คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ไฉน บุญยก

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 713 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1341/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฆ่าผู้อื่นโดยเจตนาและการต่อสู้คดีบิดเบือนความจริง ศาลไม่ลดโทษ
โจทก์ฟ้องจำเลยว่าฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา. จำเลยต่อสู้ว่าทำไปโดยป้องกันตัวพอสมควรแก่เหตุ เพราะผู้ตายจะยิงจำเลยก่อน. เป็นเหตุให้โจทก์ต้องสืบพยานถึง 9 ปาก. ทั้งจำเลยพยายามนำสืบบิดเบือนความจริงให้ยุ่งยากแก่การพิจารณามิใช่น้อย. จึงไม่มีเหตุที่จะลดโทษให้จำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1341/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฆ่าเพื่อป้องกันตัวที่ศาลไม่เห็นสมควรลดโทษเนื่องจากจำเลยบิดเบือนความจริง
โจทก์ฟ้องจำเลยว่าฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา จำเลยต่อสู้ว่าทำไปโดยป้องกันตัวพอสมควรแก่เหตุ เพราะผู้ตายจะยิงจำเลยก่อน เป็นเหตุให้โจทก์ต้องสืบพยานถึง 9 ปาก ทั้งจำเลยพยายามนำสืบบิดเบือนความจริงให้ยุ่งยากแก่การพิจารณามิใช่น้อย จึงไม่มีเหตุที่จะลดโทษให้จำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 78

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1209/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การจัดการเด็กกระทำผิดอายุ 7-14 ปี: พิจารณาสาเหตุ, สภาพแวดล้อม, และความเหมาะสมของมาตรการ
ในกรณีที่เด็กอายุเกิน 7 ปี แต่ไม่เกิน 14 ปี กระทำผิดอาญานั้น กฎหมายไม่เอาโทษอาญาอยู่แล้ว และให้อำนาจศาลจัดการแก่เด็กตามสมควรแก่กรณีเป็นขั้นๆ ไปถึง 5 ข้อ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 ซึ่งเกี่ยวข้องกับบิดามารดาของเด็ก หรือผู้ปกครองเด็ก หรือบุคคลที่เด็กอาศัยอยู่ ศาลจึงควรสอบถามเด็กและเรียกบุคคลดังกล่าวมาสอบถามพร้อมโจทก์ เพื่อจะได้ใช้ดุลพินิจจัดการแก่เด็กให้เหมาะสม จะพิจารณาแต่เฉพาะสภาพความผิดที่เด็กกระทำอย่างเดียวไม่ควร ไม่ว่าเด็กจะกระทำผิดร้ายแรงเพียงไร ก็ชอบที่จะได้พิจารณาถึงสาเหตุแห่งการกระทำผิด สภาพความเป็นอยู่ของเด็กและครอบครัวของเด็กรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทั้งปวง การส่งตัวเด็กไปยังสถานฝึกและอบรมเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74(5) นั้น ควรกระทำต่อเมื่อจำเป็นต้องกระทำ หรือไม่มีวิธีอื่นใดที่จะกระทำได้ตามอนุมาตรา 1 ถึง 4 แล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1209/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การจัดการเด็กกระทำผิดอาญาอายุไม่เกิน 14 ปี: พิจารณาสาเหตุและสภาพแวดล้อมรอบด้าน
ในกรณีที่เด็กอายุเกิน 7 ปี แต่ไม่เกิน 14 ปี กระทำผิดอาญานั้น กฎหมายไม่เอาโทษอาญาอยู่แล้ว และให้อำนาจศาลจัดการแก่เด็กตามสมควรแก่กรณีเป็นขั้นๆ ไปถึง 5 ข้อ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 ซึ่งเกี่ยวข้องกับบิดามารดาของเด็ก หรือผู้ปกครองเด็ก หรือบุคคลที่เด็กอาศัยอยู่ ศาลจึงควรสอบถามเด็กและเรียกบุคคลดังกล่าวมาสอบถามพร้อมโจทก์ เพื่อจะได้ใช้ดุลพินิจจัดการแก่เด็กให้เหมาะสม จะพิจารณาแต่เฉพาะสภาพความผิดที่เด็กกระทำอย่างเดียวไม่ควร ไม่ว่าเด็กจะกระทำผิดร้ายแรงเพียงไรก็ชอบที่จะได้พิจารณาถึงสาเหตุแห่งการกระทำผิด สภาพความเป็นอยู่ของเด็กและครอบครัวของเด็กรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทั้งปวง การส่งตัวเด็กไปยังสถานฝึกและอบรมเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74(5) นั้น ควรกระทำต่อเมื่อจำเป็นต้องกระทำ หรือไม่มีวิธีอื่นใดที่จะกระทำได้ตามอนุมาตรา 1 ถึง 4 แล้ว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1209/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การจัดการเด็กกระทำผิดอาญา อายุเกิน 7 ปีแต่ไม่เกิน 14 ปี ศาลต้องพิจารณาหลายปัจจัยและคำนึงถึงสภาพแวดล้อม
