คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ไฉน บุญยก

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 713 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1670/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกู้ยืมเงิน: เอกสารคำมั่นสัญญาและสัญญาประนีประนอมยอมความเป็นหลักฐานการกู้ยืม
เอกสารคำมั่นสัญญาระหว่างเจ้าหนี้กับจำเลย ลงวันที่ 7ธันวาคม 2496 มีข้อความสำคัญว่า จำเลยมอบฉันทะให้เจ้าหนี้รับเงินค่ารับเหมาส่งหินจากกรมทางหลวงแผ่นดิน 495,980 บาท และเพื่อเป็นการตอบแทน เจ้าหนี้จึงจ่ายเงินให้จำเลย 450,000บาท เมื่อพิจารณาเอกสารนี้รวมกับหนังสือสัญญาประนีประนอมยอมความของศาลแพ่งคดีดำที่ 875/2506ระหว่างบริษัทสหธนกิจ โจทก์ บริษัทไทยนิยมพาณิชย์ จำเลยซึ่งมีข้อความว่า'ข้อ 2 จำเลยยอมให้เอาหนี้ที่จำเลยเป็นเจ้าหนี้โจทก์ตามข้อ 1 ไปหักกับดอกเบี้ยรายต้นเงิน 336,000 บาท ที่โจทก์ยังไม่ได้ฟ้องอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ซึ่งยังค้างอยู่ถึงวันนี้.....'ตามคำขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 4 รายพิพาทมีความว่า '4 หนี้เงินกู้เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2496 ต้นเงินเดิม 450,000 บาท ดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีลูกหนี้ผ่อนต้นมาคงค้างต้น 336,000 บาท' แสดงว่าหนี้ราย 336,000 บาท คือหนี้ราย 450,000 บาทแต่เดิมนั่นเอง เมื่อพิจารณาเอกสารคำมั่นสัญญาและสัญญาประนีประนอมยอมความประกอบกันแล้วเห็นได้ชัดว่าจำเลยกู้เงินจำนวนดังกล่าวจากเจ้าหนี้.เอกสารทั้งสองฉบับนี้รวมกันจึงเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสำคัญ ดังนั้น การที่เจ้าหนี้นำพยานบุคคลมาสืบว่าเป็นหนี้เงินกู้ จึงหาใช่นำสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสารไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1670/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกู้ยืมเงินและการพิสูจน์หนี้จากเอกสารสัญญาและสัญญาประนีประนอมยอมความ
เอกสารคำมั่นสัญญาระหว่างเจ้าหนี้กับจำเลย ลงวันที่ 7ธันวาคม 2496 มีข้อความสำคัญว่า. จำเลยมอบฉันทะให้เจ้าหนี้รับเงินค่ารับเหมาส่งหินจากกรมทางหลวงแผ่นดิน495,980 บาท. และเพื่อเป็นการตอบแทน. เจ้าหนี้จึงจ่ายเงินให้จำเลย 450,000บาท. เมื่อพิจารณาเอกสารนี้รวมกับหนังสือสัญญาประนีประนอมยอมความของศาลแพ่งคดีดำที่ 875/2506ระหว่างบริษัทสหธนกิจ โจทก์. บริษัทไทยนิยมพาณิชย์ จำเลยซึ่งมีข้อความว่า'ข้อ 2 จำเลยยอมให้เอาหนี้ที่จำเลยเป็นเจ้าหนี้โจทก์ตามข้อ 1 ไปหักกับดอกเบี้ยรายต้นเงิน 336,000 บาท ที่โจทก์ยังไม่ได้ฟ้องอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี. ซึ่งยังค้างอยู่ถึงวันนี้.....'ตามคำขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 4 รายพิพาทมีความว่า '4.หนี้เงินกู้เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2496 ต้นเงินเดิม450,000 บาท ดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีลูกหนี้ผ่อนต้นมาคงค้างต้น 336,000 บาท' แสดงว่าหนี้ราย 336,000 บาทคือหนี้ราย 450,000 บาทแต่เดิมนั่นเอง. เมื่อพิจารณาเอกสารคำมั่นสัญญาและสัญญาประนีประนอมยอมความประกอบกันแล้ว.เห็นได้ชัดว่าจำเลยกู้เงินจำนวนดังกล่าวจากเจ้าหนี้.เอกสารทั้งสองฉบับนี้รวมกันจึงเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสำคัญ. ดังนั้น. การที่เจ้าหนี้นำพยานบุคคลมาสืบว่าเป็นหนี้เงินกู้. จึงหาใช่นำสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสารไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1670/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หลักฐานการกู้ยืมเงิน: เอกสารคำมั่นสัญญาและสัญญาประนีประนอมยอมความเป็นหลักฐานสำคัญ
