คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ไฉน บุญยก

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 713 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 193/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การโอนสิทธิการเป็นผู้แทนจำหน่ายสลากกินแบ่งภายในครอบครัว การยินยอมและขอบเขตอำนาจการค้า
สามีซึ่งเป็นจำเลยร่วมโอนสิทธิการเป็นผู้แทนจำหน่ายสลากกินแบ่งในนามส่วนราชการให้ภริยาซึ่งเป็นจำเลยทำการค้าขายมาประมาณ 20 ปีโดยในการค้าสลากกินแบ่งนั้น ภริยามีสิทธิที่จะพิจารณาได้เองตลอดจนการหาเงินจ่ายค่าสลากกินแบ่งย่อมเป็นเรื่องภริยาทำกิจการค้าขายแยกเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก(โดยได้รับอนุญาตจากสามี) การที่ภริยาจะเสาะแสวงหาจำนวนสลากกินแบ่งมาค้าขายหรือจำหน่ายจำนวนสลากกินแบ่งนั้นไปอยู่ในวิสัยที่ภริยาจะทำได้ดังนั้น การที่ภริยาตกลงโอนสิทธิการเป็นผู้แทนจำหน่ายสลากกินแบ่งให้บุคคลภายนอกไปบางส่วนโดยได้รับค่าตอบแทนจึงอยู่ภายในขอบเขตแห่งกิจการค้าขายของภริยาแม้จะมิได้รับอนุญาตจากสามีอีกชั้นหนึ่งสามีก็หามีสิทธิบอกล้างไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 193/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การโอนสิทธิการเป็นผู้แทนจำหน่ายสลากกินแบ่งภายในครอบครัว ถือเป็นอำนาจจัดการในกิจการค้าขายของภริยา สามีมีสิทธิจำกัด
สามีซึ่งเป็นจำเลยร่วมโอนสิทธิการเป็นผู้แทนจำหน่ายสลากกินแบ่งในนามส่วนราชการให้ภริยาซึ่งเป็นจำเลยทำการค้าขายมาประมาณ 20 ปี. โดยในการค้าสลากกินแบ่งนั้น ภริยามีสิทธิที่จะพิจารณาได้เองตลอดจนการหาเงินจ่ายค่าสลากกินแบ่ง. ย่อมเป็นเรื่องภริยาทำกิจการค้าขายแยกเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก(โดยได้รับอนุญาตจากสามี). การที่ภริยาจะเสาะแสวงหาจำนวนสลากกินแบ่งมาค้าขายหรือจำหน่ายจำนวนสลากกินแบ่งนั้นไปอยู่ในวิสัยที่ภริยาจะทำได้. ดังนั้น การที่ภริยาตกลงโอนสิทธิการเป็นผู้แทนจำหน่ายสลากกินแบ่งให้บุคคลภายนอกไปบางส่วนโดยได้รับค่าตอบแทน.จึงอยู่ภายในขอบเขตแห่งกิจการค้าขายของภริยา. แม้จะมิได้รับอนุญาตจากสามีอีกชั้นหนึ่ง.สามีก็หามีสิทธิบอกล้างไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 192/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความเช่าซื้อ-ค้ำประกัน: ฟ้องภายใน 2 ปี (ค่าเช่า) และ 10 ปี (เอาคืนทรัพย์) ข้อตกลงค้ำประกันมีผลผูกพัน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 3 ลักษณะ 5 ว่าด้วยเช่าซื้อมิได้บัญญัติเรื่องอายุความไว้โดยตรง. แต่ค่าเช่าซื้อก็เป็นค่าเช่าในการใช้ทรัพย์สินอย่างหนึ่ง. หากผู้ให้เช่าซื้อเป็นพ่อค้า ย่อมมีสิทธิเรียกร้องค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระได้. ภายในกำหนดอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(6).
ในกรณีที่ผู้ให้เช่าซื้อบอกเลิกสัญญาและเรียกให้ผู้เช่าซื้อส่งคืนทรัพย์สินที่เช่าซื้อหากส่งคืนไม่ได้ให้ใช้ราคาแทนนั้น. เป็นการที่เจ้าของกรรมสิทธิ์ใช้สิทธิติดตามเรียกเอาทรัพย์คืนอยู่ภายในกำหนดอายุความ 10 ปี.
