คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ไฉน บุญยก

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 713 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1319/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาประนีประนอมยอมความมรดกของผู้เยาว์ต้องได้รับอนุญาตจากศาล มิฉะนั้นเป็นโมฆะ
ผู้เยาว์อายุ 18 ปีมีภริยา แต่มิได้จดทะเบียนสมรส ย่อมยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ผู้เยาว์ลงนามทำสัญญาโดยมีผู้แทนโดยชอบธรรมลงลายพิมพ์นิ้วมือเป็นพยานในเอกสารสัญญานั้บถือได้ว่า ผู้แทนโดยชอบธรรมให้ความยินยอมแล้ว
ทายาททุกคนทำสัญญาแบ่งปันมรดกซึ่งไม่มีพินัยกรรม เป็นการระงับข้อพิพาทแห่งกองมรดกที่จะมีขึ้น จึงเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546 (4) ผู้ใช้อำนาจปกครองจะทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวแก่ทรัพย์สินของผู้เยาว์มิได้ เว้นแต่ศาลจะอนุญาต ดังนั้น เมื่อยังมิได้รับอนุญาตจากศาล ผู้ใช้อำนาจปกครองในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรมจึงไม่อาจให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความแบ่งปันมรดก
สัญญาประนีประนอมยอมความแบ่งปันมรดกซึ่งผู้เยาว์ทำและผู้แทนโดยชอบธรรมให้ความยินยอมโดยมิได้รับอนุญาตจากศาล ย่อมตกเป็นโมฆะ แม้สัญญาประนีประนอมยอมความนั้นทำขึ้นระหว่างผู้เยาว์กับทายาทอื่นอีกหลายคน แต่จำนวนทายาทหรือจำนวนทรัพย์มรดกที่จะได้รับส่วนแบ่งที่เกี่ยวพัน ไม่อาจแบ่งแยกออกจากกันได้ ย่อมตกเป็นโมฆะด้วยกันทั้งสิ้น
การแบ่งปันทรัพย์มรดกนั้น อาจทำได้โดยทายาทต่างครอบครองทรัพย์สินเป็นส่วนสัด เมื่อพ้นกำหนด 1 ปี นับแต่เจ้ามรดกตาย ทายาทผู้ใดครอบครองมรดกส่วนไหนก็ย่อมมีสิทธิเฉพาะส่วนนั้น ส่วนอื่นที่ตนมิได้เกี่ยวข้อง ย่อมขาดอายุความมรดก

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1319/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาประนีประนอมยอมความมรดกของผู้เยาว์: โมฆะหากไม่มีคำอนุญาตจากศาล
ผู้เยาว์อายุ 18 ปีมีภริยา แต่มิได้จดทะเบียนสมรสย่อมยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ผู้เยาว์ลงนามทำสัญญาโดยมีผู้แทนโดยชอบธรรมลงลายพิมพ์นิ้วมือเป็นพยานในเอกสารสัญญานั้นถือได้ว่าผู้แทนโดยชอบธรรมให้ความยินยอมแล้ว
ทายาททุกคนทำสัญญาแบ่งปันมรดกซึ่งไม่มีพินัยกรรม เป็นการระงับข้อพิพาทแห่งกองมรดกที่จะมีขึ้น จึงเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546(4)ผู้ใช้อำนาจปกครองจะทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวแก่ทรัพย์สินของผู้เยาว์มิได้ เว้นแต่ศาลจะอนุญาต ดังนั้น เมื่อยังมิได้รับอนุญาตจากศาล ผู้ใช้อำนาจปกครองในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรมจึงไม่อาจให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความแบ่งปันมรดก
สัญญาประนีประนอมยอมความแบ่งปันมรดกซึ่งผู้เยาว์ทำและผู้แทนโดยชอบธรรมให้ความยินยอมโดยมิได้รับอนุญาตจากศาลย่อมตกเป็นโมฆะ แม้สัญญาประนีประนอมยอมความนั้นทำขึ้นระหว่างผู้เยาว์กับทายาทอื่นอีกหลายคน แต่จำนวนทายาทหรือจำนวนทรัพย์มรดกที่จะได้รับส่วนแบ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวพัน ไม่อาจแบ่งแยกออกจากกันได้ ย่อมตกเป็นโมฆะด้วยกันทั้งสิ้น
การแบ่งปันทรัพย์มรดกนั้น อาจทำได้โดยทายาทต่างครอบครองทรัพย์สินเป็นส่วนสัด เมื่อพ้นกำหนด 1 ปี นับแต่เจ้ามรดกตาย ทายาทผู้ใดครอบครองมรดกส่วนไหนก็ย่อมมีสิทธิเฉพาะส่วนนั้น ส่วนอื่นที่ตนมิได้เกี่ยวข้อง ย่อมขาดอายุความมรดก

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1319/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาประนีประนอมยอมความมรดกของผู้เยาว์: โมฆะหากไม่มีคำอนุญาตจากศาล และผลกระทบของอายุความมรดก
ผู้เยาว์อายุ 18 ปีมีภริยา. แต่มิได้จดทะเบียนสมรส.ย่อมยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ผู้เยาว์ลงนามทำสัญญาโดยมีผู้แทนโดยชอบธรรมลงลายพิมพ์นิ้วมือเป็นพยานในเอกสารสัญญานั้นถือได้ว่า.ผู้แทนโดยชอบธรรมให้ความยินยอมแล้ว.