เอกสารคำมั่นสัญญาระหว่างเจ้าหนี้กับจำเลย ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2496 มีข้อความสำคัญว่า จำเลยมอบฉันทะให้เจ้าหนี้รับเงินค่ารับเหมาส่งหินจากกรมทางหลวงแผ่นดิน 495,980 บาท และเพื่อเป็นการตอบแทน เจ้าหนี้จึงจ่ายเงินให้จำเลย 450,000บาท เมื่อพิจารณาเอกสารนี้รวมกับหนังสือสัญญาประนีประนอมยอมความของศาลแพ่งคดีดำที่ 875/2506ระหว่างบริษัทสหธนกิจ โจทก์ บริษัทไทยนิยมพาณิชย์ จำเลยซึ่งมีข้อความว่า"ข้อ 2 จำเลยยอมให้เอาหนี้ที่จำเลยเป็นเจ้าหนี้โจทก์ตามข้อ 1 ไปหักกับดอกเบี้ยรายต้นเงิน 336,000 บาท ที่โจทก์ยังไม่ได้ฟ้องอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ซึ่งยังค้างอยู่ถึงวันนี้....." ตามคำขอรับชำระหนี้รายการอันดับ 4 รายพิพาทมีความว่า "4 หนี้เงินกู้เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2496 ต้นเงินเดิม450,000 บาท ดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีลูกหนี้ผ่อนต้นมาคงค้างต้น 336,000 บาท" แสดงว่าหนี้ราย 336,000 บาทคือหนี้ราย 450,000 บาทแต่เดิมนั่นเอง เมื่อพิจารณาเอกสารคำมั่นสัญญาและสัญญาประนีประนอมยอมความประกอบกันแล้วเห็นได้ชัดว่าจำเลยกู้เงินจำนวนดังกล่าวจากเจ้าหนี้เอกสารทั้งสองฉบับนี้รวมกันจึงเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสำคัญ ดังนั้น การที่เจ้าหนี้นำพยานบุคคลมาสืบว่าเป็นหนี้เงินกู้ จึงหาใช่นำสืบแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสารไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1649/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาขายฝากไม่จดทะเบียน, อายุความหนี้, สิทธิยึดหน่วง, การสะดุดหยุดของอายุความ
ทำสัญญาขายฝากที่ดินกันเอง โดยมิได้จดทะเบียน แม้ผู้ซื้อจะครอบครองที่ดินที่ขายฝากอยู่ ก็ไม่ก่อให้เกิดสิทธิยึดหน่วง
สิทธิเรียกร้องเงินตามสัญญาขายฝากที่เป็นโมฆะคืนจากผู้ขาย อยู่ในบังคับแห่งอายุความเรื่องลาภมิควรได้.โดยต้องฟ้องคดีภายในกำหนดหนึ่งปีนับแต่เวลาที่ผู้ซื้อรู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืนหรือภายในกำหนดสิบปีนับแต่เวลาที่สิทธินั้นได้มีขึ้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1649/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาขายฝากไม่จดทะเบียน อายุความสิทธิเรียกร้อง และสิทธิยึดหน่วง
ทำสัญญาขายฝากที่ดินกันเอง โดยมิได้จดทะเบียน. แม้ผู้ซื้อจะครอบครองที่ดินที่ขายฝากอยู่. ก็ไม่ก่อให้เกิดสิทธิยึดหน่วง.
สิทธิเรียกร้องเงินตามสัญญาขายฝากที่เป็นโมฆะคืนจากผู้ขาย. อยู่ในบังคับแห่งอายุความเรื่องลาภมิควรได้.โดยต้องฟ้องคดีภายในกำหนดหนึ่งปีนับแต่เวลาที่ผู้ซื้อรู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืนหรือภายในกำหนดสิบปีนับแต่เวลาที่สิทธินั้นได้มีขึ้น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1649/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาขายฝากไม่จดทะเบียน, อายุความ, สิทธิยึดหน่วง: คดีขาดอายุความเมื่อฟ้องเกิน 1 ปีนับแต่รู้สิทธิ หรือเกิน 10 ปีนับแต่ทำสัญญา
ทำสัญญาขายฝากที่ดินกันเอง โดยมิได้จดทะเบียน แม้ผู้ซื้อจะครอบครองที่ดินที่ขายฝากอยู่ ก็ไม่ก่อให้เกิดสิทธิยึดหน่วง
สิทธิเรียกร้องเงินตามสัญญาขายฝากที่เป็นโมฆะคืนจากผู้ขาย อยู่ในบังคับแห่งอายุความเรื่องลาภมิควรได้ โดยต้องฟ้องคดีภายในกำหนดหนึ่งปีนับแต่เวลาที่ผู้ซื้อรู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืนหรือภายในกำหนดสิบปีนับแต่เวลาที่สิทธินั้นได้มีขึ้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1648/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนี้ร่วมสามีภริยาบังคับคดีได้แม้สามีล้มละลาย โจทก์มีสิทธิยึดทรัพย์สินส่วนตัวภริยาชำระหนี้
