พบผลลัพธ์ทั้งหมด 586 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 244/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีแทนผู้เยาว์โดยพนักงานอัยการ และการละเลยอายุความมรดกจากการเจรจาต่อรอง
พนักงานอัยการมีสิทธิยกคดีขึ้นกล่าวตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1534 ได้. โดยผู้เยาว์ไม่ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน.
จำเลยไม่ได้ปฏิเสธว่าโจทก์ไม่มีสิทธิได้รับมรดกเสียเลย. แต่ยอมให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดกโดยเกี่ยงกันในเรื่องจำนวนเนื้อที่ที่จะแบ่งให้มากหรือน้อยเท่านั้น.จนกระทั่งล่วงเลยกำหนดอายุความมรดก 1 ปี. ก็ยังโต้เถียงกันแต่ในเรื่องจำนวนเนื้อที่ และขัดข้องในการที่ให้โจทก์บางคนซึ่งเป็นผู้เยาว์ต้องมีผู้แทนโดยชอบธรรมร้องขออนุญาตต่อศาลก่อนเท่านั้น. ย่อมถือได้ว่าจำเลยได้ละเสียแล้วซึ่งประโยชน์แห่งอายุความโดยปริยายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 192. จำเลยจึงยกอายุความขึ้นต่อสู้โจทก์ไม่ได้.
ตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 บัญญัติให้ผู้เยาว์จะเสนอข้อหาต่อศาลได้โดยได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน และการให้ความยินยอมเช่นนี้ต้องทำเป็นหนังสือยื่นต่อศาลนั้น. เพื่อรวมไว้ในสำนวนความ ก็เป็นเรื่องที่ผู้เยาว์ใช้สิทธิฟ้องร้องนั่นเอง.
จำเลยไม่ได้ปฏิเสธว่าโจทก์ไม่มีสิทธิได้รับมรดกเสียเลย. แต่ยอมให้โจทก์ได้รับส่วนแบ่งมรดกโดยเกี่ยงกันในเรื่องจำนวนเนื้อที่ที่จะแบ่งให้มากหรือน้อยเท่านั้น.จนกระทั่งล่วงเลยกำหนดอายุความมรดก 1 ปี. ก็ยังโต้เถียงกันแต่ในเรื่องจำนวนเนื้อที่ และขัดข้องในการที่ให้โจทก์บางคนซึ่งเป็นผู้เยาว์ต้องมีผู้แทนโดยชอบธรรมร้องขออนุญาตต่อศาลก่อนเท่านั้น. ย่อมถือได้ว่าจำเลยได้ละเสียแล้วซึ่งประโยชน์แห่งอายุความโดยปริยายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 192. จำเลยจึงยกอายุความขึ้นต่อสู้โจทก์ไม่ได้.
ตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 56 บัญญัติให้ผู้เยาว์จะเสนอข้อหาต่อศาลได้โดยได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน และการให้ความยินยอมเช่นนี้ต้องทำเป็นหนังสือยื่นต่อศาลนั้น. เพื่อรวมไว้ในสำนวนความ ก็เป็นเรื่องที่ผู้เยาว์ใช้สิทธิฟ้องร้องนั่นเอง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 243/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานฟ้องเท็จต้องมีเจตนาและข้อกล่าวหาว่าผู้อื่นกระทำความผิดอาญา การบรรยายฟ้องเพื่อแสดงอำนาจฟ้องไม่เป็นความผิด
ความผิดฐานฟ้องเท็จตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 175. ต้องเป็นการเอาความอันเป็นเท็จฟ้องผู้อื่นต่อศาลว่ากระทำความผิดอาญา. และผู้กระทำจะต้องรู้ว่าความที่นำไปฟ้องนั้นเป็นเท็จด้วย. เพียงแต่จำเลยบรรยายฟ้อง. เพื่อให้เห็นว่ามีอำนาจฟ้องในคดีนั้นโดยไม่ใช่ข้อกล่าวหาว่าโจทก์กระทำผิด. หรือจำเลยไม่รู้ว่าความที่นำไปฟ้องนั้นเป็นเท็จ.จำเลยย่อมไม่มีความผิดตามมาตรา 175.
ชั้นไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญา ถ้าคดีไม่มีมูลให้พิพากษายกฟ้อง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 167 นั้น. จะทำเป็นรูปคำพิพากษาหรือคำสั่งก็ได้แต่ต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งมาตรา 186. โดยต้องมีข้อเท็จจริงซึ่งพิจารณาได้ความและเหตุผลในการตัดสิน ทั้งในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายตามควรแก่รูปคดีในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง.
