คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
วงษ์ วีระพงศ์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 586 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1626/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การโอนสิทธิครอบครองที่ดินสาธารณประโยชน์ แม้สัญญาสัญญาซื้อขายเป็นโมฆะ แต่การส่งมอบการครอบครองมีผลผูกพัน
ที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน จำเลยครอบครองอยู่.โจทก์จำเลยทำหนังสือสัญญากัน. โดยจำเลยโอนสิทธิครอบครองที่พิพาทให้โจทก์. และโจทก์ให้เงินแก่จำเลยเป็นการตอบแทน.ดังนี้ สัญญาระหว่างโจทก์จำเลยมีลักษณะเป็นสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์. เมื่อไม่จดทะเบียน.ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่.จึงเป็นโมฆะ การบอกเลิกสัญญาของโจทก์ย่อมไม่มีผลในกฎหมาย.
แม้จะเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน และส่วนหนึ่งเป็นทางสาธารณประโยชน์. จำเลยก็มีสิทธิครอบครองที่อาจใช้ยันบุคคลอื่นได้นอกจากรัฐ. เมื่อจำเลยส่งมอบที่พิพาทให้โจทก์ครอบครอง. โจทก์ย่อมได้ไปซึ่งสิทธิครอบครอง. การที่จำเลยโอนการครอบครองที่พิพาทให้โจทก์และโจทก์ชำระเงินให้จำเลยเป็นการตอบแทนโดยทั้งสองฝ่ายทำสัญญากันเอง. เห็นได้ว่าโจทก์ยอมเสี่ยงภัยรับเอาซึ่งสิทธิครอบครองที่พิพาทในสภาพเท่าที่จำเลยมีสิทธิอยู่. จะอ้างว่าไม่ทราบว่าที่ดินดังกล่าวเป็นที่ดินและทางสาธารณประโยชน์ย่อมไม่ได้.โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกเงินคืนจากจำเลย. เพราะจำเลยรับเงินไว้จากโจทก์เป็นค่าตอบแทนในการที่จำเลยโอนสิทธิครอบครองที่พิพาทของจำเลยให้แก่โจทก์เสร็จสิ้นกันไปแล้ว.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1626/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การโอนสิทธิครอบครองที่ดินสาธารณประโยชน์ แม้สัญญามีโมฆะ แต่การส่งมอบการครอบครองมีผลผูกพัน
ที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน จำเลยครอบครองอยู่โจทก์จำเลยทำหนังสือสัญญากัน โดยจำเลยโอนสิทธิครอบครองที่พิพาทให้โจทก์ และโจทก์ให้เงินแก่จำเลยเป็นการตอบแทนดังนี้ สัญญาระหว่างโจทก์จำเลยมีลักษณะเป็นสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ เมื่อไม่จดทะเบียน ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่จึงเป็นโมฆะ การบอกเลิกสัญญาของโจทก์ย่อมไม่มีผลในกฎหมาย
แม้จะเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน และส่วนหนึ่งเป็นทางสาธารณประโยชน์ จำเลยก็มีสิทธิครอบครองที่อาจใช้ยันบุคคลอื่นได้นอกจากรัฐ เมื่อจำเลยส่งมอบที่พิพาทให้โจทก์ครอบครอง โจทก์ย่อมได้ไปซึ่งสิทธิครอบครอง การที่จำเลยโอนการครอบครองที่พิพาทให้โจทก์และโจทก์ชำระเงินให้จำเลยเป็นการตอบแทนโดยทั้งสองฝ่ายทำสัญญากันเอง เห็นได้ว่าโจทก์ยอมเสี่ยงภัยรับเอาซึ่งสิทธิครอบครองที่พิพาทในสภาพเท่าที่จำเลยมีสิทธิอยู่ จะอ้างว่าไม่ทราบว่าที่ดินดังกล่าวเป็นที่ดินและทางสาธารณประโยชน์ย่อมไม่ได้โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกเงินคืนจากจำเลย เพราะจำเลยรับเงินไว้จากโจทก์เป็นค่าตอบแทนในการที่จำเลยโอนสิทธิครอบครองที่พิพาทของจำเลยให้แก่โจทก์เสร็จสิ้นกันไปแล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1626/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การโอนสิทธิครอบครองที่ดินสาธารณประโยชน์ สัญญาซื้อขายที่จดทะเบียนไม่สมบูรณ์ และความเสี่ยงในการรับโอนสิทธิ
ที่พิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน จำเลยครอบครองอยู่โจทก์จำเลยทำหนังสือสัญญากัน โดยจำเลยโอนสิทธิครอบครองที่พิพาทให้โจทก์ และโจทก์ให้เงินแก่จำเลยเป็นการตอบแทน ดังนี้ สัญญาระหว่างโจทก์จำเลยมีลักษณะเป็นสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ เมื่อไม่จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่จึงเป็นโมฆะ การบอกเลิกสัญญาของโจทก์ย่อมไม่มีผลในกฎหมาย