ในกรณีที่เด็กอายุเกิน 7 ปี แต่ไม่เกิน 14 ปี.กระทำผิดอาญานั้น. กฎหมายไม่เอาโทษอาญาอยู่แล้ว. และให้อำนาจศาลจัดการแก่เด็กตามสมควรแก่กรณีเป็นขั้นๆ ไปถึง5 ข้อ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74. ซึ่งเกี่ยวข้องกับบิดามารดาของเด็ก หรือผู้ปกครองเด็ก หรือบุคคลที่เด็กอาศัยอยู่. ศาลจึงควรสอบถามเด็กและเรียกบุคคลดังกล่าวมาสอบถามพร้อมโจทก์. เพื่อจะได้ใช้ดุลพินิจจัดการแก่เด็กให้เหมาะสม. จะพิจารณาแต่เฉพาะสภาพความผิดที่เด็กกระทำอย่างเดียวไม่ควร. ไม่ว่าเด็กจะกระทำผิดร้ายแรงเพียงไร.ก็ชอบที่จะได้พิจารณาถึงสาเหตุแห่งการกระทำผิด. สภาพความเป็นอยู่ของเด็กและครอบครัวของเด็กรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทั้งปวง. การส่งตัวเด็กไปยังสถานฝึกและอบรมเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74(5) นั้น. ควรกระทำต่อเมื่อจำเป็นต้องกระทำ. หรือไม่มีวิธีอื่นใดที่จะกระทำได้ตามอนุมาตรา 1 ถึง 4 แล้ว.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1203/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกฟ้องอาวุธปืนตามกฎหมายยกเว้นโทษ หากดำเนินการภายในระยะเวลาที่กำหนด แม้ฟ้องก่อนกฎหมายใหม่มีผล
แม้ในขณะที่โจทก์ฟ้อง จำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติอาวุธปืน พ.ศ.2490 ก็ดี แต่ในระหว่างที่ศาลชั้นต้นพิจารณาคดี ได้มีพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2510 ประกาศใช้บังคับ ซึ่งตามมาตรา 5 บัญญัติให้ผู้มีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนไว้ในครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต นำไปขอรับอนุญาตต่อนายทะเบียนท้องที่ได้ภายใน 90 วัน นับแต่วันใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม 2510 จนถึงวันที่ 1 มกราคม 2511 ซึ่งได้รับการยกเว้นโทษตามกฎหมาย. ศาลชั้นต้นพิพากษาคดีนี้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2510 ซึ่งยังอยู่ในระหว่างเวลาที่กฎหมายให้สิทธิไม่เอาโทษแก่จำเลยด้วย ศาลชั้นต้นจึงมีอำนาจยกฟ้องโจทก์ได้ ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นในข้อนี้จึงชอบแล้ว แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาคดีนี้ภายหลังที่ล่วงพ้นระยะเวลา 90 วันตามพระราชบัญญัติดังกล่าวก็ไม่สำคัญ
(อ้างฎีกาประชุมใหญ่ที่ 889/2503)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1203/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกฟ้องอาวุธปืนเมื่อกฎหมายใหม่ให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้กระทำผิดในช่วงเวลาที่ศาลพิจารณาคดี
แม้ในขณะที่โจทก์ฟ้อง จำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติอาวุธปืน พ.ศ.2490ก็ดี. แต่ในระหว่างที่ศาลชั้นต้นพิจารณาคดี ได้มีพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ (ฉบับที่ 4)พ.ศ.2510ประกาศใช้บังคับ. ซึ่งตามมาตรา 5 บัญญัติให้ผู้มีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนไว้ในครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต. นำไปขอรับอนุญาตต่อนายทะเบียนท้องที่ได้ภายใน90 วัน นับแต่วันใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้. คือตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม 2510 จนถึงวันที่ 1 มกราคม 2511ซึ่งได้รับการยกเว้นโทษตามกฎหมาย. ศาลชั้นต้นพิพากษาคดีนี้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2510 ซึ่งยังอยู่ในระหว่างเวลาที่กฎหมายให้สิทธิไม่เอาโทษแก่จำเลยด้วย. ศาลชั้นต้นจึงมีอำนาจยกฟ้องโจทก์ได้. ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นในข้อนี้จึงชอบแล้ว. แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาคดีนี้ภายหลังที่ล่วงพ้นระยะเวลา 90 วันตามพระราชบัญญัติดังกล่าวก็ไม่สำคัญ. (อ้างฎีกาประชุมใหญ่ที่ 889/2503).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1203/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกฟ้องอาวุธปืนจากกฎหมายยกเว้นโทษภายหลังการฟ้องคดี
แม้ในขณะที่โจทก์ฟ้อง จำเลยกระทำผิดตามพระราชบัญญัติอาวุธปืน พ.ศ.2490ก็ดี แต่ในระหว่างที่ศาลชั้นต้นพิจารณาคดี ได้มีพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2510ประกาศใช้บังคับ ซึ่งตามมาตรา 5 บัญญัติให้ผู้มีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนไว้ในครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต นำไปขอรับอนุญาตต่อนายทะเบียนท้องที่ได้ภายใน 90 วัน นับแต่วันใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม 2510 จนถึงวันที่ 1 มกราคม 2511ซึ่งได้รับการยกเว้นโทษตามกฎหมาย ศาลชั้นต้นพิพากษาคดีนี้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2510 ซึ่งยังอยู่ในระหว่างเวลาที่กฎหมายให้สิทธิไม่เอาโทษแก่จำเลยด้วย ศาลชั้นต้นจึงมีอำนาจยกฟ้องโจทก์ได้ ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นในข้อนี้จึงชอบแล้ว แม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาคดีนี้ภายหลังที่ล่วงพ้นระยะเวลา 90 วันตามพระราชบัญญัติดังกล่าวก็ไม่สำคัญ (อ้างฎีกาประชุมใหญ่ที่ 889/2503)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1202/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเปลี่ยนแปลงสัญชาติ: ผลของกฎหมายสัญชาติฉบับต่างๆ ต่อผู้เกิดในไทยแต่มีบิดาเป็นต่างด้าว
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักร แต่บิดาเป็นคนต่างด้าวซึ่งขาดจากสัญชาติไทย.หากได้รับใบสำคัญคนต่างด้าวตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2495 มาตรา 16 ทวิ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2496 มาตรา 4. แต่เมื่อภายหลังมีพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2499 มาตรา 3 ซึ่งบัญญัติให้บุคคลซึ่งเกิดในราชอาณาจักรไทยได้สัญชาติไทยโดยการเกิด. ย่อมมีผลให้บุคคลผู้ขาดจากสัญชาติไทยตามมาตรา 16 ทวิ ดังกล่าว ได้สัญชาติไทยกลับคืนมาตามเดิมโดยอาศัยพระราชบัญญัติฉบับหลังนี้.(เทียบฎีกาที่ 558/2506).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1202/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกลับคืนสัญชาติไทยหลังเสียสัญชาติเนื่องจากบิดาเป็นต่างด้าวและมีกฎหมายแก้ไขภายหลัง
บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเพราะเกิดในราชอาณาจักร แต่บิดาเป็นคนต่างด้าวซึ่งขาดจากสัญชาติไทย หากได้รับใบสำคัญคนต่างด้าวตามพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2495 มาตรา 16 ทวิ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2496 มาตรา 4 แต่เมื่อภายหลังมีพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2499 มาตรา 3 ซึ่งบัญญัติให้บุคคลซึ่งเกิดในราชอาณาจักรไทยได้สัญชาติไทยโดยการเกิด ย่อมมีผลให้บุคคลผู้ขาดจากสัญชาติไทยตามมาตรา 16 ทวิ ดังกล่าว ได้สัญชาติไทยกลับคืนมาตามเดิมโดยอาศัยพระราชบัญญัติฉบับหลังนี้ (เทียบฎีกาที่ 558/2506)
of 72