ผู้ค้ำประกันการเช่าซื้อซึ่งทำสัญญาไว้ว่าตนไม่มีสิทธิถอนการค้ำประกันไม่ว่าเวลาใดนั้น. จะแสดงเจตนาฝ่ายเดียวขอถอนการค้ำประกันภายหลังจากผู้เช่าซื้อผิดสัญญาแล้วโดยฝ่ายผู้ให้เช่าซื้อมิได้ตกลงด้วยหาได้ไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 192/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความเช่าซื้อ-ค้ำประกัน: ค่าเช่าซื้อมีอายุความ 2 ปี, สิทธิเจ้าของทรัพย์ 10 ปี, สัญญาค้ำประกันมีผลผูกพัน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 3 ลักษณะ 5 ว่าด้วยเช่าซื้อมิได้บัญญัติเรื่องอายุความไว้โดยตรง แต่ค่าเช่าซื้อก็เป็นค่าเช่าในการใช้ทรัพย์สินอย่างหนึ่ง หากผู้ให้เช่าซื้อเป็นพ่อค้า ย่อมมีสิทธิเรียกร้องค่าเช่าซื้อที่ค้างชำระได้ภายในกำหนดอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(6)
ในกรณีที่ผู้ให้เช่าซื้อบอกเลิกสัญญาและเรียกให้ผู้เช่าซื้อส่งคืนทรัพย์สินที่เช่าซื้อหากส่งคืนไม่ได้ให้ใช้ราคาแทนนั้น เป็นการที่เจ้าของกรรมสิทธิ์ใช้สิทธิติดตามเรียกเอาทรัพย์คืนอยู่ภายในกำหนดอายุความ 10 ปี
ผู้ค้ำประกันการเช่าซื้อซึ่งทำสัญญาไว้ว่าตนไม่มีสิทธิถอนการค้ำประกันไม่ว่าเวลาใดนั้น จะแสดงเจตนาฝ่ายเดียวขอถอนการค้ำประกันภายหลังจากผู้เช่าซื้อผิดสัญญาแล้วโดยฝ่ายผู้ให้เช่าซื้อมิได้ตกลงด้วยหาได้ไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 91/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความค่าเช่าทรัพย์: มาตรา 166 เป็นบททั่วไปที่ใช้บังคับ แม้มีบทบัญญัติเฉพาะในลักษณะเช่าทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 166 อยู่ในลักษณะ 6เรื่องอายุความในบรรพ 1 อันว่าด้วยหลักทั่วไปซึ่งระบุไว้ชัดถึงการฟ้องเรียกค่าเช่าทรัพย์สินค้างส่งส่วนมาตรา 563 เป็นบทบัญญัติอยู่ในหมวด 3 เรื่องหน้าที่และความรับผิดของผู้เช่าในลักษณะเช่าทรัพย์แห่งบรรพ 3 อันว่าด้วยเอกเทศสัญญาข้อความที่ว่าผู้ให้เช่าจะฟ้องผู้เช่าเกี่ยวแก่สัญญาเช่านั้นย่อมหมายถึงการปฏิบัติผิดหน้าที่ผู้เช่าโดยทั่วไปเมื่อมาตรา 166 ซึ่งเป็นบททั่วไปได้บัญญัติถึงเรื่องค่าเช่าค้างส่งไว้ชัดแจ้งโดยเฉพาะ จึงต้องยกมาใช้ปรับแก่คดีแม้มาตรา 563 จะอยู่ในลักษณะเช่าทรัพย์ ก็หาได้ลบล้างมาตรา 166 ไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 91/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความการฟ้องเรียกค่าเช่า: เลือกใช้บทบัญญัติทั่วไป (มาตรา 166) เมื่อมีบทบัญญัติเฉพาะเจาะจง (มาตรา 563) แล้ว
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 166 อยู่ในลักษณะ 6เรื่องอายุความในบรรพ 1 อันว่าด้วยหลักทั่วไป. ซึ่งระบุไว้ชัดถึงการฟ้องเรียกค่าเช่าทรัพย์สินค้างส่ง. ส่วนมาตรา 563 เป็นบทบัญญัติอยู่ในหมวด 3 เรื่องหน้าที่และความรับผิดของผู้เช่าในลักษณะเช่าทรัพย์แห่งบรรพ 3 อันว่าด้วยเอกเทศสัญญา. ข้อความที่ว่าผู้ให้เช่าจะฟ้องผู้เช่าเกี่ยวแก่สัญญาเช่านั้น. ย่อมหมายถึงการปฏิบัติผิดหน้าที่ผู้เช่าโดยทั่วไป. เมื่อมาตรา 166 ซึ่งเป็นบททั่วไปได้บัญญัติถึงเรื่องค่าเช่าค้างส่งไว้ชัดแจ้งโดยเฉพาะ จึงต้องยกมาใช้ปรับแก่คดี. แม้มาตรา 563 จะอยู่ในลักษณะเช่าทรัพย์ ก็หาได้ลบล้างมาตรา 166 ไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 91/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความค่าเช่า: มาตรา 166 เป็นบททั่วไปใช้บังคับกับคดีค่าเช่าค้างชำระ แม้มีบทบัญญัติเฉพาะในลักษณะเช่าทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 166 อยู่ในลักษณะ 6เรื่องอายุความในบรรพ 1 อันว่าด้วยหลักทั่วไป ซึ่งระบุไว้ชัดถึงการฟ้องเรียกค่าเช่าทรัพย์สินค้างส่ง ส่วนมาตรา 563 เป็นบทบัญญัติอยู่ในหมวด 3 เรื่องหน้าที่และความรับผิดของผู้เช่าในลักษณะเช่าทรัพย์แห่งบรรพ 3 อันว่าด้วยเอกเทศสัญญา ข้อความที่ว่าผู้ให้เช่าจะฟ้องผู้เช่าเกี่ยวแก่สัญญาเช่านั้น ย่อมหมายถึงการปฏิบัติผิดหน้าที่ผู้เช่าโดยทั่วไป เมื่อมาตรา 166 ซึ่งเป็นบททั่วไปได้บัญญัติถึงเรื่องค่าเช่าค้างส่งไว้ชัดแจ้งโดยเฉพาะ จึงต้องยกมาใช้ปรับแก่คดี แม้มาตรา 563 จะอยู่ในลักษณะเช่าทรัพย์ ก็หาได้ลบล้างมาตรา 166 ไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 87/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การท้าคดีโดยอ้างเอกสาร เอกสารหายไม่อาจใช้ชี้ขาดได้ โจทก์มีหน้าที่นำสืบหลักฐาน
คู่ความท้ากันว่า. ถ้าจำเลยนำหนังสือซื้อขายที่ดินหรือสำเนาที่อำเภอรับรองมาจากอำเภอได้. โจทก์ยอมแพ้. ถ้าไม่มีหนังสือดังกล่าวที่พิพาทตกเป็นของโจทก์. เมื่ออำเภอมีหนังสือแจ้งมาว่าค้นไม่พบ. คู่ความท้ากันใหม่ว่าให้ศาลเอาหนังสือตอบนี้ไปประกอบกับคำท้าเดิมแล้ววินิจฉัยว่าที่พิพาทจะเป็นของฝ่ายใด. ศาลวินิจฉัยว่าตามหนังสือตอบของอำเภอฟังไม่ถนัดว่ามีหนังสือซื้อขายที่พิพาทหรือไม่. จึงชี้ขาดให้แพ้ชนะกันตามคำท้าไม่ได้. เมื่อต่างแถลงไม่สืบพยานคดีนี้ หน้าที่นำสืบตกแก่โจทก์ โจทก์จึงต้องแพ้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 87/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ข้อตกลงท้าทายหลักฐานที่ไม่ชัดเจน และหน้าที่นำสืบพยานของผู้ฟ้อง
คู่ความท้ากันว่า ถ้าจำเลยนำหนังสือซื้อขายที่ดินหรือสำเนาที่อำเภอรับรองมาจากอำเภอได้ โจทก์ยอมแพ้ ถ้าไม่มีหนังสือดังกล่าวที่พิพาทตกเป็นของโจทก์ เมื่ออำเภอมีหนังสือแจ้งมาว่าค้นไม่พบ คู่ความท้ากันใหม่ว่าให้ศาลเอาหนังสือตอบนี้ไปประกอบกับคำท้าเดิมแล้ววินิจฉัยว่าที่พิพาทจะเป็นของฝ่ายใด ศาลวินิจฉัยว่าตามหนังสือตอบของอำเภอฟังไม่ถนัดว่ามีหนังสือซื้อขายที่พิพาทหรือไม่ จึงชี้ขาดให้แพ้ชนะกันตามคำท้าไม่ได้ เมื่อต่างแถลงไม่สืบพยานคดีนี้ หน้าที่นำสืบตกแก่โจทก์ โจทก์จึงต้องแพ้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 87/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การชี้ขาดข้อพิพาทตามคำท้า และหน้าที่การนำสืบพยานเมื่อคู่ความไม่สืบ
คู่ความท้ากันว่า ถ้าจำเลยนำหนังสือซื้อขายที่ดินหรือสำเนาที่อำเภอรับรองมาจากอำเภอได้โจทก์ยอมแพ้ ถ้าไม่มีหนังสือดังกล่าวที่พิพาทตกเป็นของโจทก์เมื่ออำเภอมีหนังสือแจ้งมาว่าค้นไม่พบคู่ความท้ากันใหม่ว่าให้ศาลเอาหนังสือตอบนี้ไปประกอบกับคำท้าเดิมแล้ววินิจฉัยว่าที่พิพาทจะเป็นของฝ่ายใด ศาลวินิจฉัยว่าตามหนังสือตอบของอำเภอฟังไม่ถนัดว่ามีหนังสือซื้อขายที่พิพาทหรือไม่จึงชี้ขาดให้แพ้ชนะกันตามคำท้าไม่ได้ เมื่อต่างแถลงไม่สืบพยานคดีนี้ หน้าที่นำสืบตกแก่โจทก์ โจทก์จึงต้องแพ้
of 72