ทายาททุกคนทำสัญญาแบ่งปันมรดกซึ่งไม่มีพินัยกรรม. เป็นการระงับข้อพิพาทแห่งกองมรดกที่จะมีขึ้น. จึงเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ.
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546(4)ผู้ใช้อำนาจปกครองจะทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวแก่ทรัพย์สินของผู้เยาว์มิได้. เว้นแต่ศาลจะอนุญาต ดังนั้น เมื่อยังมิได้รับอนุญาตจากศาล. ผู้ใช้อำนาจปกครองในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรมจึงไม่อาจให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความแบ่งปันมรดก.
สัญญาประนีประนอมยอมความแบ่งปันมรดกซึ่งผู้เยาว์ทำและผู้แทนโดยชอบธรรมให้ความยินยอมโดยมิได้รับอนุญาตจากศาล.ย่อมตกเป็นโมฆะ แม้สัญญาประนีประนอมยอมความนั้นทำขึ้นระหว่างผู้เยาว์กับทายาทอื่นอีกหลายคน. แต่จำนวนทายาทหรือจำนวนทรัพย์มรดกที่จะได้รับส่วนแบ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวพัน. ไม่อาจแบ่งแยกออกจากกันได้. ย่อมตกเป็นโมฆะด้วยกันทั้งสิ้น.
การแบ่งปันทรัพย์มรดกนั้น อาจทำได้โดยทายาทต่างครอบครองทรัพย์สินเป็นส่วนสัด. เมื่อพ้นกำหนด 1 ปี นับแต่เจ้ามรดกตาย. ทายาทผู้ใดครอบครองมรดกส่วนไหนก็ย่อมมีสิทธิเฉพาะส่วนนั้น. ส่วนอื่นที่ตนมิได้เกี่ยวข้อง. ย่อมขาดอายุความมรดก.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1261/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาให้ที่ดินเพื่อสร้างสถานศึกษา การปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ทำให้สิทธิเรียกคืนที่ดินระงับ
สัญญาให้ที่ดินมีความว่า ผู้ให้ยอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้รับ โดยความรักเสน่หา เพื่อวัตถุประสงค์ให้จัดทำเป็นอาคารและสถานศึกษา. ถ้าผู้รับไม่ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์.ผู้ให้มีสิทธิเรียกที่ดินคืนได้ ดังนี้ การที่ผู้รับดำเนินกิจการโรงเรียนตั้งแต่ได้รับให้เป็นต้นมาจนผู้ให้ถึงแก่กรรมนั้น. เป็นการปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของสัญญาให้กรรมสิทธิ์ที่ดินแปลงพิพาทแล้ว.โจทก์ซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายหามีสิทธิฟ้องเรียกคืนที่ดินแปลงพิพาทไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1261/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาให้ที่ดินมีเงื่อนไข หากผู้รับไม่ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ ผู้ให้มีสิทธิเรียกคืนได้ ศาลฎีกาตัดสินว่าการดำเนินกิจการโรงเรียนเป็นการปฏิบัติตามวัตถุประสงค์แล้ว
สัญญาให้ที่ดินมีความว่า ผู้ให้ยอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้รับ โดยความรักเสน่หา เพื่อวัตถุประสงค์ให้จัดทำเป็นอาคารและสถานศึกษา ถ้าผู้รับไม่ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ ผู้ให้มีสิทธิเรียกที่ดินคืนได้ ดังนี้ การที่ผู้รับดำเนินกิจการโรงเรียนตั้งแต่ได้รับให้เป็นต้นมาจนผู้ให้ถึงแก่กรรมนั้น เป็นการปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของสัญญาให้กรรมสิทธิ์ที่ดินแปลงพิพาทแล้ว โจทก์ซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายหามีสิทธิฟ้องเรียกคืนที่ดินแปลงพิพาทไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1261/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาให้ที่ดินเพื่อจัดตั้งสถานศึกษา หากผู้รับไม่ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ ผู้ให้อาจเรียกคืนได้ แต่หากปฏิบัติตามแล้ว สิทธิเรียกร้องระงับสิ้น
สัญญาให้ที่ดินมีความว่า ผู้ให้ยอมยกให้เป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้รับ โดยความรักเสน่หา เพื่อวัตถุประสงค์ให้จัดทำเป็นอาคารและสถานศึกษา ถ้าผู้รับไม่ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ผู้ให้มีสิทธิเรียกที่ดินคืนได้ ดังนี้ การที่ผู้รับดำเนินกิจการโรงเรียนตั้งแต่ได้รับให้เป็นต้นมาจนผู้ให้ถึงแก่กรรมนั้น เป็นการปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของสัญญาให้กรรมสิทธิ์ที่ดินแปลงพิพาทแล้ว โจทก์ซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกของผู้ตายหามีสิทธิฟ้องร้องเรียกคืนที่ดินแปลงพิพาทไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121-1122/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การชำระหนี้ขายฝากโดยตัวแทนที่ไม่ได้รับมอบอำนาจ และการรับฟังพยานหลักฐาน
