พบผลลัพธ์ทั้งหมด 713 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 511/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อริบเงินค่าเช่าซื้อได้ แต่ลดจำนวนเบี้ยปรับให้เหมาะสมตามความเป็นธรรม
ข้อตกลงในสัญญาเช่าซื้อที่ว่า ยอมให้ผู้ให้เช่าซื้อริบเงินที่ค้างชำระก็เท่ากับกำหนดเงินเบี้ยปรับหรือค่าเสียหายไว้ล่วงหน้า หากเบี้ยปรับที่ริบนั้นสูงเกินส่วนก็ชอบที่จะลดลงเป็นจำนวนพอสมควรแก่ความเป็นธรรมได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 460/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเบียดบังยักยอกทรัพย์: ความแตกต่างจากการลักทรัพย์ กรณีลูกจ้างพาทรัพย์นายจ้างหนีจากเหตุวิวาท
จำเลยได้รับมอบหมายให้พาทรัพย์ของนายจ้างออกไปให้พ้นจากที่วิวาท เพื่อความปลอดภัยแห่งทรัพย์. แล้วจำเลยพาทรัพย์นั้นหนีไป. การกระทำของจำเลยเป็นการเบียดบังยักยอกทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352. หาใช่กระทำผิดฐานลักทรัพย์ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 460/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบียดบังยักยอกทรัพย์: การส่งมอบทรัพย์เพื่อความปลอดภัย ไม่ถือเป็นการลักทรัพย์
จำเลยได้รับมอบหมายให้พาทรัพย์ของนายจ้างออกไปให้พ้นจากที่วิวาท เพื่อความปลอดภัยแห่งทรัพย์ แล้วจำเลยพาทรัพย์นั้นหนีไปการกระทำของจำเลยเป็นการเบียดบังยักยอกทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 หาใช่กระทำผิดฐานลักทรัพย์ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 460/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเบียดบังยักยอกทรัพย์ของลูกจ้าง แม้ได้รับมอบหมายให้ดูแลทรัพย์สินช่วงเกิดเหตุวิวาท ก็ถือเป็นความผิดฐานยักยอกทรัพย์
จำเลยได้รับมอบหมายให้พาทรัพย์ของนายจ้างออกไปให้พ้นจากที่วิวาท เพื่อความปลอดภัยแห่งทรัพย์ แล้วจำเลยพาทรัพย์นั้นหนีไป การกระทำของจำเลยเป็นการเบียดบังยักยอกทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 หาใช่กระทำผิดฐานลักทรัพย์ไม่ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 8/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 454/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีขัดขืนหมายเรียกศาล: ผู้เสียหายโดยตรงเท่านั้นที่ฟ้องได้
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 170 มุ่งหมายเอาโทษแก่ผู้ที่ขัดขืนหมายหรือคำสั่งศาลที่ให้มาให้ถ้อยคำ ให้มาเบิกความ หรือให้ส่งทรัพย์หรือเอกสารในการพิจารณาคดี. เป็นบทบัญญัติถึงการกระทำความผิดต่อศาลซึ่งเป็นเจ้าพนักงานในการยุติธรรม.
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น. โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้น. โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170.