ชั้นไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญา ถ้าคดีไม่มีมูลให้พิพากษายกฟ้อง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 167 นั้น. จะทำเป็นรูปคำพิพากษาหรือคำสั่งก็ได้แต่ต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งมาตรา 186. โดยต้องมีข้อเท็จจริงซึ่งพิจารณาได้ความและเหตุผลในการตัดสิน ทั้งในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายตามควรแก่รูปคดีในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 243/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฟ้องเท็จตามมาตรา 175 ต้องมีเจตนาและข้อกล่าวหาความผิดอาญาชัดเจน การบรรยายฟ้องเพื่อแสดงอำนาจฟ้องไม่ถือเป็นความผิด
ความผิดฐานฟ้องเท็จตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 175ต้องเป็นการเอาความอันเป็นเท็จฟ้องผู้อื่นต่อศาลว่ากระทำความผิดอาญา และผู้กระทำจะต้องรู้ว่าความที่นำไปฟ้องนั้นเป็นเท็จด้วยเพียงแต่จำเลยบรรยายฟ้อง เพื่อให้เห็นว่ามีอำนาจฟ้องในคดีนั้นโดยไม่ใช่ข้อกล่าวหาว่าโจทก์กระทำผิด หรือจำเลยไม่รู้ว่าความที่นำไปฟ้องนั้นเป็นเท็จจำเลยย่อมไม่มีความผิดตามมาตรา 175
ชั้นไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญา ถ้าคดีไม่มีมูลให้พิพากษายกฟ้อง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 167 นั้น จะทำเป็นรูปคำพิพากษาหรือคำสั่งก็ได้แต่ต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งมาตรา 186โดยต้องมีข้อเท็จจริงซึ่งพิจารณาได้ความและเหตุผลในการตัดสิน ทั้งในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายตามควรแก่รูปคดีในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง
ชั้นไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญา ถ้าคดีไม่มีมูลให้พิพากษายกฟ้อง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 167 นั้น จะทำเป็นรูปคำพิพากษาหรือคำสั่งก็ได้แต่ต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งมาตรา 186โดยต้องมีข้อเท็จจริงซึ่งพิจารณาได้ความและเหตุผลในการตัดสิน ทั้งในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายตามควรแก่รูปคดีในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 243/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฟ้องเท็จ (มาตรา 175) ต้องมีเจตนาและกล่าวหาผู้อื่นกระทำความผิด การบรรยายฟ้องเพื่อแสดงอำนาจฟ้อง ไม่ถือเป็นความผิด
ความผิดฐานฟ้องเท็จตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 175 ต้องเป็นการเอาความอันเป็นเท็จฟ้องผู้อื่นต่อศาลว่ากระทำความผิดอาญา และผู้กระทำจะต้องรู้ว่าความที่นำไปฟ้องนั้นเป็นเท็จด้วย เพียงแต่จำเลยบรรยายฟ้อง เพื่อให้เห็นว่ามีอำนาจฟ้องในคดีนั้น โดยไม่ใช่ข้อกล่าวหาว่าโจทก์กระทำผิด หรือจำเลยไม่รู้ว่าความที่นำไปฟ้องนั้นเป็นเท็จ จำเลยย่อมไม่มีความผิดตามมาตรา 175
ชั้นไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญา ถ้าคดีไม่มีมูลให้พิพากษายกฟ้อง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 167 นั้น จะทำเป็นรูปคำพิพากษาหรือคำสั่งก็ได้แต่ต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งมาตรา 186 โดยต้องมีข้อเท็จจริงซึ่งพิจารณาได้ความและเหตุผลในการตัดสิน ทั้งในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายตามควรแก่รูปคดีในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง
ชั้นไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญา ถ้าคดีไม่มีมูลให้พิพากษายกฟ้อง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 167 นั้น จะทำเป็นรูปคำพิพากษาหรือคำสั่งก็ได้แต่ต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งมาตรา 186 โดยต้องมีข้อเท็จจริงซึ่งพิจารณาได้ความและเหตุผลในการตัดสิน ทั้งในปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายตามควรแก่รูปคดีในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 228/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องไม่ถูกต้องตามรูปแบบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ศาลฎีกายกฟ้อง
ฟ้องโจทก์ที่มิได้ลงชื่อ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(7) เป็นฟ้องที่ไม่ถูกต้อง. เมื่อคดีขึ้นสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 228/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องคดีอาญาไม่ถูกต้องตามรูปแบบ ฟ้องไม่ลงชื่อโจทก์ ศาลฎีกายกฟ้อง
