแถลงการณ์ จะเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับค่าเสียหายเพิ่มขึ้นจากคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ เป็นการวินิจฉัยประเด็นแห่งคดี มิใช่เป็นการแก้ไขให้ชัดเจนขึ้นเท่านั้น แม้ศาลอุทธรณ์จะไม่ได้พิพากษาให้เป็นไปตามคำขอท้ายฟ้องของโจทก์ที่ขอแก้ไขเพิ่มเติม หากโจทก์ไม่พอใจ ก็ชอบที่จะฎีกาคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ แต่เมื่อโจทก์ไม่ฎีกา ศาลฎีกาย่อมจะแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้โจทก์ได้รับค่าเสียหายเพิ่มขึ้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1177-1178/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำขอท้ายฟ้องและการฎีกา ศาลฎีกามิอาจแก้คำพิพากษาให้โจทก์ได้ประโยชน์เกินกว่าที่ศาลอุทธรณ์พิพากษา
เดิม คำขอท้ายฟ้องของโจทก์ขอให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายฐานละเมิดเป็นเงิน 750 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ7 ครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจะชำระเสร็จ ต่อมาโจทก์ยื่นคำร้องขอแก้เพิ่มเติมฟ้องเฉพาะคำขอข้อนี้ว่า ให้จำเลยใช้ค่าเสียหายฐานละเมิดเป็นเงินปีละ 750 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะออกไปจากที่ดินของโจทก์ ศาลชั้นต้นอนุญาตแล้ว แต่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายให้โจทก์คนละ750 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจะชำระเสร็จ โจทก์มิได้ฎีกา เป็นแต่ยื่นคำแถลงการณ์ว่าคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในข้อนี้ไม่ชัดเจนขอให้พิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ปีละ 750 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะออกไปจากที่ดินของโจทก์ ดังนี้ การที่จะพิพากษาให้เป็นไปตามที่โจทก์กล่าวในคำแถลงการณ์ จะเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับค่าเสียหายเพิ่มขึ้นจากคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ เป็นการวินิจฉัยประเด็นแห่งคดี มิใช่เป็นการแก้ไขให้ชัดเจนขึ้นเท่านั้น แม้ศาลอุทธรณ์จะไม่ได้พิพากษาให้เป็นไปตามคำขอท้ายฟ้องของโจทก์ที่ขอแก้ไขเพิ่มเติม หากโจทก์ไม่พอใจ ก็ชอบที่จะฎีกาคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ แต่เมื่อโจทก์ไม่ฎีกา ศาลฎีกาย่อมจะแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้โจทก์ได้รับค่าเสียหายเพิ่มขึ้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1177-1178/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขคำขอท้ายฟ้องและการฎีกา ศาลฎีกาไม่สามารถเพิ่มค่าเสียหายจากคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ได้หากไม่ได้ฎีกา
เดิม คำขอท้ายฟ้องของโจทก์ขอให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายฐานละเมิดเป็นเงิน 750 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ7 ครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจะชำระเสร็จ. ต่อมาโจทก์ยื่นคำร้องขอแก้เพิ่มเติมฟ้องเฉพาะคำขอข้อนี้ว่า ให้จำเลยใช้ค่าเสียหายฐานละเมิดเป็นเงินปีละ 750 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะออกไปจากที่ดินของโจทก์. ศาลชั้นต้นอนุญาตแล้ว.แต่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายให้โจทก์คนละ750 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจะชำระเสร็จ. โจทก์มิได้ฎีกา. เป็นแต่ยื่นคำแถลงการณ์ว่าคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในข้อนี้ไม่ชัดเจนขอให้พิพากษาให้จำเลยใช้ค่าเสียหายให้โจทก์ปีละ 750 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี นับแต่วันฟ้องจนกว่าจำเลยจะออกไปจากที่ดินของโจทก์. ดังนี้ การที่จะพิพากษาให้เป็นไปตามที่โจทก์กล่าวในคำแถลงการณ์ จะเป็นเหตุให้โจทก์ได้รับค่าเสียหายเพิ่มขึ้นจากคำพิพากษาศาลอุทธรณ์. เป็นการวินิจฉัยประเด็นแห่งคดี มิใช่เป็นการแก้ไขให้ชัดเจนขึ้นเท่านั้น. แม้ศาลอุทธรณ์จะไม่ได้พิพากษาให้เป็นไปตามคำขอท้ายฟ้องของโจทก์ที่ขอแก้ไขเพิ่มเติม. หากโจทก์ไม่พอใจ. ก็ชอบที่จะฎีกาคำพิพากษาศาลอุทธรณ์. แต่เมื่อโจทก์ไม่ฎีกา. ศาลฎีกาย่อมจะแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้โจทก์ได้รับค่าเสียหายเพิ่มขึ้นไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1172/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่เก็บรักษาเงินของสมุหบัญชีโรงเรียน แม้มีคณะกรรมการเก็บรักษาเงินอื่น ก็ยังต้องรับผิดชอบต่อการรักษาทรัพย์
ในฐานะสมุหบัญชีมีหน้าที่เก็บรักษาเงินของโรงเรียน จำเลยย่อมอยู่ในฐานะผู้เก็บรักษาทรัพย์ตามกฎหมาย และย่อมไม่พ้นจากหน้าที่ดังกล่าว แม้จะมีคณะกรรมการเก็บรักษาเงินต่างหากอีกส่วนหนึ่งก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1172/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่รักษาทรัพย์: สมุหบัญชีมีหน้าที่เก็บรักษาเงินโรงเรียน แม้มีคณะกรรมการอื่นก็ไม่พ้นความรับผิด
ในฐานะสมุหบัญชีมีหน้าที่เก็บรักษาเงินของโรงเรียน.จำเลยย่อมอยู่ในฐานะผู้เก็บรักษาทรัพย์ตามกฎหมาย และย่อมไม่พ้นจากหน้าที่ดังกล่าว. แม้จะมีคณะกรรมการเก็บรักษาเงินต่างหากอีกส่วนหนึ่งก็ตาม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1172/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่รักษาทรัพย์ของสมุหบัญชีโรงเรียน แม้มีคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน ก็ยังต้องรับผิดชอบในการเก็บรักษาเงินตามหน้าที่
ในฐานะสมุหบัญชีมีหน้าที่เก็บรักษาเงินของโรงเรียนจำเลยย่อมอยู่ในฐานะผู้เก็บรักษาทรัพย์ตามกฎหมาย และย่อมไม่พ้นจากหน้าที่ดังกล่าว แม้จะมีคณะกรรมการเก็บรักษาเงินต่างหากอีกส่วนหนึ่งก็ตาม