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น. โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้น. โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 454/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องขัดขืนหมายเรียกพยาน: โจทก์ต้องเป็นผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำนั้น
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 170 มุ่งหมายเอาโทษแก่ผู้ที่ขัดขืนหมายหรือคำสั่งศาลที่ให้มาให้ถ้อยคำ ให้มาเบิกความ หรือให้ส่งทรัพย์หรือเอกสารในการพิจารณาคดีเป็นบทบัญญัติถึงการกระทำความผิดต่อศาลซึ่งเป็นเจ้าพนักงานในการยุติธรรม
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้นโจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้นโจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 454/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีขัดขืนหมายเรียกศาล: โจทก์ต้องเป็นผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำนั้น
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 170 มุ่งหมายเอาโทษแก่ผู้ที่ขัดขืนหมายหรือคำสั่งศาลที่ให้มาให้ถ้อยคำ ให้มาเบิกความ หรือให้ส่งทรัพย์หรือเอกสารในการพิจารณาคดี เป็นบทบัญญัติถึงการกระทำความผิดต่อศาลซึ่งเป็นเจ้าพนักงานในการยุติธรรม
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้น โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170
เหตุที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์เพราะไม่มาเบิกความตามหมายเรียกของศาลนั้น โจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของพยานนั้น โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องผู้ที่ขัดขืนหมายเรียกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 170
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 340/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฉ้อโกงโดยการเปิดรับสมัครงานหลอกลวง และการฟ้องซ้ำที่มิได้เป็นการกระทำอันเป็นกรรมเดียวกัน
จำเลยวางแผนประกาศทางหนังสือพิมพ์รายวันเปิดรับสมัครบุคคลมาทำงานกับบริษัท. เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อมาสมัครทำงาน. โดยวางอัตราค่าจ้างเงินเดือนสูง ว่างระเบียบให้ต้องซื้อหุ้นอย่างน้อยหนึ่งหุ้นเป็นเงิน 900 บาท. บริษัทตั้งขึ้นแล้ว. จำเลยก็มิได้ดำเนินกิจการค้าดังวัตถุประสงค์แต่อย่างใด. สินค้าในบริษัทก็ไม่มี. ธุรกิจที่จะมอบหมายให้ผู้สมัครรับจ้างปฏิบัติก็ไม่มี. ถือได้ว่าจำเลยก่อตั้งบริษัท ดำเนินการด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จต่อประชาชนเพื่อหลอกลวงประชาชน. จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 343.
เมื่อผู้เสียหายคนหนึ่งฟ้องคดีเกี่ยวกับการฉ้อโกงของจำเลยดังกล่าวแล้ว. โจทก์ฟ้องจำเลยฐานฉ้อโกงผู้เสียหายคนอื่นในกรณีนี้อีกได้. เพราะผู้เสียหายเป็นคนละคนต่างถูกหลอกลวงคนละวันคนละเวลา. จำนวนเงินที่ถูกหลอกแตกต่างกัน. ตำแหน่งงานที่จะจ้างผู้เสียหายไม่เหมือนกัน. จึงเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระ. มิใช่เป็นการกระทำอันเป็นกรรมเดียวกัน. (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4-5-6/2512).
เมื่อผู้เสียหายคนหนึ่งฟ้องคดีเกี่ยวกับการฉ้อโกงของจำเลยดังกล่าวแล้ว. โจทก์ฟ้องจำเลยฐานฉ้อโกงผู้เสียหายคนอื่นในกรณีนี้อีกได้. เพราะผู้เสียหายเป็นคนละคนต่างถูกหลอกลวงคนละวันคนละเวลา. จำนวนเงินที่ถูกหลอกแตกต่างกัน. ตำแหน่งงานที่จะจ้างผู้เสียหายไม่เหมือนกัน. จึงเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระ. มิใช่เป็นการกระทำอันเป็นกรรมเดียวกัน. (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4-5-6/2512).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 340/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อโกงโดยการหลอกลวงรับสมัครงานและเรียกเก็บค่าหุ้น พบว่าเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระ ฟ้องได้