ฟ้องโจทก์ที่มิได้ลงชื่อ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158 (7) เป็นฟ้องที่ไม่ถูกต้อง เมื่อคดีขึ้นมาสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 228/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องไม่ถูกต้องตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(7) ศาลฎีกายกฟ้อง
ฟ้องโจทก์ที่มิได้ลงชื่อ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158(7) เป็นฟ้องที่ไม่ถูกต้อง เมื่อคดีขึ้นสู่ศาลฎีกา ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 219/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าที่ดิน เจ้าของรวมโอนสิทธิ-หน้าที่แก่ผู้รับโอน ผู้รับโอนต้องผูกพันตามสัญญา
ผู้ร้องเช่าที่ดินซึ่งจำเลยมีกรรมสิทธิ์ร่วมกับ ส..ต่อมาได้แบ่งแยกที่ดิน. ที่ดินส่วนที่ผู้ร้องเช่าตกได้แก่ ส.แล้ว.ส.ได้โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนนี้ให้แก่โจทก์. โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่ดินส่วนของโจทก์. จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา. ศาล พิพากษาขับไล่จำเลย. โจทก์จึงขอให้บังคับผู้ร้องออกจากที่ดินนั้นในฐานะบริวารของจำเลย ดังนี้. เมื่อสัญญาเช่าระหว่างผู้ร้องกับจำเลยยังใช้บังคับได้อยู่. สัญญานี้ต้องผูกพัน ส.ผู้เป็นเจ้าของรวม. แม้ ส.โอนกรรมสิทธิ์ส่วนของตนให้โจทก์. โจทก์ย่อมต้องรับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ของ ส.ผู้โอนซึ่งมีต่อผู้ร้องตามสัญญาเช่านั้นด้วย. ผู้ร้องจึงไม่อยู่ในฐานะบริวารของจำเลย(อ้างฎีกาที่ 90/2507).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 219/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าที่ดินที่ผูกพันเจ้าของรวมและผู้รับโอนสิทธิ แม้มีการแบ่งแยกโฉนด
ผู้ร้องเช่าที่ดินซึ่งจำเลยมีกรรมสิทธิ์ร่วมกับ ส. ต่อมาได้แบ่งแยกที่ดิน ที่ดินส่วนที่ผู้ร้องเช่าตกได้แก่ ส.แล้ว ส. ได้โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนนี้ให้แก่โจทก์ โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่ดินส่วนของโจทก์ จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา ศาลพิพากษาขับไล่จำเลย โจทก์จึงขอให้บังคับผู้ร้องออกจากที่ดินนั้นในฐานะบริวารของจำเลย ดังนี้ เมื่อสัญญาเช่าระหว่างผู้ร้องกับจำเลยยังใช้บังคับได้อยู่ สัญญานี้ต้องผูกพัน ส. ผู้เป็นเจ้าของรวม แม้ ส. โอนกรรมสิทธิ์ส่วนของตนให้โจทก์ โจทก์ย่อมต้องรับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ของ ส. ผู้โอนซึ่งมีต่อผู้ร้องตามสัญญาเช่านั้นด้วย ผู้ร้องจึงไม่อยู่ในฐานะบริวารของจำเลย (อ้างฎีกาที่ 90/2507)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 219/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าที่ดิน เจ้าของรวมโอนสิทธิ ผู้รับโอนต้องผูกพันตามสัญญา
ผู้ร้องเช่าที่ดินซึ่งจำเลยมีกรรมสิทธิ์ร่วมกับ ส. ต่อมาได้แบ่งแยกที่ดินที่ดินส่วนที่ผู้ร้องเช่าตกได้แก่ส. แล้ว ส. ได้โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินส่วนนี้ให้แก่โจทก์
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่ดินส่วนของโจทก์จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา ศาล พิพากษาขับไล่จำเลย โจทก์จึงขอให้บังคับผู้ร้องออกจากที่ดินนั้นในฐานะบริวารของจำเลย ดังนี้เมื่อสัญญาเช่าระหว่างผู้ร้องกับจำเลยยังใช้บังคับได้อยู่ สัญญานี้ต้องผูกพัน ส. ผู้เป็นเจ้าของรวมแม้ ส. โอนกรรมสิทธิ์ส่วนของตนให้โจทก์โจทก์ย่อมต้องรับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ของ ส. ผู้โอนซึ่งมีต่อผู้ร้องตามสัญญาเช่านั้นด้วย ผู้ร้องจึงไม่อยู่ในฐานะบริวารของจำเลย(อ้างฎีกาที่ 90/2507)
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่ดินส่วนของโจทก์จำเลยขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา ศาล พิพากษาขับไล่จำเลย โจทก์จึงขอให้บังคับผู้ร้องออกจากที่ดินนั้นในฐานะบริวารของจำเลย ดังนี้เมื่อสัญญาเช่าระหว่างผู้ร้องกับจำเลยยังใช้บังคับได้อยู่ สัญญานี้ต้องผูกพัน ส. ผู้เป็นเจ้าของรวมแม้ ส. โอนกรรมสิทธิ์ส่วนของตนให้โจทก์โจทก์ย่อมต้องรับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ของ ส. ผู้โอนซึ่งมีต่อผู้ร้องตามสัญญาเช่านั้นด้วย ผู้ร้องจึงไม่อยู่ในฐานะบริวารของจำเลย(อ้างฎีกาที่ 90/2507)