โจทก์ไม่รู้หนังสือ เชิดบุตรของตนเป็นตัวแทนเพื่อติดต่อทางเอกสารกับจำเลยตลอดมา เมื่อจำเลยชำระเงินให้โจทก์ โจทก์ให้บุตรทำใบรับเงินให้จำเลย โจทก์ย่อมต้องรับผิดต่อจำเลยผู้สุจริตเหมือนว่าบุตรนั้นเป็นตัวแทนของตน โดยจำเลยไม่จำต้องมีหนังสือแต่งตั้งตัวแทนมาแสดง
บทบัญญัติมาตรา 653 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ว่า การนำสืบถึงการใช้หนี้เงินกู้ จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือมาแสดงนั้น ไม่นำมาใช้บังคับในกรณีชำระเงินไถ่การขายฝาก
เอกสารใบรับเงินซึ่งมิได้ปิดอากรแสตมป์ในวันออกใบรับเงินนั้น เมื่อมีการปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนและขีดฆ่าแล้ว แม้จะมิได้เสียเงินเพิ่มอากร ศาลก็รับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่งได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121-1122/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การชำระหนี้ขายฝากและการรับผิดแทนตัวแทน แม้ไม่มีเอกสารมอบอำนาจ
โจทก์ไม่รู้หนังสือ. เชิดบุตรของตนเป็นตัวแทนเพื่อติดต่อทางเอกสารกับจำเลยตลอดมา เมื่อจำเลยชำระเงินให้โจทก์. โจทก์ให้บุตรทำใบรับเงินให้จำเลย โจทก์ย่อมต้องรับผิดต่อจำเลยผู้สุจริตเสมือนว่าบุตรนั้นเป็นตัวแทนของตน. โดยจำเลยไม่จำต้องมีหนังสือแต่งตั้งตัวแทนมาแสดง.
บทบัญญัติมาตรา 653 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ว่า การนำสืบถึงการใช้หนี้เงินกู้ จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือมาแสดงนั้น. ไม่นำมาใช้บังคับ.ในกรณีชำระเงินไถ่การขายฝาก.
เอกสารใบรับเงินซึ่งมิได้ปิดอากรแสตมป์ในวันออกใบรับเงินนั้น. เมื่อมีการปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนและขีดฆ่าแล้ว. แม้จะมิได้เสียเงินเพิ่มอากร. ศาลก็รับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่งได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121-1122/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การชำระหนี้ขายฝากและการรับรองการชำระหนี้โดยตัวแทนที่มิได้มีหนังสือมอบอำนาจ
โจทก์ไม่รู้หนังสือ เชิดบุตรของตนเป็นตัวแทนเพื่อติดต่อทางเอกสารกับจำเลยตลอดมา เมื่อจำเลยชำระเงินให้โจทก์ โจทก์ให้บุตรทำใบรับเงินให้จำเลย โจทก์ย่อมต้องรับผิดต่อจำเลยผู้สุจริตเสมือนว่าบุตรนั้นเป็นตัวแทนของตน โดยจำเลยไม่จำต้องมีหนังสือแต่งตั้งตัวแทนมาแสดง
บทบัญญัติมาตรา 653 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ว่า การนำสืบถึงการใช้หนี้เงินกู้ จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือมาแสดงนั้น ไม่นำมาใช้บังคับ ในกรณีชำระเงินไถ่การขายฝาก
เอกสารใบรับเงินซึ่งมิได้ปิดอากรแสตมป์ในวันออกใบรับเงินนั้น เมื่อมีการปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนและขีดฆ่าแล้ว แม้จะมิได้เสียเงินเพิ่มอากร ศาลก็รับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่งได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1112/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การไม่ฟ้องอุทธรณ์ประเด็นใด ถือเป็นการยอมรับผลคำพิพากษาศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจแก้คำพิพากษาในส่วนนั้น
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่า โจทก์เป็นผู้มีสิทธิที่จะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าตามคำขอที่ 49784 ดีกว่าจำเลย และให้จำเลยถอนคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าตามคำขอที่ 48018 และคำขอเลขที่ 48390 เสีย ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า โจทก์เป็นผู้มีสิทธิที่จะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าตามคำขอเลขที่ 49784 ดีกว่าจำเลย มิได้พิพากษาให้จำเลยถอนคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าตามคำขอเลขที่ 48390 ด้วย โจทก์มิได้อุทธรณ์คำพิพากษาศาลชั้นต้น ดังนี้พอถือได้ว่า ข้อความในประเด็นข้อนี้ไม่จำเป็นแก่โจทก์ และโจทก์พอใจในผลของคำพิพากษาศาลชั้นต้นแล้ว ประเด็นข้อนี้เป็นอันยุติตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจพิพากษาแก้คำพิพากษาศาลชั้นต้นให้จำเลยถอนคำขอทะเบียนเครื่องหมายการค้าตามคำขอเลขที่ 48390 ด้วย
of 72