จำเลยวางแผนประกาศทางหนังสือพิมพ์รายวันเปิดรับสมัครบุคคลมาทำงานกับบริษัท เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อมาสมัครทำงาน โดยวางอัตราค่าจ้างเงินเดือนสูง ว่างระเบียบให้ต้องซื้อหุ้นอย่างน้อยหนึ่งหุ้นเป็นเงิน 900 บาท บริษัทตั้งขึ้นแล้วจำเลยก็มิได้ดำเนินกิจการค้าดังวัตถุประสงค์แต่อย่างใด สินค้าในบริษัทก็ไม่มีธุรกิจที่จะมอบหมายให้ผู้สมัครรับจ้างปฏิบัติก็ไม่มีถือได้ว่าจำเลยก่อตั้งบริษัท ดำเนินการด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จต่อประชาชนเพื่อหลอกลวงประชาชนจึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 343
เมื่อผู้เสียหายคนหนึ่งฟ้องคดีเกี่ยวกับการฉ้อโกงของจำเลยดังกล่าวแล้วโจทก์ฟ้องจำเลยฐานฉ้อโกงผู้เสียหายคนอื่นในกรณีนี้อีกได้เพราะผู้เสียหายเป็นคนละคนต่างถูกหลอกลวงคนละวันคนละเวลา จำนวนเงินที่ถูกหลอกแตกต่างกันตำแหน่งงานที่จะจ้างผู้เสียหายไม่เหมือนกัน จึงเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระมิใช่เป็นการกระทำอันเป็นกรรมเดียวกัน
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4-5-6/2512)
เมื่อผู้เสียหายคนหนึ่งฟ้องคดีเกี่ยวกับการฉ้อโกงของจำเลยดังกล่าวแล้วโจทก์ฟ้องจำเลยฐานฉ้อโกงผู้เสียหายคนอื่นในกรณีนี้อีกได้เพราะผู้เสียหายเป็นคนละคนต่างถูกหลอกลวงคนละวันคนละเวลา จำนวนเงินที่ถูกหลอกแตกต่างกันตำแหน่งงานที่จะจ้างผู้เสียหายไม่เหมือนกัน จึงเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระมิใช่เป็นการกระทำอันเป็นกรรมเดียวกัน
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4-5-6/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 340/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฉ้อโกงโดยการหลอกลวงให้ซื้อหุ้นเพื่อสมัครงาน ถือเป็นกรรมต่างวาระ ฟ้องได้หลายกรรม
จำเลยวางแผนประกาศทางหนังสือพิมพ์รายวันเปิดรับสมัครบุคคลมาทำงานกับบริษัท เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อมาสมัครทำงาน โดยวางอัตราค่าจ้างเงินเดือนสูง วางระเบียบให้ต้องซื้อหุ้นอย่างน้อยหนึ่งหุ้นเป็นเงิน 900 บาท บริษัทตั้งขึ้นแล้ว จำเลยก็มิได้ดำเนินกิจการค้าดังวัตถุประสงค์แต่อย่างใด. สินค้าในบริษัทก็ไม่มี ธุรกิจที่จะมอบหมายให้ผู้สมัครรับจ้างปฏิบัติก็ไม่มี ถือได้ว่าจำเลยก่อตั้งบริษัท ดำเนินการด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จต่อประชาชนเพื่อหลอกลวงประชาชน จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 343
เมื่อผู้เสียหายคนหนึ่งฟ้องคดีเกี่ยวกับการฉ้อโกงของจำเลยดังกล่าวแล้ว โจทก์ฟ้องจำเลยฐานฉ้อโกงผู้เสียหายคนอื่นในกรณีนี้อีกได้ เพราะผู้เสียหายเป็นคนละคนต่างถูกหลอกลวงคนละวันคนละเวลา จำนวนเงินที่ถูกหลอกแตกต่างกัน ตำแหน่งงานที่จะจ้างผู้เสียหายไม่เหมือนกัน จึงเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระ มิใช่เป็นการกระทำอันเป็นกรรมเดียวกัน.
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4 - 5 - 6/2512)
เมื่อผู้เสียหายคนหนึ่งฟ้องคดีเกี่ยวกับการฉ้อโกงของจำเลยดังกล่าวแล้ว โจทก์ฟ้องจำเลยฐานฉ้อโกงผู้เสียหายคนอื่นในกรณีนี้อีกได้ เพราะผู้เสียหายเป็นคนละคนต่างถูกหลอกลวงคนละวันคนละเวลา จำนวนเงินที่ถูกหลอกแตกต่างกัน ตำแหน่งงานที่จะจ้างผู้เสียหายไม่เหมือนกัน จึงเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระ มิใช่เป็นการกระทำอันเป็นกรรมเดียวกัน.
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4 - 5 - 6/2512)