จำเลยสองสามีภริยาต้องคำพิพากษาให้ร่วมกันใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ แม้โจทก์จะร้องขอรับชำระหนี้ในคดีที่สามีถูกฟ้องล้มละลายแล้ว หากโจทก์ยังได้รับชำระไม่ครบ โจทก์ย่อมขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาเอาแก่ทรัพย์สินของภริยาได้ต่อไปจนครบถ้วน
ในกรณีสามีภริยาต้องรับผิดใช้หนี้ร่วมกัน กฎหมายบัญญัติให้ใช้จากสินบริคณห์และสินส่วนตัวของทั้งสองฝ่าย
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลายสินบริคณห์ย่อมแยกจากกันโดยอำนาจกฎหมายนับแต่วันที่ศาลพิพากษาให้ล้มละลายนั้น เป็นหน้าที่ของอีกฝ่ายที่จะต้องขอกันส่วนของตนไว้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1648/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนี้ร่วมสามีภริยาและการบังคับคดีต่อสินส่วนตัวหลังล้มละลาย
จำเลยสองสามีภริยาต้องคำพิพากษาให้ร่วมกันใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ แม้โจทก์จะร้องขอรับชำระหนี้ในคดีที่สามีถูกฟ้องล้มละลายแล้ว หากโจทก์ยังได้รับชำระไม่ครบ โจทก์ย่อมขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาเอาแก่ทรัพย์สินของภริยาได้ต่อไปจนครบถ้วน
ในกรณีสามีภริยาต้องรับผิดใช้หนี้ร่วมกัน กฎหมายบัญญัติให้ใช้จากสินบริคณห์และสินส่วนตัวของทั้งสองฝ่าย
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลายสินบริคณห์ย่อมแยกจากกันโดยอำนาจกฎหมายนับแต่วันที่ศาลพิพากษาให้ล้มละลายนั้น เป็นหน้าที่ของอีกฝ่ายที่จะต้องขอกันส่วนของตนไว้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1648/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนี้ร่วมสามีภริยาและการบังคับคดีต่อสินส่วนตัวหลังล้มละลาย
จำเลยสองสามีภริยาต้องคำพิพากษาให้ร่วมกันใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์. แม้โจทก์จะร้องขอรับชำระหนี้ในคดีที่สามีถูกฟ้องล้มละลายแล้ว. หากโจทก์ยังได้รับชำระไม่ครบ. โจทก์ย่อมขอให้บังคับคดีตามคำพิพากษาเอาแก่ทรัพย์สินของภริยาได้ต่อไปจนครบถ้วน.
ในกรณีสามีภริยาต้องรับผิดใช้หนี้ร่วมกัน. กฎหมายบัญญัติให้ใช้จากสินบริคณห์และสินส่วนตัวของทั้งสองฝ่าย.
สามีหรือภริยาต้องคำพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย.สินบริคณห์ย่อมแยกจากกันโดยอำนาจกฎหมายนับแต่วันที่ศาลพิพากษาให้ล้มละลายนั้น. เป็นหน้าที่ของอีกฝ่ายที่จะต้องขอกันส่วนของตนไว้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1638/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจฟ้องของผู้เยาว์และการแก้ไขความบกพร่องในความสามารถของคู่ความ
ฟ้องซึ่งตั้งรูปว่าผู้เยาว์โดยบิดาผู้แทนโดยชอบธรรมเป็นโจทก์นั้น. เป็นเรื่องผู้เยาว์เป็นโจทก์ฟ้องคดีเอง.โดยอาศัยอำนาจของบุคคลซึ่งอ้างเป็นบิดาผู้แทนโดยชอบธรรมถึงหากจะฟังว่าบุคคลนั้นมิใช่บิดาโดยชอบด้วยกฎหมายของโจทก์. และขณะฟ้องคดีโจทก์ยังไม่บรรลุนิติภาวะ. ก็เป็นเรื่องความสามารถในการฟ้องคดีของโจทก์ผู้เยาว์บกพร่อง. ซึ่งศาลมีอำนาจสอบสวนและสั่งแก้ไขความบกพร่องนั้นให้บริบูรณ์ได้ก่อนศาลพิพากษาคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา56. ส่วนอำนาจของบุคคลซึ่งอ้างเป็นบิดาผู้แทนโดยชอบธรรมนั้น. ถ้าไม่มีหรือไม่ใช่ผู้แทนโดยชอบธรรม. ศาลจะยกฟ้องหรือจะสั่งอย่างอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมโดยไม่ต้องยกฟ้องก็ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา66.
เมื่อคดีอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์และศาลฎีกา.ปรากฏว่าโจทก์ผู้เยาว์บรรลุนิติภาวะแล้ว. มีอำนาจเป็นคู่ความด้วยตนเองได้แล้ว. ศาลฎีกาก็ไม่จำเป็นต้องสั่งให้โจทก์แก้ไขเรื่องความสามารถ.
of 72