แม้จะเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน และส่วนหนึ่งเป็นทางสาธารณประโยชน์ จำเลยก็มีสิทธิครอบครองที่อาจใช้ยันบุคคลอื่นได้นอกจากรัฐ เมื่อจำเลยส่งมอบที่พิพาทให้โจทก์ครอบครอง โจทก์ย่อมได้ไปซึ่งสิทธิครอบครอง การที่จำเลยโอนการครอบครองที่พิพาทให้โจทก์และโจทก์ชำระเงินให้จำเลยเป็นการตอบแทนโดยทั้งสองฝ่ายทำสัญญากันเอง เห็นได้ว่าโจทก์ยอมเสี่ยงภัยรับเอาซึ่งสิทธิครอบครองที่พิพาทในสภาพเท่าที่จำเลยมีสิทธิอยู่ จะอ้างว่าไม่ทราบว่าที่ดินดังกล่าวเป็นที่ดินและทางสาธารณประโยชน์ย่อมไม่ได้โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกเงินคืนจากจำเลย เพราะจำเลยรับเงินไว้จากโจทก์เป็นค่าตอบแทนในการที่จำเลยโอนสิทธิครอบครองที่พิพาทของจำเลยให้แก่โจทก์เสร็จสิ้นกันไปแล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1604/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การละเมิดอำนาจศาล: การไต่สวนพยานหลักฐานและการพิสูจน์ความจริง
ในความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลนั้นเป็นความผิดต่อศาล ศาลย่อมดำเนินกระบวนพิจารณาไต่สวนได้เองตามที่เห็นสมควร ไม่ว่าพยานหลักฐานเหล่านั้นฝ่ายใดจะได้อ้างหรือไม่ สำหรับกรณีที่การละเมิดอำนาจศาลได้กระทำต่อหน้าศาล ย่อมถือได้ว่าศาลได้ทราบข้อเท็จจริงนั้นจากพยานหลักฐานที่ปรากฏแก่ศาลเองแล้ว ศาลพิพากษาลงโทษในความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลไปได้ทีเดียว แต่ในกรณีที่การกระทำผิดฐานละเมิดอำนาจศาลไม่ได้กระทำต่อหน้าศาล ศาลจำต้องดำเนินกระบวนพิจารณาไต่สวนหาข้อเท็จจริงก่อนเพียงแต่สอบถามปากคำพยานโดยไม่ปรากฏว่าพยานเหล่านั้นได้สาบานตน หรือกล่าวคำปฏิญานว่าจะให้การตามสัตย์จริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 112 ถ้อยคำพยานเหล่านั้นจึงฟังเป็นความจริงยังไม่ได้ (อ้างฎีกาที่ 824/2492)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1604/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การละเมิดอำนาจศาล: ศาลมีอำนาจไต่สวน แต่ต้องพิสูจน์ข้อเท็จจริงเมื่อเหตุเกิดไม่ต่อหน้าศาล
ในความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลนั้นเป็นความผิดต่อศาล ศาลย่อมดำเนินกระบวนพิจารณาไต่สวนได้เองตามที่เห็นสมควร ไม่ว่าพยานหลักฐานเหล่านั้นฝ่ายใดจะได้อ้างหรือไม่ สำหรับกรณีที่การละเมิดอำนาจศาลได้กระทำต่อหน้าศาล ย่อมถือได้ว่าศาลได้ทราบข้อเท็จจริงนั้นจากพยานหลักฐานที่ปรากฏแก่ศาลเองแล้ว ศาลพิพากษาลงโทษในความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลไปได้ทีเดียว แต่ในกรณีที่การกระทำผิดฐานละเมิดอำนาจศาลไม่ได้กระทำต่อหน้าศาล ศาลจำต้องดำเนินกระบวนพิจารณาไต่สวนหาข้อเท็จจริงก่อนเพียงแต่สอบถามปากคำพยานโดยไม่ปรากฏว่าพยานเหล่านั้นได้สาบานตน หรือกล่าวคำปฏิญาณว่าจะให้การตามสัตย์จริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 112ถ้อยคำพยานเหล่านั้นจึงฟังเป็นความจริงยังไม่ได้ (อ้าง ฎีกาที่ 824/2492)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1604/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ละเมิดอำนาจศาล: ศาลมีอำนาจไต่สวนเองได้ แต่ต้องสอบพยานสาบานตนหากไม่ปรากฏต่อหน้าศาล
ในความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลนั้นเป็นความผิดต่อศาล. ศาลย่อมดำเนินกระบวนพิจารณาไต่สวนได้เองตามที่เห็นสมควร. ไม่ว่าพยานหลักฐานเหล่านั้นฝ่ายใดจะได้อ้างหรือไม่. สำหรับกรณีที่การละเมิดอำนาจศาลได้กระทำต่อหน้าศาล. ย่อมถือได้ว่าศาลได้ทราบข้อเท็จจริงนั้นจากพยานหลักฐานที่ปรากฏแก่ศาลเองแล้ว. ศาลพิพากษาลงโทษในความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลไปได้ทีเดียว. แต่ในกรณีที่การกระทำผิดฐานละเมิดอำนาจศาลไม่ได้กระทำต่อหน้าศาล. ศาลจำต้องดำเนินกระบวนพิจารณาไต่สวนหาข้อเท็จจริงก่อนเพียงแต่สอบถามปากคำพยานโดยไม่ปรากฏว่าพยานเหล่านั้นได้สาบานตน. หรือกล่าวคำปฏิญานว่าจะให้การตามสัตย์จริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 112.ถ้อยคำพยานเหล่านั้นจึงฟังเป็นความจริงยังไม่ได้.(อ้างฎีกาที่ 824/2492).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1560/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ฟ้องซ้ำ: คดีล้มละลาย vs. คดีเรียกทรัพย์สิน - ประเด็นต่างกัน ไม่เป็นฟ้องซ้ำ
ในคดีล้มละลายที่โจทก์ฟ้องจำเลยและศาลยกฟ้องไปแล้วนั้นมีประเด็นข้อใหญ่อยู่ว่าจำเลยมีหนี้สินล้นพ้นตัว ไม่มีทรัพย์สินจะชำระหนี้ อยู่ในเกณฑ์ที่ศาลจะพิพากษาให้ล้มละลายได้หรือไม่ ในคดีนี้มีประเด็นอยู่ว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่จริงหรือไม่ โดยโจทก์ฟ้องขอให้ชำระหนี้เงินที่จำเลยกู้เงินโจทก์ไป ซึ่งเป็นคนละประเด็นกันการวินิจฉัยในเรื่องทั้งสองนี้จึงมิได้อาศัยเหตุอย่างเดียวกัน ฟ้องโจทก์ในคดีนี้จึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ และไม่เป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144,148

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1560/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ฟ้องซ้ำหรือไม่: คดีล้มละลาย vs. คดีขอชำระหนี้เงินกู้ แม้เป็นเรื่องเดียวกันแต่ประเด็นต่างกัน
ในคดีล้มละลายที่โจทก์ฟ้องจำเลยและศาลยกฟ้องไปแล้วนั้น มีประเด็นข้อใหญ่อยู่ว่าจำเลยมีหนี้สินล้นพ้นตัว ไม่มีทรัพย์สินจะชำระหนี้ อยู่ในเกณฑ์ที่ศาลจะพิพากษาให้ล้มละลายได้หรือไม่ ในคดีนี้มีประเด็นอยู่ว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่จริงหรือไม่ โดยโจทก์ฟ้องขอให้ชำระหนี้เงินที่จำเลยกู้เงินโจทก์ไป ซึ่งเป็นคนละประเด็นกันการวินิจฉัยในเรื่องทั้งสองนี้จึงมิได้อาศัยเหตุอย่างเดียวกัน ฟ้องโจทก์ในคดีนี้จึงไม่เป็นฟ้องซ้ำและไม่เป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144, 148

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1560/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ฟ้องซ้ำ: คดีล้มละลาย vs. คดีขอชำระหนี้เงินกู้ แม้ประเด็นต่างกัน ไม่ถือฟ้องซ้ำ
ในคดีล้มละลายที่โจทก์ฟ้องจำเลยและศาลยกฟ้องไปแล้วนั้น. มีประเด็นข้อใหญ่อยู่ว่าจำเลยมีหนี้สินล้นพ้นตัว. ไม่มีทรัพย์สินจะชำระหนี้. อยู่ในเกณฑ์ที่ศาลจะพิพากษาให้ล้มละลายได้หรือไม่. ในคดีนี้มีประเด็นอยู่ว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์อยู่จริงหรือไม่. โดยโจทก์ฟ้องขอให้ชำระหนี้เงินที่จำเลยกู้เงินโจทก์ไป ซึ่งเป็นคนละประเด็นกัน.การวินิจฉัยในเรื่องทั้งสองนี้จึงมิได้อาศัยเหตุอย่างเดียวกัน. ฟ้องโจทก์ในคดีนี้จึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ.และไม่เป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 144,148.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1537/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สมุห์บัญชีอำเภอ ยักยอกเงินภาษีเข้าตนเอง มีความผิดฐานยักยอกทรัพย์
จำเลยเป็นสมุห์บัญชีอำเภอ. ไปเร่งรัดภาษีจากผู้ค้างภาษี. ผู้ค้างภาษีจึงได้ชำระเงินภาษีให้จำเลยมา. จำเลยหาได้ส่งเงินดังกล่าวต่อกรรมการรักษาเงินหรือต่อคลังจังหวัดตามระเบียบไม่. จำเลยกลับนำเงินเหล่านั้นไปใช้เป็นประโยชน์ส่วนตัวเสีย. จำเลยจึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147,151 พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2502 มาตรา 3,7. แม้ต่อมาภายหลังจำเลยจะส่งเงินทะยอยคืน. ก็หาทำให้การกระทำของจำเลยที่เกิดเป็นความผิดขึ้นแล้ว.กลับกลายเป็น.ไม่.เป็นความผิด.ไม่.
เงินภาษีอากรที่จำเลยเก็บมาดังกล่าวเป็นของรัฐบาล. เมื่อจำเลยยักยอกเอาไปใช้เป็นประโยชน์ส่วนตัวเสีย รัฐบาลย่อมเป็นผู้เสียหาย.
of 59